โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม

ดัชนี สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีโบดวงที่ 1 แห่งเบลเยียม (Boudewijn Albert Karel Leopold Axel Marie Gustaaf van België ˈbʌu̯dəˌʋɛi̯n ˈɑlbərt ˈkaːrəl ˈleˑjoˑˌpɔlt ˈɑksəl maˑˈri ɣʏsˈtaˑf vɑn ˈbɛlɣijə, Baudouin Albert Charles Léopold Axel Marie Gustave de Belgique bodwɛ̃ albɛʁ ʃaʁl leopɔld aksɛl maʁi ɡystav də bɛlʒik; 7 กันยายน 1930 – 31 กรกฎาคม 1993) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม หลังจากการสละราชสมบัติของพระราชบิดาในปี..

53 ความสัมพันธ์: บรัสเซลส์พ.ศ. 2473พ.ศ. 2477พ.ศ. 2478พ.ศ. 2483พ.ศ. 2493พ.ศ. 2494พ.ศ. 2536พระมหากษัตริย์พระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกสพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าคาร์ลที่ 15 แห่งสวีเดนพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียมรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียมลาเคินลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธีลูอีสแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียมสมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมสงครามโลกครั้งที่สองหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมดยุกแห่งบราบันต์คาร์ล อันโทน เจ้าชายแห่งโฮเอินโซลเลิร์นซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษประเทศสเปนประเทศอังกฤษประเทศเบลเยียมโซเฟียแห่งนัสเซาเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมเจ้าชายฟิลิป เคานต์แห่งแฟลนเดอส์เจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์เจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงินเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์กเจ้าหญิงโยเซฟินแห่งบาเดินเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าเครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ (เบลเยียม)เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์เคานต์แห่งแอโน10 สิงหาคม17 กรกฎาคม...17 กุมภาพันธ์31 กรกฎาคม7 กันยายน ขยายดัชนี (3 มากกว่า) »

บรัสเซลส์

รัสเซลส์ (Brussels), บรูว์แซล (Bruxelles) หรือ บรึสเซิล (Brussel; Brüssel) เรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงบรัสเซลส์ หรือ เขตบรัสเซลส์ (All text and all but one graphic show the English name as Brussels-Capital Region.) (Région de Bruxelles-Capitale, Brussels Hoofdstedelijk Gewest) เป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียม และเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของสหภาพยุโรป (อียู) เขตบรัสเซลส์แบ่งการปกครองย่อยเป็นเทศบาลจำนวน 19 แห่ง รวมถึง เทศบาลนครบรัสเซลส์ (City of Brussels) ซึ่งอยู่ใจกลางเขตมีอาณาเขตเพียง 32.61 ตร.กม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและบรัสเซลส์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส

มเด็จพระเจ้ามิเกลที่ 1 แห่งโปรตุเกส (ภาษาอังกฤษ: Michael I; 26 ตุลาคม พ.ศ. 2345 ในลิสบอน - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409 ในชลูส์ คาร์ลส์โฮเฮ, บาวาเรีย) ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "ผู้สมบูรณาญาสิทธิ์" (the Absolutist; ภาษาโปรตุเกส:o Absolutista) หรือ "ผู้อนุรักษนิยม" (the Traditionalist; ภาษาโปรตุเกส:o Tradicionalista) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโปรตุเกสระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (ประสูติ 8 เมษายน ค.ศ. 1818 — สวรรคต 29 มกราคม ค.ศ. 1906) คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาร์ลที่ 15 แห่งสวีเดน

ระเจ้าคาร์ลที่ 15 แห่งสวีเดน เป็นพระมหากษัตริย์สวีเดนและพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ ครองราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพระเจ้าคาร์ลที่ 15 แห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม

ระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม (Léopold Georges Chrétien Frédéric, Leopold Georg Christian Friedrich; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1790 – 10 ธันวาคม ค.ศ. 1865) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม พระองค์แรกโดยมีพระอิสริยยศเป็น "พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม" (King of the Belgians) ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1831 ภายหลังจากการได้รับอิสรภาพจากเนเธอร์แลนด์ พระองค์ทรงเป็นต้นสายของพระราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายเบลเยียม พระโอรสและธิดาของพระองค์รวมถึงสมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม และจักรพรรดินีคาร์ลอตตาแห่งเม็กซิโก พระองค์ยังเป็นพระปิตุจฉา (ลุง) และที่ปรึกษาสำคัญของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์พระราชสมภพที่โคบูรก์ และสวรรคตที่ลาเคน โดยพระอิสริยยศเมื่อพระราชสมภพคือ เจ้าชายแห่งซัคเซิน-โคบูรก์-ซาลเฟลด์ และต่อมาเป็น เจ้าชายแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา และดยุกแห่งแซกโซนี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม

ราชอาณาจักรเบลเยียม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ลาเคิน

ลาเคิน (Laeken) เขียนและอ่านในภาษาฝรั่งเศสว่า) หรือ Laken (ออกเสียงในภาษาดัตช์) เป็นบริเวณเขตที่อยู่อาศัยบริเวณชานเมืองทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงบรัสเซลส์ในประเทศเบลเยียม ลาเคินนั้นอยู่ในเขตปกครองของเทศบาลเมืองบรัสเซลส์ (Municipality of the City of Brussels) โดยใช้รหัสไปรษณีย์ว่า B-1020 ก่อนหน้าปีค.ศ. 1921 ลาเคินนั้นอยู่ในเขตต่างพื้นที่ปกครองของเทศบาล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและลาเคิน · ดูเพิ่มเติม »

ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี

้าหญิงลิเลียงแห่งเบลเยียม (พระนามเดิม:แมรี ลิเลียง บาเอลส์, 28 พฤศจิกายน 2459 – 7 มิถุนายน 2545) หรือรู้จักกันในพระนาม ลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี เป็นพระชายาพระองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ลิเลียงประสูติเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและลิเลียง เจ้าหญิงแห่งเรธี · ดูเพิ่มเติม »

ลูอีสแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

ลูอิสแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก ทรงเป็นเจ้าหญิงสวีเดน โดยเป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระเจ้าชาลล์ที่ 5 แห่งสวีเดน และ ลูอีสแห่งเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ โดยทรงเป็นพระนัดดาใน เจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเนเธอร์แลนด์ และเป็นพระราชปนัดดาใน พระเจ้าวิลเลิมที่ 1 แห่งเนเธอร์แลนด์ ผ่านทางสายพระราชมารดา ซึ่งพระองค์ทรงอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์เดนมาร์ก ทรงเป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก พระองค์และพระราชสวามีมีพระราชโอรสและพระราชธิดารวม 8 พระองค์ เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ 1 พระองค์ และเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเดนมาร์ก 1 พระองค์ สมเด็จพระราชินีหลุยส์ เสด็จสรรคตเมื่อมีพระชนมายุ 74พรรษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและลูอีสแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม (การออกเสียงภาษาอื่น: His Majesty King Philippe of the Belgians; Sa Majesté le Roi Philippe des Belges; Zijne Majesteit de Koning Filip der Belgen; Seine Majestät der König Philipp der Belgier, เสด็จพระราชสมภพ 15 เมษายน ค.ศ. 1960) เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 7 แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในอดีตสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 และสมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม ทรงสืบราชสมบัติขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2013 ภายหลังจากการสละราชสมบัติของสมเด็จพระราชบิดาอันเนื่องมาจากปัญหาพระพลานามัย โดยหลังจากการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ จึงดำรงพระราชอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งบราบันท์ รัชทายาทพระองค์ต่อไปของเบลเยียม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งชาวเบลเยียม หรือ พระเจ้าอัลเบิร์ตที่ 2 (Albert Félix Humbert Théodore Christian Eugène Marie, ดัตช์: Albert Felix Humbert Theodoor Christiaan Eugène Marie) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่หก และเป็นพระราชบิดาของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของประเทศเบลเยียม ทรงครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2536 จนกระทั่งสละราชสมบัติแก่พระโอรสของพระองค์ในวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 มีพระราชดำรัสผ่านสถานีโทรทัศน์ว่าทรงมีพระราชพระสงค์สละราชสมบัติให้เจ้าชายฟิลิป มกุฎราชกุมาร ในวันที่ 21 เดือนและปีเดียวกัน เนื่องจากทรงมีพระชนมพรรษามากและพระวรกายที่ไม่แข็งแรงเช่นในอดีต จึงทำให้พระองค์เป็นประมุขแห่งราชวงศ์พระองค์ที่ 4 ที่ทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 2013 ตามจากสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16, สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ และฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานีแห่งกาตาร์ และยังเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 ของเบลเยียมที่สละราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา คือ สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 ซึ่งทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 1951.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (ภาษานอร์เวย์: Hans Majestet Kong Harald V) เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ ทรงขึ้นครองราชย์หลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา (พระเจ้าโอลาฟที่ 5) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 ในฐานะพระปนัดดาของกษัตริย์เอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชาธิบดีซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์เดียวของพระเจ้าโอลาฟที่ 5 และเจ้าหญิงมาร์ทาแห่งสวีเดน ทรงมีสิทธิสืบราชสันตติวงศ์ราชบัลลังก์อังกฤษในลำดับที่ 48 เนื่องจากพระองค์เป็นพระราชปนัดดา(เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทาง ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ ผู้เป็นพระอัยยิกา(ย่า) สมเด็จพระราชาธิบดีทรงได้รับปริญญาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดในสาขาวิชาประวัติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ในปี 2511 ทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับสามัญชน นางสาวซอนยา เฮรัลด์เซ็น ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ มีพระราชโอรสพระราชธิดาคือ เจ้าหญิงมาร์ทา หลุยส์ และมกุฎราชกุมารเจ้าชายโฮกุน ซึ่งทรงอภิเษกสมรสกับ นางสาวเมตเต-มาริต ปัจจุบันได้รับสถาปนาเป็น เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เจ้าชายโฮกุนและเจ้าหญิงเมตเต-มาริต พร้อมด้วยพระโอรสองค์เล็กคือเจ้าชายสแวร์เร แมกนัส เสด็จฯ เป็นผู้แทนพระองค์สมเด็จพระราชาธิบดีเพื่อร่วมพิธีเฉลิมฉลองครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระราชาธิบดีทรงเป็นนักกีฬาและนักเดินเรือผู้เชี่ยวชาญ และทรงนำทีมนักกีฬานอร์เวย์ให้ได้รับชัยชนะจากการแข่งเรือใบในนามประเทศนอร์เวย์หลายครั้ง รวมทั้งจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่กรุงโตเกียวเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียม (Fabiola, koningin der Belgen; Fabiola, Reine des Belges; พระราชสมภพ: 11 มิถุนายน ค.ศ. 1928 – สวรรคต: 5 ธันวาคม ค.ศ. 2014) หรือพระนามเดิมว่า ดอญญา ฟาเบียวลา เด โมรา อี อารากอน (Doña Fabiola de Mora y Aragón) สตรีชาวสเปนที่ต่อมาได้เป็นสมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม ครั้นเมื่อพระราชสวามีได้เสด็จสวรรคตลงในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม

้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน (Princess Astrid of Sweden พระนามเต็ม อัสตริด โซเฟีย โลวิซา ธือรา; 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาในฝ่ายพระชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระราชชนนีของกษัตริย์แห่งเบลเยียมสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์เล็กในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ กับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีทรงอภิเษกกับสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ส่วนเจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งในฝ่ายพระชนนี ขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดนและนอร์เวย์ (ประสูติ 21 มกราคม พ.ศ. 2372 - สวรรคต 8 ธันวาคม พ.ศ. 2450) เป็นพระมหากษัตริย์ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2415 ทรงสละราชสมบัติจากการเป็นกษัตริย์แห่งนอร์เวย์เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2448 และทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสวีเดนเมื่อวันเดียวกันกับการเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2450 รวมพระชนมายุได้ 78 ปี ทรงดำรงตำแหน่งตามฐานันดรดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 (8 เมษายน ค.ศ. 1875 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1934) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียมตั้งแต่ปีค.ศ. 1909 ถึงค.ศ. 1934 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของประเทศเบลเยียมเนื่องจากอยู่ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914 - 1918) เมื่อประเทศเบลเยียมเกือบทั้งหมดถูกบุกรุก ยึดครอง และปกครองโดยจักรวรรดิเยอรมัน นอกจากนั้นยังมีอีกเหตุการณ์สำคัญอื่นๆ คือ การร่วมลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซาย, การปกครองเบลเยียมคองโกเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเบลเยียม การปฏิรูปประเทศภายหลังสงคราม และภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ (ค.ศ. 1929 - 1934) สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 เสด็จสวรรคตเนื่องจากทรงประสบอุบัติเหตุจากการปีนเขาในภาคตะวันออกของเบลเยียมในปีค.ศ. 1934 มีพระชนมายุ 58 พรรษา ราชสมบัติจึงตกเป็นของพระโอรสพระองค์ใหญ่ คือ เจ้าชายเลโอโปล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริคที่ 8 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก พระราชโอรสพระองค์โตในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ค และสมเด็จพระราชินีหลุยส์แห่งเฮสส์ - คาสเซิล สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริคที่ 8 เสด็จพระราชสมภพที่กรุงโคเปนเฮเกน ขณะนั้นพระราชมารดาทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระรัชทายาทหญิงแห่งราชบัลลังก์ ในฐานะมกุฎราชกุมาร พระองค์ทรงเข้าร่วมสงครามในปี พ.ศ. 2407 ระหว่างเดนมาร์กกับปรัสเซียและออสเตรีย ระหว่างนั้นได้ทรงสำเร็จราชการแทนพระราชบิดา พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2449 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม (3 พฤศจิกายน 1901 - 25 กันยายน 1983) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม

หลุยส์แห่งออร์เลอ็อง (พระนามเต็ม: หลุยส์ มารี เตแรซ ชาร์ล็อต อิซาแบล, ประสูติ: 3 เมษายน ค.ศ. 1812, สวรรคต: 11 ตุลาคม ค.ศ. 1850) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งออร์เลอ็อง และสมเด็จพระราชินีแห่งชาวเบลเยียม พระอัครมเหสีพระองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งเบลเยียม ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์เบลเยียม พระองค์ทรงเป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์ของเบลเยียมพระองค์ปัจจุบัน สมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิป, ผู้อ้างสิทธิในบัลลังก์อิตาลี (เจ้าชายแห่งเนเปิลส์), แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก และเจ้าชายชาร์ล นโปเลียน ประมุของค์ปัจจุบันของราชวงศ์โบนาปาร์ต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งบราบันต์

กแห่งบราบันต์ หรือ ดยุกแห่งบราบ็อง (Duke of Brabant) เป็นบรรดาศักดิ์ที่จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงสถาปนาให้แก่อ็องที่ 1 โอรสของก็อดฟรีที่ 3 เคานต์แห่งลูแวง (ซึ่งเป็นดยุกแห่งโลธารินเจีย อีกบรรดาศักดิ์หนึ่งด้วย) ซึ่งดัชชีบราบันต์นั้นถูกสถาปนาขึ้นราวปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและดยุกแห่งบราบันต์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล อันโทน เจ้าชายแห่งโฮเอินโซลเลิร์น

ร์ล อันโทน องค์อธิปัตย์แห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน (Karl Anton Joachim Zephyrinus Friedrich Meinrad Fürst von Hohenzollern-Sigmaringen) เป็นประมุขแห่งราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและคาร์ล อันโทน เจ้าชายแห่งโฮเอินโซลเลิร์น · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2369 ถึงปี พ.ศ. 2461 ชื่อ ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา อาจหมายถึงตระกูลหรือราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ซึ่งมีบทบาทสำคัญมากมายและหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและราชสำนักยุโรปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ

ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ป..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 1 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานเฉพาะฝ่ายหน้า (บุรุษ) เท่านั้น โดยไม่จำกัดจำนวน ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 4 และถือเป็นชั้นสูงสุดของเครื่องอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

โซเฟียแห่งนัสเซา

สมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ในปีค.ศ. 1909 พระชนมายุ 63 พรรษา โซเฟีย วิลเฮลมีน มารีอันเนอ เฮนรีเอ็ทเทอ (Sophia Wilhelmine Marianne Henriette, 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1836 - 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913) ทรงเป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากนัสเซาซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่ราชวงศ์สวีเดนและนอร์เวย์ ต่อมาพระนางได้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ พระองค์เป็นพระธิดาในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งนอสซอ และพระชายาองค์ที่สองเจ้าหญิงพอลลีน เฟรดเดอร์ริกา มาเรียแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค เป็นพระราชนัดดา (หลานยาย) ของเจ้าชายพอลแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค พระโอรสของเจ้าชายฟรีดริชที่ 1 แห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค และเจ้าหญิงออกัสตาแห่งเบราน์ชไวก์ เจ้าหญิงออกัสตาเป็นพระธิดาในคาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์ และเจ้าหญิงออกัสตาแห่งบริเตนใหญ่ เจ้าหญิงออกัสตาเป็นพระธิดาองค์โตในเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ และเจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา พระองค์เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร,เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งยอร์คและอัลบานี, เจ้าชายวิลเลียม เฮนรี ดยุกแห่งกลอสเตอร์และเอดินเบิร์ก, เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งคัมบาลันด์และสแตรธเอิร์น และเจ้าหญิงคาโรไลน์ มาทิลดาแห่งเวลส์ พระชายาในพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก หมวดหมู่:ราชินีแห่งสวีเดน หมวดหมู่:บุคคลจากวีสบาเดิน หมวดหมู่:ราชินีแห่งนอร์เวย์ หมวดหมู่:ตระกูลนัสเซา-ไวล์บวร์ก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและโซเฟียแห่งนัสเซา · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม

ัชเชสอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย (พระนามเต็มเมื่อประสูติ: อลิซาเบธ กาบรีเอล วาเลรี มารี ดัชเชสแห่งบาวาเรีย) (ประสูติเมื่อ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1876 และสวรรคต 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965) พระอัครมเหสีในสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม ทรงมีพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งชาวเบลเยียม พระองค์เป็นพระราชมารดาของสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม กับสมเด็จพระราชินีมารี-โจเซแห่งอิตาลี และยังเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนกของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฟิลิป เคานต์แห่งแฟลนเดอส์

้าชายฟิลิปแห่งเบลเยียม เคานท์แห่งฟลานเดอร์ (ประสูติ: 24 มีนาคม ค.ศ. 1837 สิ้นพระชนม์: 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1905) ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สาม (พระองค์ที่สองที่ยังทรงพระชนม์) ของสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีหลุยส์-มารี (ค.ศ. 1812 - ค.ศ. 1850) ประสูติที่ปราสาทลาเคิน ชานกรุงบรัสเซลส์ เบลเยียม และได้มีพระราชโองการเฉลิมพระอิสริยยศเป็น เคานท์แห่งฟลานเดอร์ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1840 พระองค์ทรงเป็นองค์รัชทายาทแห่งราชวงศ์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเจ้าชายฟิลิป เคานต์แห่งแฟลนเดอส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์

้าชายเลโอโปลด์แห่งเบลเยียม ดยุกแห่งบราบันต์ เคานท์แห่งแอโน (Prince Leopold of Belgium, Duke of Brabant, Count of Hainaut) (12 มิถุนายน ค.ศ. 1859 - 12 มิถุนายน ค.ศ. 1859) เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 และรัชทายาทพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยียมกับสมเด็จพระราชินีมารี เฮนเรียตแห่งออสเตรีย เลโอโปลด์เป็นพระนามเดียวกันกับพระอัยกาของพระองค์ และพระญาติของพระราชบิดา เจ้าชายเฟอร์ดินานด์แห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเจ้าชายเลโอโปลด์ ดยุกแห่งบราบันต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน

้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน (พระนามเต็ม: มารี ลุยซ์ อเล็กซานดรา กาโรลีน, ประสูติ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1845, สิ้นพระชนม์ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1912) เป็นเจ้าหญิงแห่งราชวงศ์โฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน ซึ่งต่อมาในภายหลังคือราชวงศ์โฮเฮนซอลเลิร์น ทรงเป็นพระราชชนนีของสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม พระราชบิดา คือ ชาร์ลส์ แอนโทนี เจ้าชายแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น นายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซีย กับเจ้าหญิงโจเซฟฟินแห่งบาเดิน ดังนั้นจึงทรงเป็นพระเชษฐภคินีของสมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย และพระปิตุจฉาของสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์

้าหญิงรัญฮิลด์ อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1930 ณ พระราชวังหลวง กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ - สิ้นพระชนม์ 16 กันยายน ค.ศ. 2012 ณ รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล) พระราชธิดาองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ และสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ: 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 ณ วิลลาซูลบักเคิน กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชธิดาองค์รองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ และเป็นพระขนิษฐาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระองค์ถือเป็นเหลนในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์จึงอยู่ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นพระญาติชั้นที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร และเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมในสายพระมารดาของพระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก

้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก (Adelheid von Löwenstein-Wertheim-Rosenberg) (3 เมษายน พ.ศ. 2374 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2452) เป็นพระมเหสีในพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส เจ้าหญิงอเดเลด โซเฟีย อมีเลียแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก ประสูติเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2374 เป็นพระราชธิดาในคอนแสตนติน เฮเรดิทารี่ เจ้าชายแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์กและเจ้าหญิงอักเนสแห่งโฮเฮนโลเฮ-ลานเกนบูร์ก เจ้าหญิงทรงมีพระชนมายุได้ 4 พรรษาในขณะที่พระมารดาสิ้นพระชนม์ และ 7 พรรษาในขณะที่พระบิดาสิ้นพระชนม์ เจ้าหญิงและพระเชษฐา เจ้าชายชาร์ลส์ได้รับการดูแลโดย คาร์ล โทมัส เจ้าชายแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์กพระอัยกาและ เจ้าหญิงโซเฟียแห่งวินดิช-เกรทซ์พระอัยยิกา เมื่อวันที่ 24 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโยเซฟินแห่งบาเดิน

้าหญิงโยเซฟิน ฟรีเดอรีเกอ ลุยเซอ แห่งบาเดิน (ประสูติ:11 ตุลาคม ค.ศ. 1813 — สิ้นพระชนม์ 19 มิถุนายน ค.ศ. 1900) ประสูติที่มันไฮม์ แกรนด์ดัชชีแห่งบาเดิน เป็นพระธิดาของแกรนด์ดยุกชาลส์แห่งบาเดิน กับสเตฟานีแห่งโบอาร์แน ทรงเป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของราชวงศ์โรมาเนีย และราชวงศ์ยูโกสลาเวียผ่านทางพระโอรส เจ้าชายเลโอโปลด์แห่งโฮเฮนซอลเลิร์น และของราชวงศ์เบลเยียม และลักเซมเบิร์ก ผ่านทางพระธิดา คือ เจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงโยเซฟินแห่งบาเดิน · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ (เบลเยียม)

รื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอปอลด์ (Order of Leopold, Ordre de Léopold, Leopoldsorde) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติสูงสุดของประเทศเบลเยียม พระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งเบลเยียม ได้ทรงสถาปนาขึ้นเมื่อ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2375 มีสีของสายสะพายและแพรแถบเป็นสีม่วงแกมบานเย็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ (เบลเยียม) · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เคานต์แห่งแอโน

นต์แห่งแอโน (Compte de Hainaut, Graaf van Henegouwen Count of Hainaut) คือบรรดาศักดิ์ของผู้ปกครองของเคาน์ตีแอโนอันเป็นดินแดนในประวัติศาสตร์ในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิท.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและเคานต์แห่งแอโน · ดูเพิ่มเติม »

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและ10 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและ17 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 กันยายน

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมและ7 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงที่ 1 แห่งเบลเยียม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »