โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อนารยชน

ดัชนี อนารยชน

นักรบเจอร์มานิค” โดย ฟิลิปป์ คลือเวอร์ (Philipp Clüver) ใน “Germania Antiqua” (ค.ศ.1616) อนารยชน (barbarian) เป็นคำที่มีความหมายในทางเหยียดหยามสำหรับผู้ที่ถือกันว่าไม่มีวัฒนธรรมที่อาจจะเป็นการใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงกลุ่มชนในชาติหรือกลุ่มชาติพันธุ์ (Ethnic group) โดยทั่วไปแล้วจะหมายถึงกลุ่มชนที่มีลักษณะเป็นเผ่าพันธ์ (tribal society) จากมุมมองของวัฒนธรรมเมืองที่เห็นว่าเป็นวัฒนธรรมที่ด้อยกว่าหรือชื่นชมว่าเป็นคนเถื่อนใจธรรม (noble savage) เมื่อใช้เป็นสำนวน “อนารยชน” ก็อาจจะหมายถึงผู้ที่เป็นคนทารุณ, โหดร้าย, นิยมสงคราม และไร้ความรู้สึกต่อผู้อื่น การใช้คำว่า “อนารยชน” มาจากวัฒนธรรมกรีก-โรมันแต่คำทำนองเดียวกันก็พบในวัฒนธรรมอื่นๆ ด้ว.

5 ความสัมพันธ์: ชาติพันธุ์วิทยาวัฒนธรรมศิลปะคลาสสิกคนเถื่อนใจธรรมประวัติศาสตร์ยุโรป

ชาติพันธุ์วิทยา

ติพันธุ์วิทยา หรือ ชาติวงศ์วิทยา หรือ ชนชาติวิทยา (ethnology) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของมานุษยวิทยา ที่ศึกษาและเปรียบเทียบเกี่ยวกับความเชื่อและวิธีปฏิบัติของแต่ละสังคม เป้าหมายหนึ่งคือ การศึกษาประวัติศาสตร์มนุษย์ กฎทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม และนัยทั่วไปเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ สำหรับผู้ที่ศึกษาในสาขาวิชานี้ จะเรียกว่า "นักชาติพันธุ์วิทยา" (ethnologist) คำว่า ethnology ถูกใช้ครั้งแรกโดยนักประวัติศาสตร์ชาวสโลวัค Adam František Kollár (1718–1783) โดยมาจาก 2 คำในภาษากรีก คือ ethnos ("ชนชาติ") และ logos ("การศึกษา").

ใหม่!!: อนารยชนและชาติพันธุ์วิทยา · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: อนารยชนและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะคลาสสิก

ศิลปะคลาสสิก (Classics) เป็นสาขาการศึกษาด้านมานุษยวิทยาซึ่งประกอบด้วยการศึกษาเกี่ยวกับภาษา วรรณกรรม ปรัชญา ประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม โบราณคดี และวัฒนธรรมต่างๆ ของดินแดนในแถบเมดิเตอเรเนียนในยุคโบราณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรีกโบราณและโรมันโบราณในช่วงยุคสำริด (ประมาณ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล จนถึงยุคมืด ราว ค.ศ. 500) ในตอนแรกความหมายของ ยุคคลาสสิก หมายถึงยุคแรกๆ ของอารยธรรมของมนุษยชาติโดยทั่วไป แต่ในเวลาต่อมาใช้ในความหมายถึงวัฒนธรรมกรีกโบราณและโรมันโบราณเท่านั้น ดังนั้นการศึกษาอารยธรรมของอียิปต์โบราณจึงมิได้รวมอยู่ในความหมายนี้ อย่างไรก็ดี นักศึกษาศิลปะคลาสสิกในปัจจุบันได้ขยายขอบเขตการศึกษาในสาขานี้ออกไปครอบคลุมถึงอารยธรรมในโลกตะวันออกด้วย เช่นจักรวรรดิเปอร์เซีย ราชอาณาจักรอินเดียโบราณ เป็นต้น หมวดหมู่:กรีซโบราณ หมวดหมู่:โรมันโบราณ หมวดหมู่:การศึกษายุคคลาสสิก *.

ใหม่!!: อนารยชนและศิลปะคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

คนเถื่อนใจธรรม

แบบคลาสสิกใหม่ ใน ค.ศ. 1771 แสดงรายละเอียดวีรชนในคราบคนป่า คนเถื่อนใจธรรม (bon sauvage; noble savage) เป็นศัพท์ทางปรัชญา หมายถึง คนที่ถูกมองว่ารูปทรามต่ำศักดิ์ แต่เนื้อแท้แล้วเปี่ยมคุณธรรม คำนี้ปรากฏในภาษาอังกฤษครั้งแรกในละครเวทีเรื่อง The Conquest of Granada (พิชิตกรานาดา) เมื่อ..

ใหม่!!: อนารยชนและคนเถื่อนใจธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ใหม่!!: อนารยชนและประวัติศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

BarbarianBarbariansBarbaricBarbarousบาร์บาเรียน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »