เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สินเชื่อซับไพรม์และอสังหาริมทรัพย์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สินเชื่อซับไพรม์และอสังหาริมทรัพย์

สินเชื่อซับไพรม์ vs. อสังหาริมทรัพย์

นเชื่อซับไพรม์ หรือ สินเชื่อชั้นรอง (subprime lending เรียกในชื่ออื่น ๆ ว่า B-paper, near-prime, หรือ second chance lending) คือการปล่อยสินเชื่อให้แก่ผู้กู้ยืมซึ่งไม่มีคุณสมบัติครบถ้วนพอจะได้รับอัตราดอกเบี้ยของตลาดที่ดีที่สุด (best market interest rates) อันเนื่องจากมีข้อด่างพร้อยในประวัติการกู้ยืมและชำระเงิน (credit history) สินเชื่อซับไพรม์มีความเสี่ยงสูงต่อทั้งผู้ปล่อยและผู้ขอสินเชื่อ เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยที่สูง, ประวัติการกู้ยืมและชำระเงินที่ไม่ดี, และสถานการณ์ทางการเงินอันไม่พึงปรารถนาซึ่งผู้ขอกู้ซับไพรม์ไปข้องเกี่ยวด้วย สินเชื่อซับไพรม์จะถูกปล่อยกู้ในอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่า สินเชื่อ A-paper (สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ชั้นหนึ่ง) เพื่อชดเชยกับความเสี่ยงที่สูงขึ้น สินเชื่อซับไพรม์ครอบคลุมตราสารทางการเงินหลายชนิด อาทิเช่น สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์, สินเชื่อซื้อรถ และบัตรเครดิต คำว่า ซับไพรม์ (ซึ่งแปลเป็นไทยได้ว่า "ชั้นรอง") เป็นการอ้างอิงถึงสถานะการกู้ยืมและชำระเงินของผู้กู้ยืม ไม่ใช่ตัวดอกเบี้ยของสินเชื่อแต่อย่างใด สินเชื่อซับไพรม์เป็นที่ถกเถียงในวงกว้างถึงความเหมาะสม ฝ่ายผู้ต่อต้านกล่าวอ้างว่าบริษัทซึ่งปล่อยสินเชื่อซับไพรม์มักกระทำการปล่อยสินเชื่ออย่างเอารัดเอาเปรียบ (predatory lending) อาทิเช่น จงใจปล่อยสินเชื่อให้แก่ผู้กู้ซึ่งไม่มีวันจะสามารถทำตามเงื่อนไขการกู้ยืมได้ จนทำให้ไม่สามารถชำระเงินคืนตามเวลาที่กำหนด (default), ถูกยึดหลักประกัน และต้องเผชิญกับการยึดทรัพย์ นอกจากนั้น ยังมีข้อกล่าวหาถึงการเลือกปฏิบัติในการปล่อยสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ (morgage discrimination) ตามเชื้อชาต. อสังหาริมทรัพย์ (ซีวิลลอว์)) ในทางกฎหมาย ได้แก่ที่ดิน และทรัพย์สินอื่นที่ติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวรหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้น เช่น อาคาร บ้านเรือน ถ้าจะมีการกระทำการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ไม่ว่าจะเป็นที่ดิน อาคาร บ้านเรือน ในทางกฎหมายกำหนดให้ต้องทำสัญญาหนังสือ ให้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่นโฉนด หรือทะเบียนที่ดินเป็นเอกสารที่แสดงความเป็นเจ้าของที่ดินแปลงนั้นๆ ทั้งนี้ก็เพราะว่าอสังหาริมทรัพย์ เป็นทรัพย์สินทีมีมูลค่าสูงจึงต้องมีกฎหมายควบคุมเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา อสังหาริมทรัพย์ หมายถึง ที่ดิน ทรัพย์อันติดกับที่ดิน หรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน รวมทั้งสิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดินด้วย จากนิยามดังกล่าว อาจแบ่งอสังหาริมทรัพย์ออกได้ดังนี้ 1.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สินเชื่อซับไพรม์และอสังหาริมทรัพย์

สินเชื่อซับไพรม์และอสังหาริมทรัพย์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สินเชื่อซับไพรม์และอสังหาริมทรัพย์

สินเชื่อซับไพรม์ มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ อสังหาริมทรัพย์ มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 3)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สินเชื่อซับไพรม์และอสังหาริมทรัพย์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: