โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อาการบวมน้ำ

ดัชนี อาการบวมน้ำ

อาการบวมน้ำหรืออาการน้ำคั่ง (edema, oedema, dropsy, และ hydropsy) เป็นการสะสมสารน้ำอย่างผิดปกติในอินเตอร์สติเชียม (interstitium) ซึ่งอยู่ใต้ผิวหนังและในโพรงของร่างกายซึ่งก่อให้เกิดอาการปวดรุนแรง ในทางคลินิก อาการบวมน้ำจะมีอาการแสดงบวม ปริมาณสารน้ำแทรกมาจากดุลของภาวะธำรงดุลสารน้ำ และการหลั่งสารน้ำเข้าสู่อินเตอร์สติเชียมเพิ่มขึ้น หรือการขับสารน้ำออกที่บกพร่องสามารถทำให้เกิดอาการบวมน้ำ.

4 ความสัมพันธ์: ภาวะธำรงดุลวักกวิทยาหทัยวิทยาผิวหนัง

ภาวะธำรงดุล

วะธำรงดุล (homeostasis) หรือ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต คือคุณสมบัติของระบบเปิดโดยเฉพาะในสิ่งมีชีวิต ที่ทำการควบคุมสภาพภายในตนเองเพื่อรักษาสถานะเสถียรภาพสภาพอย่างคงที่ โดยการปรับสมดุลพลวัตหลายอย่างซึ่งมีกลไกการควบคุมที่มีความสัมพันธ์กันมากมาย แนวคิดนี้ถูกพูดถึงครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: อาการบวมน้ำและภาวะธำรงดุล · ดูเพิ่มเติม »

วักกวิทยา

วักกวิทยา (วักกะ "ไต", nephrology มาจากภาษากรีก nephros "ไต") เป็นสาขาย่อยของแพทยศาสตร์และกุมารเวชศาสตร์ว่าด้วยการศึกษาไต ซึ่งรวมถึงการศึกษาการทำหน้าที่ของไตปกติและปัญหาของไต การสงวนสุขภาพไต และการรักษาปัญหาของไต ตั้งแต่อาหารและยาจนถึงการบำบัดทดแทนไต (การชำระเลือดและการปลูกถ่ายไต) ภาวะทั่วกายที่มีผลต่อไต (เช่น เบาหวานและโรคภูมิคุ้มกันตนเอง) และปัญหาทั่วกายที่เกิดเนื่องจากปัญหาไต (เช่น โรคกระดูกเจริญผิดเพี้ยนจากไตและความดันโลหิตสูง) ก็มีการศึกษาในวักกวิทยาเช่นกัน แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านวักกวิทยา เรียก นักวักกวิทยา.

ใหม่!!: อาการบวมน้ำและวักกวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

หทัยวิทยา

หทัยวิทยา (cardiology) คือ การแพทย์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจ ซึ่งจะมีทั้งการวินิจฉัยและรักษาโรคเกี่ยวกับหัวใจ เช่น โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (congenital heart defect: CHD) โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะหัวใจวาย โรคลิ้นหัวใจ (valvular heart disease) และ ระบบไฟฟ้าของหัวใจ (electrophysiology) แพทย์เฉพาะทางที่ศึกษาด้านนี้เรียกว่า นักหทัยวิทยา หรือ หทัยแพทย์ (cardiologist) ซึ่งต้องสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต แพทย์ประจำบ้านด้านอายุรศาสตร์ และแพทย์ประจำบ้านต่อยอดด้านโรคหัวใ.

ใหม่!!: อาการบวมน้ำและหทัยวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ผิวหนัง

ผิวหนัง คือ สิ่งปกคลุมชั้นนอกที่อ่อนของสัตว์มีกระดูกสันหลัง สิ่งปกคลุมสัตว์อื่น เช่น โครงร่างแข็งภายนอกของสัตว์ขาปล้องมีจุดกำเนิดการเจริญ โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีต่างออกไป ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ผิวหนังเป็นอวัยวะใหญ่สุดของระบบผิวหนัง ซึ่งประกอบขึ้นจากเนื้อเยื่อเอ็กโทเดิร์มหลายชั้น และป้องกันกล้ามเนื้อ กระดูก เอ็นและอวัยวะภายในที่อยู่ข้างใต้ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดมีขนที่ผิวหนังด้วย ผิวหนังเป็นส่วนที่เปิดออกสู่สิ่งแวดล้อมและเป็นด่านป้องกันด่านแรกจากปัจจัยภายนอก ตัวอย่างเช่น ผิวหนังมีบทบาทสำคัญในการปกป้องร่างกายจากจุลชีพก่อโรคProksch E, Brandner JM, Jensen JM.

ใหม่!!: อาการบวมน้ำและผิวหนัง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

EdemaOedemaPedal edema

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »