โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สาธารณรัฐเขมร

ดัชนี สาธารณรัฐเขมร

รณรัฐเขมร (Khmer Republic; République Khmère) เป็นรัฐบาลของประเทศกัมพูชาที่ปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 9 ตุลาคม..

55 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2513พ.ศ. 2518พรรคสังคมสาธารณรัฐพรรคสาธารณรัฐ (กัมพูชา)พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤตพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนาพระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดาพระสีหนุ (เมือง)พนมเปญกรมประชาธิปไตยกองทัพประชาชนเวียดนามกัมพูชาประชาธิปไตยภาษาฝรั่งเศสภาษาเขมรระบบประธานาธิบดีราชรัฏฐาภิบาลรวบรวมชาติกัมพูชาราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)รายนามประมุขแห่งรัฐกัมพูชารายนามนายกรัฐมนตรีกัมพูชาลอง โบเรตลอน นอลลน นิลลน นนสหรัฐสังคมราษฎรนิยมสาธารณรัฐสำนักข่าวกรองกลางสีสุวัตถิ์ สิริมตะสถานการณ์ฉุกเฉินสงครามกลางเมืองกัมพูชาสงครามอินโดจีนอิน ตัมฮาง ทุน ฮักฮู ยวนจังหวัดกำปงธมทิวเขาพนมดงรักประเทศฝรั่งเศสประเทศไทยประเทศเวียดนามใต้ประเทศเวียดนามเหนือปราสาทพระวิหารนโรดม จันทรังสีแนวร่วมรวบรวมชาติกัมพูชาแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนามใต้โตนเลสาบเพลงชาติสาธารณรัฐเขมรเรียลกัมพูชาเจง เฮง...เขมรแดงเขมรเสรีเซากัม คอยเซิน หง็อก ถั่ญ17 เมษายน ขยายดัชนี (5 มากกว่า) »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสังคมสาธารณรัฐ

รรคสังคมสาธารณรัฐ (គណបក្សសង្គមសាធារណរដ្ឋ คณบกฺสสงฺคมสาธารณรฎฺฐ; Social Republican Party; Parti social républicain: PSR) เป็นพรรคการเมืองในกัมพูชา ก่อตั้งโดยลน นลเมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพรรคสังคมสาธารณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสาธารณรัฐ (กัมพูชา)

รรคสาธารณรัฐ (Republican Party) เป็นพรรคการเมืองที่มีอายุสั้นในกัมพูชา ในช่วงสาธารณรัฐเขมร (พ.ศ. 2513 – 2518) พรรคนี้เป็นคนละพรรคกับพรรคสาธารณรัฐเขมรที่ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพรรคสาธารณรัฐ (กัมพูชา) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (Communist Party of Kampuchea; គណបក្សកុំមុយនីសកម្ពុជា; CPK) หรือพรรคคอมมิวนิสต์เขมร (Khmer Communist Party), เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ซึ่งต่อมา กลุ่มที่ได้ครองอำนาจรัฐใน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา นับตั้งแต่สมัยการยึดครองของฝรั่ง.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา

ระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา (ស៊ីសុវត្ថិមុនីវង្ស កុសុមៈនារីរ័ត្នសេរីវឌ្ឍនា; 9 เมษายน พ.ศ. 2447 — 27 เมษายน พ.ศ. 2518) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ ที่ต่อมาได้รับราชการฝ่ายในเป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต และได้เป็นพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ หลังการสวรรคตของพระราชสวามี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา

ระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา (នរោត្ដម មុនីនាថ សីហនុ; 18 มิถุนายน พ.ศ. 2479) พระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ และเป็นพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชารัชกาลปัจจุบัน พระองค์เป็นที่รู้จักในพระนาม พระราชินีโมนีก (Queen Monique).

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา · ดูเพิ่มเติม »

พระสีหนุ (เมือง)

มืองพระสีหนุ (ក្រុងព្រះសីហនុ, กรงเปรียะสีหนุ) หรือ กำปงโสม (កំពង់សោម; ก็อมปวงโสม) เป็นเมืองชายทะเลยอดนิยมมากที่สุดของประเทศกัมพูชา และเป็นเมืองเอกของจังหวัดพระสีหนุ อยู่ห่างจากกรุงพนมเปญ 246 กิโลเมตร ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ มีประชากร 89,846 คน เมืองพระสีหนุมีชายหาดทั้งหมด 5 แห่ง ว่ากันว่าที่สวยที่สุด คือ หาดสุขาและหาดโอจือเตียล (Occheuteal) เมืองพระสีหนุติดอันดับ 8 ในการจัดอันดับ 10 สุดยอดหาดในเอเชีย โดยหนังสือพิมพ์ Sunday Herald Sun ของ ประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพระสีหนุ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและพนมเปญ · ดูเพิ่มเติม »

กรมประชาธิปไตย

กรมประชาธิปไตย (ក្រុមប្រជាធិបតេយ្យ กฺรุมบฺรชาธิบเตยฺย; Democratic Party) เป็นพรรคการเมืองฝ่ายซ้ายในกัมพูชาช่วงก่อนได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและกรมประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพประชาชนเวียดนาม

กองทัพประชาชนเวียดนาม (Quan Nhan Dan Việt Nam Djoi) เป็นชื่อกองทัพในสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีหน้าที่รับผิดชอบการป้องกันประเทศ กองทัพประชาชนเวียดนามมีลักษณะคล้ายกับกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน เนื่องจากมีพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามคอยดูแล.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและกองทัพประชาชนเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

กัมพูชาประชาธิปไตย

กัมพูชาประชาธิปไตย (កម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ กมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย; Democratic Kampuchea) คือ ชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและกัมพูชาประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเขมร

ษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร เพียซา ขฺมะเอ) ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่านศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และภาษาจีนจากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และภาษามลายูจากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมีอาณาจักรจามปาในตอนกลางของประเทศเวียดนาม ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและภาษาเขมร · ดูเพิ่มเติม »

ระบบประธานาธิบดี

ระบบประธานาธิบดี คือ ระบอบที่ตั้งให้ประมุขแห่งรัฐมีอำนาจสูงสุดอย่างเต็มที่ คณะรัฐบาลอยู่ใต้อำนาจของประมุขแห่งรัฐ (เช่น อำนาจในการแต่งตั้งหรือถอดถอนคณะรัฐบาล) ในรัฐธรรมนูญของบางประเทศ อาจให้มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรีควบคู่ไปกับประธานาธิบดีได้ แต่ส่วนมากนายกรัฐมนตรีในระบบประธานาธิบดีจะไม่มีอำนาจเท่ากับในระบอบรัฐสภา ระบบประธานาธิบดีมีต้นกำเนิดในสหรัฐอเมริกา ประเทศที่ใช้ระบบประธานาธิบดีได้แก่ สหรัฐอเมริกา บราซิล เม็กซิโก เป็นต้น.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและระบบประธานาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฏฐาภิบาลรวบรวมชาติกัมพูชา

ราชรัฏฐาภิบาลรวบรวมชาติกัมพูชา (រាជរដ្ឋាភិបាលរួបរួមជាតិកម្ពុជា ราชรฎฺฐาภิบาลรัวบรัวมชาติกมฺพุชา; Royal Government of National Union of Kampuchea; Gouvernement Royal d'Union Nationale du Kampuchéa: GRUNK) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่นของกัมพูชา ตั้งขึ้นที่ปักกิ่ง คงอยู่ระหว่าง..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและราชรัฏฐาภิบาลรวบรวมชาติกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)

ราชอาณาจักรกัมพูชา ในช่วง..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513) · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประมุขแห่งรัฐกัมพูชา

ทความนี้เป็นรายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐกัมพูชา ตั้งแต่ได้รับเอกราชจากประเทศฝรั่งเศสเป็นต้นมา โดยปัจจุบันประมุขแห่งรัฐคือ พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรกัมพู.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและรายนามประมุขแห่งรัฐกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีกัมพูชา

นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (នាយករដ្ឋមន្ត្រីកម្ពុជា นายกรฎฺฐมนฺตฺรีกมฺพุชา) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรีในพระราชาณาจักรกัมพูชา (នាយករដ្ឋមន្ត្រីនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា นายกรฎฺฐมนฺตฺรีไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นประธานคณะรัฐมนตรีกัมพูชา ทั้งเป็นผู้แทนรัฐบาลในกิจการภายในและต่างประเทศ ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ไม่จำกัดวาระ ตามรัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีจำต้องเป็นสมาชิกรัฐสภากัมพูชา อันเป็นสภาล่างในสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา และต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อนที่พระมหากษัตริย์กัมพูชาจะทรงแต่งตั้ง อนึ่ง ตามธรรมเนียม เมื่อได้รับแต่งตั้งแล้ว นายกรัฐมนตรีจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์และสังฆราชแห่งมหานิกายกับธรรมยุติกนิกาย ณ พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล นับแต..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและรายนามนายกรัฐมนตรีกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ลอง โบเรต

ลอง โบเรต (Long Boret หรือ Long Boreth) เป็นนักการเมืองกัมพูชาที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีระหว่าง 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและลอง โบเรต · ดูเพิ่มเติม »

ลอน นอล

ลอน นอล (លន់ នល់ ลน่ นล่; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 - 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1985) เป็นนายทหารและนักการเมืองกัมพูชา เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาสองสมัย และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมอีกหลายครั้ง เป็นผู้ก่อการรัฐประหารล้มอำนาจของรัฐบาลเจ้านโรดม สีหนุในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและลอน นอล · ดูเพิ่มเติม »

ลน นิล

ลน นิล (Lon Nil) เป็นน้องชายของลน นล อดีตนายกรัฐมนตรีของกัมพูชา และผู้นำในการรัฐประหาร..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและลน นิล · ดูเพิ่มเติม »

ลน นน

ลน นน (Lon Non; เอกสารภาษาไทยบางฉบับใช้ลอน โนน) เป็นทหารและนักการเมืองชาวกัมพูชาที่มีอำนาจในสมัยสาธารณรัฐเขมร เกิดเมื่อ 18 เมษายน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและลน นน · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สังคมราษฎรนิยม

ระนโรดม สีหนุ ผู้นำพรรคสังคมระหว่างพ.ศ. 2498– 2513 สังคมราษฎรนิยม (សង្គមរាស្ត្រនិយម สงฺคมราสฺตฺรนิยม; Sangkum Reastr Niyum; People's Socialist Community) เป็นพรรคการเมืองในกัมพูชา มีชื่อเรียกอย่างสั้น ๆ ว่า สังคม ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและสังคมราษฎรนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐ

รณรัฐ (Republic) เป็นระบอบการปกครองที่ประเทศถูกพิจารณาว่าเป็น "กิจสาธารณะ" (res publica) มิใช่ธุระหรือทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ปกครอง และที่ตำแหน่งหน้าที่ของรัฐได้รับเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือได้รับแต่งตั้ง มิใช่ได้รับทอด ในสมัยใหม่ นิยามทั่วไปที่เข้าใจง่ายของสาธารณรัฐ คือ ระบอบการปกครองที่ประมุขแห่งรัฐมิใช่พระมหากษัตริย์ ปัจจุบัน รัฐเอกราช 135 จาก 206 รัฐใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" เป็นส่วนหนึ่งชื่ออย่างเป็นทางการ ทั้งสาธารณรัฐสมัยใหม่และสมัยโบราณแตกต่างกันอย่างมากทั้งในอุดมการณ์และองค์ประกอบ ในสมัยคลาสสิกและสมัยกลาง ต้นแบบของทุกสาธารณรัฐ คือ สาธารณรัฐโรมัน ซึ่งหมายถึงกรุงโรมในระหว่างสมัยที่มีพระมหากษัตริย์กับสมัยที่มีจักรพรรดิ ประเพณีการเมืองสมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีปัจจุบันที่เรียกว่า "มนุษยนิยมพลเมือง" (civic humanism) นั้น บางครั้งถูกมองว่าได้รับมาจากนักสาธารณรัฐนิยมโรมันโดยตรง อย่างไรก็ดี นักประพันธ์โรมันที่ได้รับอิทธิพลจากกรีก อย่างพอลิเบียสและคิเคโร บางครั้งใช้คำดังกล่าวเป็นคำแปลของคำภาษากรีกว่า politeia ซึ่งอาจหมายถึงระบอบโดยทั่วไป แต่ยังสามารถใช้กับระบอบบางประเภทโดยเจาะจงซึ่งมิได้สอดคล้องพอดีกับสาธารณรัฐโรมัน สาธารณรัฐมิได้เทียบเท่ากับประชาธิปไตยคลาสสิก เช่น เอเธนส์ แต่มีลักษณะความเป็นประชาธิปไตย ในสาธารณรัฐสมัยใหม่ เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และอินเดีย ฝ่ายบริหารมีความชอบธรรมจากทั้งโดยรัฐธรรมนูญและการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชน มงแต็สกีเยอรวมประชาธิปไตยทั้งสองแบบ ซึ่งประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการปกครอง และอภิชนาธิปไตยหรือคณาธิปไตย ซึ่งมีคนเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ปกครอง เป็นระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ส่วนใหญ่สาธารณรัฐมักเป็นรัฐเอกราช แต่ยังมีหน่วยต่ำกว่ารัฐที่เรียกว่า สาธารณรัฐ หรือมีการปกครองที่ถูกอธิบายว่า "เป็นสาธารณรัฐ" โดยธรรมชาติเช่นกัน ตัวอย่างเช่น มาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา "ประกันว่าทุกรัฐในสหภาพนี้มีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ" เขตการปกครองของสหภาพโซเวียตถูกอธิบายว่าเป็นสาธารณรัฐ และสองในนั้น คือ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและเบลารุส มีที่นั่งของตนในสหประชาชาติ ขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตอธิบายสหภาพว่าเป็น "รัฐเดี่ยว สหพันธ์และพหุชาติ" ที่จริงแล้วเป็นรัฐเดี่ยวเพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตใช้อำนาจในรูปรวมศูนย์เหนือสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตซึ่งปกครองตนเองแต่ในนาม.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและสาธารณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักข่าวกรองกลาง

ำนักข่าวกรองกลาง (Central Intelligence Agency) หรือย่อว่า ซีไอเอ (CIA) เป็นหน่วยงานราชการด้านข่าวกรองต่างชาติพลเรือนของ รัฐบาลกลางสหรัฐ มีหน้าที่รวบรวม ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติจากทั่วโลก โดยผ่านการข่าวกรองทางมนุษย์ (Human Intelligence; HUMINT) เป็นส่วนใหญ่ ในฐานะที่เป็นหนึ่งในสมาชิกหลักของชุมชนข่าวกรองสหรัฐ (U.S. Intelligence Community; IC) สำนักข่าวกรองรายงานต่อผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติ (Director of National Intelligence; DNI) และจะเน้นไปที่การหาข่าวกรองให้ ประธานาธิบดีสหรัฐ และ คณะรัฐมนตรีสหรัฐ เป็นหลัก ไม่เหมือนกับ สำนักงานสอบสวนกลาง ที่เป็นหน่วยงานราชการความมั่นคงภายใน สำนักข่าวกรองกลางไม่มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายและเน้นการรวบรวมข่าวกรองในต่างประเทศ โดยมีข้อจำกัดเฉพาะในการที่จะหาข่าวกรองจากในประเทศ อย่างไรก็ตามสำนักข่าวกรองกลางไม่ได้เป็นแค่หน่วยงานรัฐบาลสหรัฐฯที่เชี่ยวชาญในด้านข่าวกรองทางมนุษย์เท่านั้น มันยังมีหน้าที่ในการเป็นผู้จัดการระดับชาติในการประสานงานกับหน่วนงานต่างๆที่ทำกิจกรรมเกี่ยวกับการข่าวกรองทางมนุษย์ทั้งหมด ในชนชุมข่าวกรองสหรัฐฯ ยิ่งไปกว่านั้น สำนักข่าวกรองกลางเป็นหน่วยงานเดียวที่ได้รับอนุญาตโดยกฎหมาย ในการดำเนินการและดูแลการปฏิบัติการณ์ซ่อนเร้น (Covert Action/Operation) โดยคำสั่งประธานาธิบดี สำนักข่าวกรองกลางสามารถควบคุมอิทธิพลทางการเมืองของต่างประเทศได้โดยผ่านทางแผนกยุทธวิธีของตน อย่างเช่น แผนกปฏิบัติการณ์พิเศษ (Special Activities Division; SAD) ก่อนจะมีรัฐบัญญัติการปฏิรูปการข่าวกรองและการป้องกันการก่อการร้าย (Intelligence Reform and Terrorism Prevention Act) ผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางยังทำหน้าที่ควบคู่ไปกับการเป็นหัวหน้าชุมชนข่าวกรองสหรัฐฯ แต่ปัจจุบันสำนักข่าวกรองถูกจัดระเบียบภายใต้ผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติ แม้จะมีการถ่ายโอนอำนาจบางส่วนไปยังผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติก็ตาม สำนักข่าวกรองกลางได้มีขนาดเพิ่มขึ้น เป็นผลมาจาก วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและสำนักข่าวกรองกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สีสุวัตถิ์ สิริมตะ

นักองค์ราชวงศ์ (หม่อมราชวงศ์) สีสุวัตถิ์ สิริมตะ (អ្នកឣង្គរាជវង្ស ស៊ីសុវត្ថិ សិរិមតះ; Sisowath Sirik Matak; 22 มกราคม พ.ศ. 2457 — 21 เมษายน พ.ศ. 2518) เป็นสมาชิกในราชวงศ์กัมพูชา สายราชสกุลสีสุวัตถิ์ นักองค์ราชวงศ์สีสุวัตถิ์ สิริมตะ เป็นที่จดจำจากการมีบทบาททางการเมืองในประเทศกัมพูชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการร่วมมือกับนักการเมืองฝ่ายขวาในปี พ.ศ. 2513 เพื่อก่อการรัฐประหารต่อสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ประมุขแห่งรัฐซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้องของพระองค์เอง และร่วมมือกับลอน นอล ในการสถาปนารัฐบาลสาธารณรัฐเขมร.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและสีสุวัตถิ์ สิริมตะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองกัมพูชา

งครามกลางเมืองกัมพูชา เป็นความขัดแย้งระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (เขมรแดง) สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) และเวียดกงฝ่ายหนึ่งกับรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรที่ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามนี้ซับซ้อนยิ่งขึ้นจากอิทธิพลและการกระทำของพันธมิตรคู่สงคราม การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของกองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) เป็นไปเพื่อป้องกันฐานที่มั่นทางตะวันออกของกัมพูชา ซึ่งหากเสียไปการดำเนินความพยายามทางทหารในเวียดนามใต้จะยากขึ้น หรัฐประหาร 18 มีนาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและสงครามกลางเมืองกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอินโดจีน

งครามอินโดจีน (Indochina Wars, Chiến tranh Đông Dương) เป็นสงครามย่อยหลายสงครามที่เกิดขึ้นทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปีค.ศ. 1946 จนถึง 1989 ระหว่างชาวเวียดนามชาตินิยมกับฝรั่งเศส อเมริกา และจีน คำว่า "อินโดจีน" เดิมทีจะหมายถึงอินโดจีนของฝรั่งเศส ซึ่งรวมทั้งรัฐปัจจุบันของเวียดนาม ลาว และกัมพูชา การใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่หมายถึงภูมิภาคทางภูมิศาสตร์มากกว่าพื้นที่ทางการเมือง สงครามแบ่งออกเป็นสงครามย่อย 4 สงครามได้แก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและสงครามอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

อิน ตัม

อิน ตัม (In Tam) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของกัมพูชาโดยดำรงตำแหน่งระหว่าง 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและอิน ตัม · ดูเพิ่มเติม »

ฮาง ทุน ฮัก

ง ทุน ฮัก (ហង្ស ធុន ហាក់ Hang Thun Hak) เป็นนักการเมือง นักเขียนบทละคร และนักวิชาการฝ่ายซ้ายในกัมพูชา เกิดเมื่อ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและฮาง ทุน ฮัก · ดูเพิ่มเติม »

ฮู ยวน

ู ยวน (Hou Yuon) เป็นนักการเมืองที่นิยมระบอบคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา เกิดในครอบครัวของชาวกัมพูชาเชื้อสายจีน เขาเป็นหนึ่งในผู้นำระดับสูงของเขมรแดงที่หายตัวไปหลังพนมเปญแตกเมื่อ..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและฮู ยวน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกำปงธม

กำปงธม หรือ ก็อมปวงทม (កំពង់ធំ, "ท่าเรืออันยิ่งใหญ่") เป็นจังหวัด (เขต) ของประเทศกัมพูชา มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเสียมราฐทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, จังหวัดพระวิหารทางทิศเหนือ, จังหวัดสตึงเตรงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, จังหวัดกระแจะทางทิศตะวันออก, จังหวัดกำปงจามและจังหวัดกำปงชนังทางทิศใต้ และติดต่อกับโตนเลสาบทางทิศตะวันตก เมืองหลักของจังหวัด คือ สตึงแสน เป็นเมืองชายฝั่งแม่น้ำแสน มีประชากรประมาณ 30,000 คน จังหวัดกำปงธมเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 เป็นจังหวัดที่มีสถานที่ที่เป็นสถาปัตยกรรมเขมรเป็นจำนวนมาก ได้แก่ ปราสาท Sambor Prei Kuk และปราสาทวัด Andet จังหวัดกำปมธมเป็นหนึ่งในเก้าจังหวัดที่อาณาเขตติดต่อกับโตนเลสาบ และเป็นจังหวัดที่ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเขตสงวนชีวมณฑลโตนเล.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและจังหวัดกำปงธม · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขาพนมดงรัก

ทิวเขาพนมดงรัก (เขมร: ជួរភ្នំដងរែក, Chuor Phnom Dângrêk; ทิวเขาพนมดงรัก,, ลาว: Sayphou Damlek) มีความหมายว่า "ภูเขาไม้คาน" ในภาษาเขมร เป็นภูเขาที่ทอดตัวในแนวตะวันออก-ตะวันออก เป็นพรมแดนกั้นระหว่าง ประเทศไทย และประเทศกัมพู.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและทิวเขาพนมดงรัก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามใต้

รณรัฐเวียดนาม เป็นรัฐที่ปกครองบริเวณตอนใต้ของเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2498 ถึง พ.ศ. 2518 ซึ่งต่างชาติโดยเฉพาะรัฐประชาธิปไตยและชาติต่อต้านคอมมิวนิสต์นิยมเรียกในชื่อว่า เวียดนามใต้ คำเรียก เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปี พ.ศ. 2497 ในการประชุมที่เจนีวา ซึ่งแบ่งประเทศเวียดนามออกเป็นสองส่วนโดยเส้นขนานที่ 17 ในระหว่างสงครามเวียดนาม เวียดนามใต้ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ในอดีต เวียดนามใต้เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสในชื่อ โคชินไชนา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เวียดมินห์ซึ่งนำโดยโฮจิมินห์ สถาปนารัฐคอมมิวนิสต์ขึ้นที่ฮานอย ในปีพ.ศ. 2492นักการเมืองที่ไม่ฝักใฝ่คอมมิวนิสต์ ก่อตั้งรัฐบาลขึ้นที่เมืองไซ่ง่อนซึ่งนำโดยอดีตจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในปี 2498 บ๋าว ดั่ย ถูกปลดโดยนายกรัฐมนตรีโง ดิ่ญ เสี่ยม และแต่งตั้งตนขึ้นเป็นประธานาธิบดี หลังจากเสี่ยมเสียชีวิตจากการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2506 ได้มีรัฐบาลทหารอายุสั้นหลายสมัยได้ปกครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2510 พลโท เหงียน วัน เถี่ยวได้ขึ้นเป็นประธานาธิบดีและได้ปกครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2518 สงครามเวียดนามเริ่มต้นในปี..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและประเทศเวียดนามใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามเหนือ

วียดนามเหนือ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (Việt Nam Dân Chủ Cộng Hòa) คือประเทศที่เกิดจากการรวมของแคว้นตังเกี๋ยและแคว้นอันนัมของฝรั่งเศส ประกาศก่อตั้งเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) โดยประธานาธิบดีโฮจิมินห์ ตั้งอยู่บริเวณครึ่งบนของประเทศเวียดนามในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและประเทศเวียดนามเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทพระวิหาร

ปราสาทพระวิหาร (ប្រាសាទព្រះវិហារ บฺราสาทพฺระวิหาร; Temple of Preah Vihear) เป็นปราสาทหินตามแบบศาสนาฮินดูที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก (ភ្នំដងរែក ภฺนํฎงแรก; "ภูเขาไม้คาน") สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม เขาพระวิหาร (ភ្នំព្រះវិហារ ภฺนํพฺระวิหาร) อยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและปราสาทพระวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

นโรดม จันทรังสี

นักองค์มจะ นโรดม จันทรังสี (Norodom Chantaraingsey) เป็นเชื้อพระวงศ์และนักการเมืองชาตินิยมในกัมพูชา โดยเริ่มจากเป็นหัวหน้ากองกำลังต่อสู้กับฝรั่งเศส และเป็นผู้นำกองทัพแห่งชาติเขมรในสงครามกลางเมืองกัมพูชา นอกจากนั้น ยังทำธุรกิจและเป็นนักเขียนด้วย เชื่อว่าพระองค์ถูกสังหารระหว่างสู้รบกับเขมรแดงใน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและนโรดม จันทรังสี · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมรวบรวมชาติกัมพูชา

ีหนุ (คนที่สามจากซ้าย) ในการพบปะกับเหมา เจ๋อตุงที่ปักกิ่งเมื่อ พ.ศ. 2499 แนวร่วมรวบรวมชาติกัมพูชา (រណសិរ្សរួបរួមជាតិកម្ពុជា รณสิรฺสรัวบรัวมชาติกมฺพุชา; Khmer United National Front; Front uni national du Kampuchéa: FUNK) เป็นองค์กรทางการเมืองที่ก่อตั้งโดยพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กษัตริย์แห่งกัมพูชา ใน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและแนวร่วมรวบรวมชาติกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนามใต้

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนามใต้ หรือ เวียดกง หรือ เหวียดกง (Mặt trận Dân tộc Giải phóng miền Nam Việt Nam หรือ Việt Cộng) ก่อตั้งเมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2503 เป็นตัวแทนของพรรคคอมมิวนิสต์ในเวียดนามใต้ เพื่อหาเสียงสนับสนุนจากประชาชนและต่อต้านรัฐบาลของโง ดิ่ญ เสี่ยม เวียดกงได้รับการสนับสนุนทางอาวุธยุทโธปกรณ์จากฝ่ายคอมมิวนิสต์ในเวียดนามใต้ และกองทัพประชาชนเวียดนาม แนวร่วมนี้ก่อตั้งตามแนวชายแดนกัมพูชา ประธานคือ เหงียน หืว เถาะ พรรคนี้ได้เข้าร่วมในรัฐบาลปฏิวัติเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐเวียดนามใต้ เมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนามใต้ · ดูเพิ่มเติม »

โตนเลสาบ

ทะเลสาบเขมร หรือ โตนเลสาบ (បឹងទន្លេសាប บึงทนฺเลสาบ) เป็นทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บริเวณตรงกลางของประเทศกัมพูชา มีพื้นที่ ประมาณ 7,500 ตารางกิโลเมตร หรือใหญ่กว่ากรุงเทพฯ ประมาณ 7 เท่า ความลึกโดยเฉลี่ย อยู่ที่ 10 เมตร และเมื่อถึงฤดูน้ำหลาก น้ำจะท่วมพื้นที่บริเวณรอบ ๆ ทำให้โตนเลสาบขยายตัวออกกว้างมากถึง 6 เท่า ทะเลสาบเขมรเกิดจากแม่น้ำโขง ซึ่งแม่น้ำโขงไหลผ่านมีความยาวถึง 500 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัดของกัมพูชา ได้แก่ กำปงธม กำปงชนัง โพธิสัตว์ พระตะบอง และเสียมราฐ เป็นทะเลสาบที่มีปลาน้ำจืดชุกชุมมากแห่งหนึ่งประมาณ 300 ชนิด จึงมีชาวกัมพูชาเป็นจำนวนมากที่ประกอบอาชีพประมงในบริเวณทะเลสาบแห่งนี้ ทะเลสาบเขมรยังเป็นที่ที่ค้นพบหนึ่งในราชกกุธภัณฑ์ พระแสงขรรค์ชัยศรี อีกด้ว.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและโตนเลสาบ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐเขมร

ลงชาติสาธารณรัฐเขมร (​ភ្លេង​ជាតិ​ដំណើរសាធារណរដ្ឋខ្មែរ ​เภฺลง​ชาติ​ฎํเณิรสาธารณรฎฺฐแขฺมร) เป็นเพลงชาติของประเทศกัมพูชาที่ใช้อยู่ในสมัยปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐ ในชื่อ "สาธารณรัฐเขมร" ภายใต้การนำของพลเอกลอน นอล ตั้งแต่ พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2518 เพลงนี้ประพันธ์โดยกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจิตรศิลปะ ในสมัยที่ท่าน ฮาง ทุน ฮัก (หงฺส-ธุนหาก่) เป็นอธิการบดี.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและเพลงชาติสาธารณรัฐเขมร · ดูเพิ่มเติม »

เรียลกัมพูชา

ัญลักษณ์ เรียล เรียล (រៀល; สัญลักษณ์: ៛) เป็นสกุลเงินของกัมพู.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและเรียลกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

เจง เฮง

ง เฮง (Cheng Heng) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชาเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและเจง เฮง · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขมรเสรี

มรเสรี (ខ្មែរសេរី; Khmer Serei) เป็นขบวนการที่ก่อตั้งโดย เซิง งอกทัญในไทยและเวียดนามใต้ภายใต้การสนับสนุนของสหรัฐอเมริกา เพื่อต่อต้านกองโจรคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ขบวนการเขมรเสรีมีการเชื่อมโยงกับขบวนการของชาวขแมร์กรอมในเวียดนามใต้อย่างหลวม ๆ โดยทหารของสองกลุ่มนี้ได้รับการฝึกจากสหรัฐอเมริกาเหมือนกัน ในช่วงที่เฟื่องฟูสุดเมื่อราว..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและเขมรเสรี · ดูเพิ่มเติม »

เซากัม คอย

ปีเตอร์ เซากัม คอย (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551) เป็นรักษาการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเขมรในประเทศกัมพูชา เป็นเวลา 12 วัน ในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและเซากัม คอย · ดูเพิ่มเติม »

เซิน หง็อก ถั่ญ

ซิน หง็อก ถั่ญ (Sơn Ngọc Thành; សឺង ង៉ុកថាញ់) เป็นนักการเมืองชาตินิยมและนิยมสาธารณรัฐในกัมพูชา มีประวัติการต่อสู้ที่ยาวนานในฐานะกบฏผู้ต่อต้านรัฐบาลและได้เป็นนายกรัฐมนตรีในเวลาสั้น.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและเซิน หง็อก ถั่ญ · ดูเพิ่มเติม »

17 เมษายน

วันที่ 17 เมษายน เป็นวันที่ 107 ของปี (วันที่ 108 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 258 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สาธารณรัฐเขมรและ17 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »