โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอล

ดัชนี องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอล

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอล (Israel Broadcasting Authority) (ฮีบรู:רָשׁוּת השׁידוּר‎, Rishút HaShidúr) หรืออักษรย่อ "ไอบีเอ" (IฺBA) เป็นองค์กรสื่อสารมวลชนภายใต้กำกับของรัฐบาลอิสราเอล เริ่มจัดตั้งขึ้นในปี..

21 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2508พ.ศ. 2511พ.ศ. 2520พ.ศ. 2526พ.ศ. 2533พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 2017ภาษาอังกฤษภาษาฮีบรูอันวัร อัสซาดาตฮาทิควาเบนจามิน เนทันยาฮู1 ตุลาคม15 พฤษภาคม2 พฤษภาคม23 กุมภาพันธ์6 มิถุนายน9 พฤษภาคม

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Hallelujah ขับร้องโดย Gali Atari & Milk and Honey ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 2017

การประกวดเพลงยูโรวิชั่น 2017 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 62 ของการประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป (ยูโรวิชั่น ซอง คอนเทสต์) การแข่งขันจัดขึ้นที่ ศูนย์นิทรรศการนานาชาติ ณ กรุงเคียฟ ประเทศยูเครน โดยเป็นผลจากการที่ประเทศยูเครนชนะการประกวดเพลงยูโรวิชั่นประจำปี 2016 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน หลังจากที่ยูเครนส่งเพลง 1944 (อ่านว่า Nineteen Forty-Four) ซึ่งแต่งและขับร้องโดย Jamala เข้าแข่งขันในปีดังกล่าว การจัดประกวดครั้งนี้ เป็นครั้งที่สองของยูโรวิชั่น ซอง คอนเทสต์ หลังจากปี 2005 (พ.ศ. 2548) และครั้งที่สี่ในการจัดประกวดยูโรวิชั่น หลังจากการประกวดยูโรวิชั่น 2005 และจูเนียร์ยูโรวิชั่น 2009 และ 2013 ที่จัดขึ้นในกรุงเคียฟของยูเครน วันที่จัดแข่งขันมีทั้งหมด 3 วัน โดยรอบรองชนะเลิศแบ่งเป็นสองวัน (9 และ 11 พฤษภาคม) และรอบชิงชนะเลิศหนึ่งวัน (13 พฤษภาคม) มีพิธีกรในงานทั้งหมด 3 คน ได้แก่ Oleksandr Skichko / Volodymyr Ostapchuk และ Timur Miroshnychenko มีประเทศเข้าร่วมแข่งขันครั้งนี้ทั้งหมด 42 ประเทศ โดยที่มีประเทศโปรตุเกสและประเทศโรมาเนียกลับเข้าร่วมแข่งขันอีกครั้ง หลังจากปีที่ผ่านมาไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน ในขณะที่ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาไม่ได้เข้าร่วมแข่งขันในปีนี้ เนื่องจากปัญหาทางด้านงบประมาณในการส่งตัวแทนเข้าแข่งขัน และประเทศรัสเซียซึ่งเข้าร่วมแข่งขันในช่วงแรก ได้ถอนตัวจากการแข่งขันในวันที่ 13 เมษายน เนื่องจาก Yulia Samoylova นักร้องตัวแทนรัสเซีย ถูกห้ามไม่ให้เข้าประเทศยูเครน ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากการเข้าไปในเขตไครเมียของยูเลียเพื่อเข้าไปเล่นคอนเสิร์ตในปี 2015 โดยทางยูเครนอ้างว่า การเข้าไปในเขตไครเมียของยูเลียนั้น ผิดกฎหมายของยูเครน ผู้ชนะในการประกวดครั้งนี้ คือตัวแทนจากประเทศโปรตุเกส โดยส่งเพลง "Amar pelos dois" (Loving For Both of Us) เข้าแข่งขัน โดยมี Luísa Sobral เป็นผู้ประพันธ์เพลง และ Salvador Sobral เป็นผู้ขับร้อง ซึ่งชัยชนะในครั้งนี้ เป็นการชนะการประกวดครั้งแรกและติดอันดับ 5 อันดับแรกในการแข่งขันของประเทศโปรตุเกสในรอบ 53 ปี นับตั้งแต่ส่งเพลงเข้าประกวดครั้งแรกจนถึงปัจจุบัน ซึ่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ยูโรวิชั่น และบทเพลงที่ชนะเลิศในการประกวดครั้งนี้ ยังเป็นเพลงแรกในรอบ 10 ปี ที่ใช้ภาษาราชการประจำประเทศนับตั้งแต่ปี 2007 ซึ่งในปีนั้นเพลง Molitva จากประเทศเซอร์เบีย (เพลงชนะเลิศในปีนั้น เป็นเพลงภาษาเซอร์เบีย) เป็นเพลงชนะเลิศเพลงสุดท้ายที่ใช้ภาษาราชการก่อนจะเว้นว่างไป 10 ปี และยังเป็นเพลงแรกในรอบ 21 ปี ที่เขียนขึ้นในรูปแบบจังหวะแบบกลุ่ม 3 จังหวะ นับตั้งแต่ปี 1996 ซึ่งในปีดังกล่าวนั้น เพลง The Voice จากประเทศไอร์แลนด์และเพลงชนะเลิศในปีนั้น เป็นเพลงสุดท้ายที่เขียนขึ้นในรูปแบบกลุ่ม 3 จังหวะก่อนที่จะเว้นว่างไปอีก 21 ปี นอกจากนี้ ปีนี้ยังเป็นปีที่มีประเทศผู้ชนะเป็นประเทศที่กลับเข้ามาแข่งขันหลังจากไม่ได้แข่งขันในปีก่อนติดต่อเป็นปีที่สองต่อจากประเทศยูเครนที่กลับเข้าแข่งขันในปี 2016 หลังจากที่ไม่ได้เข้าร่วมในปี 2015 อีกด้วย โดยที่ประเทศโปรตุเกสไม่ได้เข้าร่วมแข่งขันในปี 2016 ก่อนที่จะกลับเข้ามาในปี 2017 และชนะเลิศในปีดังกล่าว ประเทศที่ได้รับคะแนนสามอันดับแรกในปีนี้ (โปรตุเกส บัลแกเรีย มอลโดวา) ได้รับสถิติคะแนนดีที่สุดนับตั้งแต่เข้าแข่งขัน ในขณะที่ประเทศยูเครน เจ้าภาพในปีนี้ ได้รับสถิติคะแนนแย่ที่สุดนับตั้งแต่เข้าแข่งขัน และในกลุ่มประเทศ Big Five มีประเทศอิตาลีเพียงประเทศเดียวที่มีคะแนนติดอันดับ 10 อันดับแรก โดยทำคะแนนได้อันดับที่ 6 ด้วยคะแนน 334 คะแนน ภายหลังการแข่งขัน สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (อีบียู / EBU) ได้มีรายงานว่า มีผู้เข้าชมการแข่งขัน 182 ล้านคนจากทั่วโลก ซึ่งมีจำนวนผู้ชมน้อยลงจากปีก่อนหน้านี้ 22 ล้านคน.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 2017 · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

อันวัร อัสซาดาต

มุฮัมมัด อันวัร อัสซาดาต (محمد أنور السادات; Muhammad Anwar al-Sadat; 25 ธันวาคม พ.ศ. 2461 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2524) นักการทหาร นักการเมืองและประธานาธิบดีแห่งอียิปต์ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2513 - 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและอันวัร อัสซาดาต · ดูเพิ่มเติม »

ฮาทิควา

ทิควา (הַתִּקְוָה, HaTiqvah,"ความหวัง") เป็นเพลงชาติของประเทศอิสราเอล เนื้อเพลงกล่าวถึงความหวังของชาวยิวทั่วโลกที่จะได้กลับมาสู่บ้านเกิดของพ่อของชาวยิว (อัฝราฮัม ยิทซ-คฮัก และยาโขฝ) ตามที่เขียนไว้ในคัมภีร์ทานัคของศาสนายูดาห์ โดยชาวยิวถูกเนรเทศจากดินแดนแห่งพันธสัญญาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 70 โดยกองทัพของโรมัน แม้ในทุกวันนี้บทสวดมนต์ประจำวันของชาวยิวก็ยังสวดมนต์ถึงการกลับมาสู่ดินแดนนี้ โดยการสวดจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออกซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองเยรูซาเลม.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและฮาทิควา · ดูเพิ่มเติม »

เบนจามิน เนทันยาฮู

เบนจามิน "บีบี" เนทันยาฮู (Benjamin "Bibi" Netanyahu; בִּנְיָמִין "בִּיבִּי" נְתָנְיָהוּ; بنيامين نتانياهو; เกิด 21 ตุลาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีอิสราเอลคนปัจจุบัน เขายังเป็นสมาชิกรัฐสภา (Knesset) และหัวหน้าพรรคลิคุด (Likud) เขาเกิดในกรุงเทลอาวีฟ มีบิดามารดาเป็นชาวยิวโลกิยะ เนทนยาฮูเป็นนายกรัฐมนตรีอิสราเอลคนแรกที่เกิดในประเทศอิสราเอลหลังการสถาปนารัฐ เนทันยาฮูเข้าร่วมกำลังป้องกันอิสราเอลไม่นานหลังสงครามหกวันในปี 2510 และเป็นหัวหน้าทีมในหน่วยรบพิเศษซาเยเรตแมตกัล (Sayeret Matkal) เขาเข้าร่วมหลายภารกิจ ซึ่งประกอบด้วยปฏิบัติการอินเฟอร์โน (ปี 2511), ปฏิบัติการกิฟต์ (ปี 2511) และปฏิบัติการไอโซโทป (ปี 2525) ซึ่งระหว่างนั้นเขาถูกยิงที่ไหล่ เขาต่อสู้ในแนวหน้าในสงครามการบั่นทอนกำลัง (War of Attrition) และสงครามยมคิปปูร์ในปี 2516 โดยร่วมกับกำลังพิเศษตีโฉบฉวยตามคลองสุเอซ แล้วนำการโจมตีของคอมมานโดลึกเข้าดินแดนซีเรีย เขาได้ยศร้อยเอกก่อนได้รับการปลด หลังสำเร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ด้วยปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิตและวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต เขาได้รับสรรหาเป็นผู้ให้คำปรึกษาทางเศรษฐกิจแก่บอสตันคอนซัลทิงกรุป เขากลับประเทศอิสราเอลในปี 2521 เพื่อก่อตั้งสถาบันต่อต้านการก่อการร้ายโยนาทัน เนทันยาฮู (Yonatan Netanyahu Anti-Terror Institute) ซึ่งได้ชื่อตามโยนาทัน เนทันยาฮู ผู้เสียชีวิตขณะเป็นผู้นำปฏิบัติการเอนเทบบี (Entebbe) เนทันยาฮูรับราชการเป็นเอกอัครราชทูตอิสราเอลประจำสหประชาชาติตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2531 เนทันยาฮูเป็นหัวหน้าพรรคลิคุดในปี 2536 เนทันยาฮูชนะการเลือกตั้งปี 2539 ทำให้กลายเป็นนายกรัฐมนตรีอิสราเอลที่หนุ่มที่สุด ดำรงวาระแรกระหว่างเดือนมิถุนายน 2539 ถึงกรกฎาคม 2541 เขาย้ายจากเวทีการเมืองไปภาคเอกชนหลังพ่ายการเลือกตั้งชิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีปี 2542 แก่เอฮุด บารัค (Ehud Barak) เนทันยาฮูหวนคืนการเมืองในปี 2545 โดยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (ปี 2545–2546) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ปี 2546–2548) ในรัฐบาลแอเรียล ชารอน แต่เขาออกจากรัฐบาลเพราะความไม่ลงรอยต่อแผนการปลดปล่อยกาซา ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนทันยาฮูปฏิรูปเศรษฐกิจอิสราเอลขนานใหญ่ ซึ่งผู้วิจารณ์ยกย่องว่าพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจของอิสราเอลในเวลาต่อมาอย่างสำคัญ เขาทวงตำแหน่งหัวหน้าพรรคลิคุดในเดือนธันวาคม 2548 หลังชารอนออกไปตั้งพรรคการเมืองต่างหาก ในเดือนธันวาคม 2549 เนทันยาฮูเป็นผู้นำฝ่ายค้านในรัฐสภาและหัวหน้าพรรคลิคุดอย่างเป็นทางการ หลังการเลือกตั้งรัฐสภาปี 2552 ซึ่งลิคุดได้อันดับสองและพรรคฝ่ายขวาได้เสียงข้างมาก เนทันยาฮูตั้งรัฐบาลผสม หลังชัยชนะในการเลือกตั้งปี 2556 เขากลายเป็นบุคคลที่สองที่ได้รับเลือกตั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่สาม ถัดจากเดวิด เบนกูเรียน ในเดือนมีนาคม 2558 เนทันยาฮูได้รับเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่สี่ เนทันยาฮูได้รับเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีอิสราเอลสี่สมัย เท่ากับสถิติของเดวิด เบนกูเรียน เขาเป็นนายกรัฐมนตรีคนเดียวในประวัติศาสตร์อิสราเลที่ได้รับเลือกตั้งสามครั้งติดต่อกัน ปัจจุบันเขาเป็นนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งยาวที่สุดเป็นอันดับที่สอง หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีอิสราเอล หมวดหมู่:ทหารชาวอิสราเอล หมวดหมู่:ชาวยิว หมวดหมู่:ชาวเทลอาวีฟ.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและเบนจามิน เนทันยาฮู · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 พฤษภาคม

วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและ2 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤษภาคม

วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลและ9 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »