คลื่นสึนามิและสันดอนจะงอย
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง คลื่นสึนามิและสันดอนจะงอย
คลื่นสึนามิ vs. สันดอนจะงอย
แสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง คลื่นสึนามิ เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train) ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเลThucydides: แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร. ันดอนจะงอย หรือ สันดอนจะงอยทราย เป็นลักษณะการสะสมตัวของสัณฐานวิทยาชายฝั่ง โดยจะมีส่วนที่เชื่อมต่อกับแผ่นดินและยื่นออกไปในทะเล แหลมตะลุมพุก สันดอนจะงอย เป็นสันดอนที่โผล่พ้นน้ำ มีรูปร่างยาวแคบเหมือนกับแหลมงอก ยื่นยาวจากชายฝั่งออกไปในทะเล มีทิศทางเกือบขนานไปกับแนวชายฝั่ง ส่วนปลายของสันดอนมีรูปร่างโค้งงอ เป็นจะงอยหรือตะขอ เกิดขจากอิทธิพลของกระแสน้ำเรียบชายฝั่ง (longshore current) และปัจจัยของลักษณะชายหาดที่มีมุมเอียงและ คลื่นถอยกลับ ที่ตั้งฉากกับฝั่งโดยกระแสลม จะทำให้มีการเคลื่อนที่ของตะกอนลงชายหาดในรูปแบบฟันปลา สันดอนจะงอย ที่มีขนาดใหญ่มากในประเทศไทยมีอยู่ 2 แห่ง คือ แหลมตะลุมพุก ที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช และแหลมตาชี ที่จังหวัดปัตตานี.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คลื่นสึนามิและสันดอนจะงอย
คลื่นสึนามิและสันดอนจะงอย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ คลื่นสึนามิและสันดอนจะงอย มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง คลื่นสึนามิและสันดอนจะงอย
การเปรียบเทียบระหว่าง คลื่นสึนามิและสันดอนจะงอย
คลื่นสึนามิ มี 119 ความสัมพันธ์ขณะที่ สันดอนจะงอย มี 0 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (119 + 0)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คลื่นสึนามิและสันดอนจะงอย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: