โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามกัมพูชา–เวียดนาม

ดัชนี สงครามกัมพูชา–เวียดนาม

งครามกัมพูชา-เวียดนามเป็นความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามและกัมพูชาประชาธิปไตย สงครามเริ่มขึ้นด้วยการปะทะตามพรมแดนทางบกและทางทะเลของเวียดนามและกัมพูชาระหว่าง..

63 ความสัมพันธ์: พรรคฟุนซินเปกพรรคสามัคคีชาติกัมพูชาพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามพรรคประชาชนกัมพูชาพรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชาพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระสีหนุ (เมือง)พล พตพนมเปญกรมปรึกษาชาติชั้นสูงกองทัพประชาชนเวียดนามกองทุนการเงินระหว่างประเทศกัมพูชาประชาธิปไตยฝั่ม วัน ด่งรัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตยราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญลอน นอลสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดีสมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมรินสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนสหภาพโซเวียตสหประชาชาติสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาสาธารณรัฐเขมรสงครามอินโดจีนสงครามเย็นสงครามเวียดนามหลี่ เผิงหวอ วัน เกียตอินโดจีนองค์การบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชาองค์การการค้าโลกจังหวัดกำปงธมจังหวัดสวายเรียงธนาคารโลกความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกซอน ซานซอน เซนประเทศกัมพูชาประเทศสวีเดนประเทศจีนประเทศไทยประเทศเชโกสโลวาเกียประเทศเวียดนามประเทศเวียดนามใต้ประเทศเวียดนามเหนือปะเทดลาวปักกิ่งนครโฮจิมินห์...แปน โสวัณแนวร่วมสามัคคีสงเคราะห์ชาติกัมพูชาแนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมรเกาะฟู้โกว๊กเกาะปูลูไวเกาะโถเจาเล ดึ๊ก อัญเวียดมินห์เสียมราฐเหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามเขมรอิสระเขมรแดงเขียว สัมพัน ขยายดัชนี (13 มากกว่า) »

พรรคฟุนซินเปก

รรคฟุนซินเปก (FUNCINPEC; គណបក្ស ហ្វ៊ុនស៊ិនប៉ិច คณปกฺส หฺวุ̃นซินปิจ) เป็นพรรคการเมืองนิยมเจ้าในกัมพูชา โดยเป็นพรรคร่วมรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและพรรคฟุนซินเปก · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสามัคคีชาติกัมพูชา

รรคสามัคคีชาติกัมพูชา (គណបក្សសាមគ្គីជាតិកម្ពុជា คณบกฺสสามคฺคีชาติกมฺพุชา; Cambodian National Unity Party: CNUP) เป็นพรรคการเมืองที่จัดตั้งโดยเขมรแดงเมื่อ 30 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและพรรคสามัคคีชาติกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน

รรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน (Communist Party of Indochina; Đông Dương Cộng sản Đảng) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์หนึ่งในสามพรรคที่เป็นต้นกำเนิดของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม โดยอีกสองพรรคคือ พรรคคอมมิวนิสต์อันนัม และพันธมิตรคอมมิวนิสต์อินโดจีน ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม

รรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (Đảng Cộng sản Việt Nam) เป็นพรรคการเมืองที่ถูกกฎหมายพรรคเดียวในเวียดนาม เป็นพรรคนิยมลัทธิมากซ์-เลนินที่สนับสนุนโดยแนวหน้าปิตุภูมิเวียดนาม.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนกัมพูชา

รรคประชาชนกัมพูชา (គណបក្សប្រជាជនកម្ពុជា คณบกฺสบฺรชาชนกมฺพุชา: KPK; Cambodian People’s Party เป็นพรรคที่สืบทอดมาจากพรรคปฏิวัติประชาชนกัมพูชาที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 การเปลี่ยนแปลงมาเป็นพรรคประชาชนกัมพูชาเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2534 โดยมีการเปลี่ยนแปลงอุดมการณ์ของพรรค ยกเลิกแนวคิดนิยมคอมมิวนิสต์ก่อนการประชุมสันติภาพที่ปารีส ผู้นำพรรคคือฮุน เซน และ เจีย ซิม พรรคเข้าร่วมการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2536 และได้คะแนนเสียงเป็นลำดับที่สอง ได้เข้าร่วมรัฐบาลผสมกับพรรคฟุนซินเปก โดยฮุน เซนได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สอง เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 ฮุน เซน เข้ายึดอำนาจและขับไล่สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ออกจากตำแหน่ง และจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2541 ซึ่งพรรคได้เสียงมากที่สุดและได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลผสม.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและพรรคประชาชนกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา

รรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา (គណបក្សប្រជាជនបដិវត្តន៍កម្ពុជា คณบกฺสบฺรชาชนบฎิวตฺตน์กมฺพุชา; Kampuchean People’s Revolutionary Party: KPRP) เป็นพรรครัฐบาลและเป็นพรรคการเมืองพรรคเดียวในสมัยสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา ก่อตั้งเมื่อ 8 มกราคม..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและพรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระสีหนุ (เมือง)

มืองพระสีหนุ (ក្រុងព្រះសីហនុ, กรงเปรียะสีหนุ) หรือ กำปงโสม (កំពង់សោម; ก็อมปวงโสม) เป็นเมืองชายทะเลยอดนิยมมากที่สุดของประเทศกัมพูชา และเป็นเมืองเอกของจังหวัดพระสีหนุ อยู่ห่างจากกรุงพนมเปญ 246 กิโลเมตร ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ มีประชากร 89,846 คน เมืองพระสีหนุมีชายหาดทั้งหมด 5 แห่ง ว่ากันว่าที่สวยที่สุด คือ หาดสุขาและหาดโอจือเตียล (Occheuteal) เมืองพระสีหนุติดอันดับ 8 ในการจัดอันดับ 10 สุดยอดหาดในเอเชีย โดยหนังสือพิมพ์ Sunday Herald Sun ของ ประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและพระสีหนุ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

พล พต

ซาลต ซอ (សាឡុត ស สาฬุต สอ) หรือ พล พต (ប៉ុល ពត ปุล พต, ออกเสียง: ปล โปต; 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 - 15 เมษายน พ.ศ. 2541) เป็นนักปฏิวัติชาวกัมพูชาที่เป็นผู้นำเขมรแดง ตั้งแต..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและพล พต · ดูเพิ่มเติม »

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและพนมเปญ · ดูเพิ่มเติม »

กรมปรึกษาชาติชั้นสูง

กรมปรึกษาชาติชั้นสูง (ក្រុម​ប្រឹក្សា​ជាតិ​ជាន់​ខ្ពស់ กฺรุมบฺรึกฺสาชาติชาน̍ขฺพส̍; Supreme National Council: SNC) เป็นความร่วมมือที่เกิดจากผู้นำกัมพูชาทั้งสี่ฝ่ายเพื่อทำหน้าที่เป็นตัวแทนกัมพูชาในสหประชาชาติชั่วคราวจนกว่าการเลือกตั้งในกัมพูชาจะเสร็จสิ้น การประชุมของกรมปรึกษาชาติชั้นสูงเกิดขึ้นครั้งแรกในกรุงเทพฯเมื่อ 17 กันยายน..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและกรมปรึกษาชาติชั้นสูง · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพประชาชนเวียดนาม

กองทัพประชาชนเวียดนาม (Quan Nhan Dan Việt Nam Djoi) เป็นชื่อกองทัพในสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีหน้าที่รับผิดชอบการป้องกันประเทศ กองทัพประชาชนเวียดนามมีลักษณะคล้ายกับกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน เนื่องจากมีพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามคอยดูแล.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและกองทัพประชาชนเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

ัญลักษณ์ของ IMF กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund) หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF) เป็นองค์กรที่รัฐบาลของกลุ่มประเทศพันธมิตรได้ร่วมก่อตั้งขึ้น มีฐานะเป็นทบวงการชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ โดยมีข้อบังคับว่าประเทศที่จะเป็นสมาชิกธนาคารโลก และจะต้องเป็นสมาชิกของ IMF ด้วย เริ่มเปิดดำเนินการในเดือนมีนาคม ปี..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กัมพูชาประชาธิปไตย

กัมพูชาประชาธิปไตย (កម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ กมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย; Democratic Kampuchea) คือ ชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและกัมพูชาประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ฝั่ม วัน ด่ง

ฝั่ม วัน ด่ง (Phạm Văn Đồng ฝั่มวันโด่ง) เป็นนายกรัฐมนตรีของเวียดนามเหนือตั้งแต..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและฝั่ม วัน ด่ง · ดูเพิ่มเติม »

รัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย

รัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย (រដ្ឋាភិបាលចម្រុះកម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ รฎฺฐาภิบาลจมฺรุะกมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย; Coalition Government of Democratic Kampuchea: CGDK) เป็นการรวมตัวของกลุ่มการเมืองในกัมพูชาได้แก่เขมรแดง ภายใต้การนำของเขียว สัมพันและพล พต แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติประชาชนเขมรของซอนซาน และพรรคฟุนซินเปกของสมเด็จพระนโรดม สีหนุ เพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตยใน..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและรัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ลอน นอล

ลอน นอล (លន់ នល់ ลน่ นล่; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 - 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1985) เป็นนายทหารและนักการเมืองกัมพูชา เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาสองสมัย และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมอีกหลายครั้ง เป็นผู้ก่อการรัฐประหารล้มอำนาจของรัฐบาลเจ้านโรดม สีหนุในปี..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและลอน นอล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี

มเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดีทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพร.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน

มเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน จอมพล สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน (ស​ម្តេ​ច​អគ្គ​មហា​ពញា​ចក្រី​ ​ហេង​ ​សំ​រិ​ន​ ส​มฺเต​จ​อคฺค​มหา​พญา​จกฺรี​ ​เหง​ ​สํ​ริ​น​; เกิด ค.ศ. 1934) อดีตผู้นำกัมพูชา เคยดำรงตำแหน่งประธานสภาปฏิวัติประชาชนกัมพูชา ดำรงตำแหน่งผู้นำสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา และรัฐกัมพูชา ระหว่างปี..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพู.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา

รณรัฐประชามานิตกัมพูชา หรือในภาษาไทยคือ สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (សាធារណរដ្ឋប្រជាមានិតកម្ពុជា สาธารณรฎฺฐบฺรชามานิตกมฺพุชา; People's Republic of Kampuchea: PRK) เป็นรัฐบาลที่จัดตั้งในกัมพูชาโดยแนวร่วมปลดปล่อย ซึ่งเป็นกลุ่มของกัมพูชาฝ่ายซ้ายที่อยู่ตรงข้ามกับกลุ่มของเขมรแดง ล้มล้างรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของพล พต โดยร่วมมือกับกองทัพของเวียดนาม ทำให้เกิดการรุกรานเวียดนามของกัมพูชา เพื่อผลักดันกองทัพเขมรแดงออกไปจากพนมเปญ มีเวียดนามและสหภาพโซเวียตเป็นพันธมิตรที่สำคัญ สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาไม่ได้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติเพราะไม่ได้รับการสนับสนุนจากจีน อังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่นั่งในสหประชาชาติของประเทศกัมพูชาในขณะนั้นเป็นของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายที่จัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย ซึ่งกลุ่มเขมรแดงของพล พตเข้าร่วมกับกลุ่มที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์อีก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มของนโรดม สีหนุ และซอน ซาน อย่างไรก็ตาม สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาได้ประกาศเป็นรัฐบาลของกัมพูชาระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเขมร

รณรัฐเขมร (Khmer Republic; République Khmère) เป็นรัฐบาลของประเทศกัมพูชาที่ปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 9 ตุลาคม..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสาธารณรัฐเขมร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอินโดจีน

งครามอินโดจีน (Indochina Wars, Chiến tranh Đông Dương) เป็นสงครามย่อยหลายสงครามที่เกิดขึ้นทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปีค.ศ. 1946 จนถึง 1989 ระหว่างชาวเวียดนามชาตินิยมกับฝรั่งเศส อเมริกา และจีน คำว่า "อินโดจีน" เดิมทีจะหมายถึงอินโดจีนของฝรั่งเศส ซึ่งรวมทั้งรัฐปัจจุบันของเวียดนาม ลาว และกัมพูชา การใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่หมายถึงภูมิภาคทางภูมิศาสตร์มากกว่าพื้นที่ทางการเมือง สงครามแบ่งออกเป็นสงครามย่อย 4 สงครามได้แก.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสงครามอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเย็น

กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ. 1989 เป็นสัญลักษณ์ว่าสงครามเย็นใกล้ยุติ สงครามเย็น (Cold War Холодная война) เป็นสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารหลังสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างประเทศในกลุ่มตะวันตก (สหรัฐอเมริกา พันธมิตรเนโท ฯลฯ) และประเทศในกลุ่มตะวันออก (สหภาพโซเวียตและพันธมิตรในสนธิสัญญาวอร์ซอ) นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ส่วนใหญ่ถือ..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสงครามเย็น · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเวียดนาม

งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและสงครามเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เผิง

หลี่ เผิง (ภาษาจีน: 李鹏, 李鵬, พินอิน: Lĭ Péng) เกิดเดือนตุลาคม พ.ศ. 2471 เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน คนที่ 4 ระหว่าง พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2541 และประธานสภาประชาชนแห่งชาติจีน ระหว่าง พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2546 ในช่วงเวลาที่ดำรงตำแหน่งถือว่าเป็นบุคคลผู้มีอำนาจเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากประธานาธิบดีเจียง เจ๋อหมินเท่านั้น หลี่ เผิงเกิดที่เมืองเฉิงตู มณฑลเสฉวน ภายหลังเขาได้เป็นบุตรบุญธรรมของนายกรัฐมนตรีโจวเอินไหล ซึ่งเป็นรัฐมนตรีคนแรก เขาสืบทอดตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากจ้าว จื่อหยาง ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 11 ปี ก่อนจะส่งมอบให้กับจู หรงจี หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีจีน ผ.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและหลี่ เผิง · ดูเพิ่มเติม »

หวอ วัน เกียต

หวอ วัน เกียต (Võ Văn Kiệt) เกียตเป็นประธานสภารัฐมนตรีแห่งเวียดนามในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและหวอ วัน เกียต · ดูเพิ่มเติม »

อินโดจีน

มุทรอินโดจีน เมื่อปี ค.ศ. 1886 '''อินโดจีน''': สีเขียวเข้ม: นับรวมเสมอ, สีเขียวอ่อน: นับรวมเป็นส่วนใหญ่, สีแดง: นับรวมเป็นบางครั้ง'''ภูมิภาคอินโดจีน''' (ชีววิทยา): สีเขียวเข้มและอ่อน อินโดจีน (Indochina) หรือ คาบสมุทรอินโดจีน (Indochinese Peninsula) เป็นคาบสมุทรที่ยื่นออกมาจากแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย และเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มาของชื่อว่าอินโดจีนนั้น ก็เพราะว่าคาบสมุทรนี้ตั้งอยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และทางตะวันออกของประเทศอินเดีย คำว่า "Indochina" มีที่มาจากคำว่า Indochine ในภาษาฝรั่งเศส และถูกใช้ในระหว่างยุคล่าอาณานิคม ในทางประวัติศาสตร์แล้ว ประเทศในอินโดจีนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาระดับที่แตกต่างกัน อย่างเช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนเวียดนามได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมาในยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ชาติส่วนใหญ่ในอินโดจีนก็รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเช่นกัน.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา

องค์การบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา (United Nations Transitional Authority in Cambodia; អាជ្ញាធរអន្តរកាលសហប្រជាជាតិនៅកម្ពុជា อาชฺญาธรอนฺตรกาลสหบฺรชาชาติเนากมฺพุชา) หรือ อันแทก (UNTAC; អ.អ.ស.ប.ក. อ.อ...ก.) เป็นปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติในกัมพูชาระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและองค์การบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการค้าโลก

องค์การการค้าโลก (World Trade Organization, WTO) เป็นองค์การนานาชาติสังกัดองค์การสหประชาชาติ (UN) ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงทางด้านการค้าระหว่างชาติ เป็นเวทีสำหรับการเจรจาต่อรอง ตกลงและขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางการค้าและการบริการระหว่างประเทศสมาชิก องค์การการค้าโลกจัดตั้งขึ้นแทนความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและภาษีศุลกากร เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2538 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมีสมาชิก 164 ประเทศและดินแดน องค์การการค้าโลกมีงบประมาณปี..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและองค์การการค้าโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกำปงธม

กำปงธม หรือ ก็อมปวงทม (កំពង់ធំ, "ท่าเรืออันยิ่งใหญ่") เป็นจังหวัด (เขต) ของประเทศกัมพูชา มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเสียมราฐทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, จังหวัดพระวิหารทางทิศเหนือ, จังหวัดสตึงเตรงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, จังหวัดกระแจะทางทิศตะวันออก, จังหวัดกำปงจามและจังหวัดกำปงชนังทางทิศใต้ และติดต่อกับโตนเลสาบทางทิศตะวันตก เมืองหลักของจังหวัด คือ สตึงแสน เป็นเมืองชายฝั่งแม่น้ำแสน มีประชากรประมาณ 30,000 คน จังหวัดกำปงธมเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 เป็นจังหวัดที่มีสถานที่ที่เป็นสถาปัตยกรรมเขมรเป็นจำนวนมาก ได้แก่ ปราสาท Sambor Prei Kuk และปราสาทวัด Andet จังหวัดกำปมธมเป็นหนึ่งในเก้าจังหวัดที่อาณาเขตติดต่อกับโตนเลสาบ และเป็นจังหวัดที่ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเขตสงวนชีวมณฑลโตนเล.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและจังหวัดกำปงธม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสวายเรียง

วายเรียง (ស្វាយរៀង, "มะม่วงเรียง") เป็นจังหวัดที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา เมืองหลักคือเมืองสวายเรียง ทางหลวงหมายเลข 1 ของกัมพูชามาสิ้นสุดที่บาเวตก่อนจะเข้าสู่ประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและจังหวัดสวายเรียง · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารโลก

นาคารโลก (World Bank) หรือเรียกว่า ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและวิวัฒนาการ (International Bank for Reconstruction and Development; IBRD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ได้จัดตั้งขึ้นมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยประเทศมหาอำนาจในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยให้ประเทศสมาชิกได้ทำการฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยมุ่งเน้นการลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเร่งรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นองค์กรอยู่ในสังกัดขององค์การสหประชาชาติ มีสำนักงานใหญ่ตั้งที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 188 ประเทศ เงินทุนของธนาคารโลกได้มาจากการจำหน่ายพันธบัตรในตลาดการเงินสำคัญของโลก ค่าบำรุงจากประเทศสมาชิก และเงินค่าหุ้นของประเทศสมาชิก.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและธนาคารโลก · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก

วามตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Trans-Pacific Partnership, ย่อ: TPP) เป็นความตกลงการค้าระหว่างประเทศขอบแปซิฟิกสิบสองประเทศ ว่าด้วยประเด็นนโยบายสาธารณะต่าง ๆ ซึ่งบรรลุเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2558 หลังเจรจานาน 7 ปี และลงนามเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 ในออกแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ เป้าหมายที่แถลงของความตกลงฯ คือ เพื่อ "ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจ สนับสนุนการสร้างและรักษางาน การเสริมสร้างนวัตกรรม ผลิตภาพและความสามารถการแข่งขัน ยกระดับมาตรฐานการครองชีพ ลดความยากจนในประเทศ และส่งเสริมความโปร่งใส ธรรมาภิบาลและเสริมสร้างการคุ้มครองแรงงานและสิ่งแวดล้อม" ความตกลง TPP มีมาตรการเพื่อลดอุปสรรคทางการค้า เช่น พิกัดอัตรา และสถาปนากลไกการระงับข้อพิพาทผู้ลงทุน-รัฐ (แต่รัฐเลือกได้ว่าไม่ดำเนินมาตรการที่เกี่ยวข้องกับยาสูบ) รัฐบาบลสหรัฐถือว่า TPP เป็นความตกลงเคียงคู่กับความตกลงหุ้นส่วนการค้าและการลงทุนภาคพื้นแอตแลนติก (Transatlantic Trade and Investment Partnership, TTIP) ที่มีการเสนอ ซึ่งเป็นความตกลงที่คล้ายกันอย่างกว้าง ๆ ระหว่างสหรัฐและสหภาพยุโรป ในอดีต TPP เป็นการขยายความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจยุทธศาสตร์ภาคพื้นแปซิฟิก (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement) ซึ่งประเทศบรูไน ชิลี นิวซีแลนด์และสิงคโปร์ลงนามในปี 2549 เริ่มตั้งแต่ปี 2551 มีประเทศอื่นเข้าร่วมการอภิปรายสำหรับความตกลงที่กว้างขึ้น ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ่น มาเลเซีย เม็กซิโก เปรู สหรัฐและเวียดนาม ทำให้มีจำนวนประเทศผู้เข้าร่วมการเจรจาสิบสองประเทศ ความตกลงการค้าปัจจุบันระหว่างประเทศผู้เข้าร่วม เช่น ความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ จะลดบทบัญญัติเหล่านั้นซึ่งไม่ขัดต่อ TPP หรือกำหนดให้เปิดเสรีการค้าเกินกว่า TPP ชาติผู้เข้าร่วมมุ่งสำเร็จการเจรจาในปี 2555 แต่ประเด็นที่มีข้อพิพาทอย่างเกษตรกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาและการบริการและการลงทุนทำให้การเจรจายืดเยื้อ สุดท้ายชาติต่าง ๆ บรรลุความตกลงเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2558 การนำความตกลงฯ ไปปฏิบัติเป็นเป้าหมายวาระการค้าของรัฐบาลโอบามาในสหรัฐ วันที่ 5 ตุลาคม 2558 นายกรัฐมนตรีแคนาดา สตีเฟน ฮาร์เปอร์ คาดหมายว่า "ลายมือชื่อบนข้อความฉบับสมบูรณ์และตกลงเร็วในปีใหม่ และให้สัตยาบันในอีกสองปีถัดไป" มีการเผยแพร่ฉบับข้อความของสนธิสัญญา "ภายใต้การทบทวนทางกฎหมาย (...) เพื่อความแม่น ความกระจ่างและความสอดคล้อง" ต่อสาธารณะเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2558 วันเดียวกับที่ประธานาธิบดีโอบามาแจ้งรัฐสภาว่าเขาเจตนาลงนาม มีวิชาชีพสุขภาพโลก (global health) นักกิจกรรมเสรีภาพอินเทอร์เน็ต นักสิ่งแวดล้อม สหภาพแรงงาน กลุ่มผลประโยชน์และข้าราชการจากการเลือกตั้งจำนวนหนึ่งวิจารณ์และประท้วงต่อสนธิสัญญานี้ ส่วนใหญ่เพราะการเจรจาทางลับ ขอบข่ายกว้างขวางของความตกลงและข้อความซึ่งมีการโต้เถียงที่รั่วต่อสาธารณะ การลงนาม TPP ในออกแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 มีการประท้วงสาธารณะเป็นวงกว้างในประเทศนิวซีแลนด์ พรรคฝ่ายค้านทุกพรรคและพรรครัฐบาลหนึ่งพรรค (พรรคเมารี พรรคชาตินิยมฝ่ายขวา) ในรัฐสภานิวซีแลนด์ประกาศคัดค้าน TPP และกล่าวในการชุมนุมประท้วงในกรุงเวลลิงตัน เมืองหลวงของประเทศ ในวันที่ลงนาม.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ซอน ซาน

ซอน ซาน ซอน ซาน (សឺន សាន สืน สาน; 5 ตุลาคม พ.ศ. 2454 - 19 ธันวาคม ค.ศ. 2000) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชาที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 24 ของกัมพูชา (พ.ศ. 2510 – 2511) และต่อมาเป็นประธานสมัชชาแห่งชาติ (พ.ศ. 2536) ตำแหน่งเต็มยศของเขาคือ สมเด็จบวรเศรษฐาธิบดี ซอน ซาน (ภาษาเขมร: សម្តេចបវរសេដ្ឋាធិបតី សឺន សាន).

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและซอน ซาน · ดูเพิ่มเติม »

ซอน เซน

ซอน เซนในทศวรรษ 2510 ซอน เซน (Son Sen;សុន សេន) เกิดเมื่อ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและซอน เซน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเชโกสโลวาเกีย

right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและประเทศเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามใต้

รณรัฐเวียดนาม เป็นรัฐที่ปกครองบริเวณตอนใต้ของเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2498 ถึง พ.ศ. 2518 ซึ่งต่างชาติโดยเฉพาะรัฐประชาธิปไตยและชาติต่อต้านคอมมิวนิสต์นิยมเรียกในชื่อว่า เวียดนามใต้ คำเรียก เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปี พ.ศ. 2497 ในการประชุมที่เจนีวา ซึ่งแบ่งประเทศเวียดนามออกเป็นสองส่วนโดยเส้นขนานที่ 17 ในระหว่างสงครามเวียดนาม เวียดนามใต้ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ในอดีต เวียดนามใต้เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสในชื่อ โคชินไชนา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เวียดมินห์ซึ่งนำโดยโฮจิมินห์ สถาปนารัฐคอมมิวนิสต์ขึ้นที่ฮานอย ในปีพ.ศ. 2492นักการเมืองที่ไม่ฝักใฝ่คอมมิวนิสต์ ก่อตั้งรัฐบาลขึ้นที่เมืองไซ่ง่อนซึ่งนำโดยอดีตจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในปี 2498 บ๋าว ดั่ย ถูกปลดโดยนายกรัฐมนตรีโง ดิ่ญ เสี่ยม และแต่งตั้งตนขึ้นเป็นประธานาธิบดี หลังจากเสี่ยมเสียชีวิตจากการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2506 ได้มีรัฐบาลทหารอายุสั้นหลายสมัยได้ปกครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2510 พลโท เหงียน วัน เถี่ยวได้ขึ้นเป็นประธานาธิบดีและได้ปกครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2518 สงครามเวียดนามเริ่มต้นในปี..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและประเทศเวียดนามใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามเหนือ

วียดนามเหนือ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (Việt Nam Dân Chủ Cộng Hòa) คือประเทศที่เกิดจากการรวมของแคว้นตังเกี๋ยและแคว้นอันนัมของฝรั่งเศส ประกาศก่อตั้งเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) โดยประธานาธิบดีโฮจิมินห์ ตั้งอยู่บริเวณครึ่งบนของประเทศเวียดนามในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและประเทศเวียดนามเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปะเทดลาว

งของขบวนการ "ปะเทดลาว" (ได้รับรองเป็นธงชาติของ สปป.ลาว เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ปะเทดลาว (Pathet Lao; ປະເທດລາວ) เป็นชื่อของขบวนการปฏิวัติลาวที่เป็นพันธมิตรกับพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามในสมาคมอินโดจีนช่วงแรก กลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กับพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามตั้งแต่ พ.ศ. 2487 กำเนิดของกลุ่มนี้เริ่มจากการที่เจ้าสุพานุวงได้ต่อต้านการฟื้นฟูลัทธิจักรวรรดินิยมของฝรั่งเศส จนต้องเข้ามาลี้ภัยในไทยและออกไปเวียดนามเมื่อ พ.ศ. 2492 เมื่อมีการประนีประนอมระหว่างกลุ่มชาตินิยมลาวกับฝรั่งเศส เมื่อ..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและปะเทดลาว · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและนครโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

แปน โสวัณ

แปน โสวัณณ์ (Pen Sovan; ภาษาเขมร: ប៉ែន សុវណ្ណ; 15 เมษายน พ.ศ. 2479 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เกิดที่จังหวัดตาแก้ว ประเทศกัมพูชา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา โดยดำรงตำแหน่งระหว่าง 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและแปน โสวัณ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมสามัคคีสงเคราะห์ชาติกัมพูชา

ตราของแนวร่วมสามัคคีสงเคราะห์ชาติกัมพูชาในอดีตสำนักงานภายในกรุงพนมเปญ แนวร่วมสามัคคีสงเคราะห์ชาติกัมพูชาได้นำธงของสมาคมเขมรอิสระในสมัยต่อต้านฝรั่งเศส มาใช้เป็นธงชาติของสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาMargaret Slocomb, ''The People's Republic of Kampuchea, 1979-1989: The revolution after Pol Pot'' ISBN 9789749575345 แนวร่วมสามัคคีสงเคราะห์ชาติกัมพูชา (រណសិរ្សសាមគ្គីសង្គ្រោះជាតិកម្ពុជា รณสิรฺสสามคฺคีสงฺเคฺราะชาติกมฺพุชา; Kampuchean United Front for National Salvation: KUFNS; Front Uni National pour le Salut du Kampuchéa: FUNSK) หรือในประเทศไทยเป็นที่รู้จักว่า แนวร่วมสามัคคีประชาชาติกู้ชาติกัมพูชา เป็นศูนย์กลางของระบบใหม่ในกัมพูชาที่ต่อมาได้สถาปนาสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา แนวร่วมนี้ก่อตั้งเมื่อ 2 ธันวาคม..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและแนวร่วมสามัคคีสงเคราะห์ชาติกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร

ผู้อพยพตามแนวชายแดนของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา; พ.ศ. 2522 - 2527 ค่ายของแนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมรแสดงด้วยสีดำ แนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร (រណសិរ្សរំដោះជាតិខ្មែរ รณสิรฺสรํเฎาะชาติขฺแมร; Khmer People’s National Liberation Front) เป็นกองกำลังต่อต้านรัฐบาลในกัมพูชาที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและแนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร · ดูเพิ่มเติม »

เกาะฟู้โกว๊ก

Dương Đông) เกาะฟู้โกว๊ก (Phú Quốc) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนาม ตั้งอยู่ในอ่าวไทย โดยอยู่ในพื้นที่ของจังหวัดเกียนซาง พื้นที่ 574 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรอยู่ถาวร 85,000 คน เขตการปกครองของเกาะฟู้โกว๊กนั้นประกอบด้วยเกาะใหญ่และเกาะเล็กน้อยอีก 21 เกาะ ศูนย์กลางของเกาะตั้งอยู่ที่เมืองใหญ่ที่สุดคือเซืองโดงทางชายฝั่งตะวันตก และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเกาะอีกด้วย เศรษฐกิจของเกาะขึ้นกับการประมง เกษตรกรรมและการท่องเที่ยว เกาะนี้ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญของเวียดนาม.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและเกาะฟู้โกว๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เกาะปูลูไว

กาะปูลูไว หรือเกาะไว (Koh Wai; ภาษาเขมร: កោះពូលូវៃ, หรือ Poulo Wai หรือ Wai Islands)เป็นกลุ่มของเกาะขนาดเล็กสองเกาะที่ไม่มีผู้คนอยู่อาศัยในอ่าวไทย เกาะนี้อยู่ห่างจากชายฝั่ง 95 กิโลเมตร ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดพระสีหนุ อยู่ในเขตการปกครองของจังหวัดกำปอต เกาะทั้งสองอยู่ห่างกัน 1.4 กิโลเมตร.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและเกาะปูลูไว · ดูเพิ่มเติม »

เกาะโถเจา

กาะโถเจา (Tho Chau Island; ภาษาเวียดนาม: Thổ Châu หรือ Thổ Chu) หรือเกาะปันจัง เป็นเกาะในอ่าวไทยที่อยู่ในน่านน้ำของประเทศเวียดนาม.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและเกาะโถเจา · ดูเพิ่มเติม »

เล ดึ๊ก อัญ

ล ดึ๊ก อัญ (Lê Đức Anh) เป็นประธานาธิบดีสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามระหว่างเดือนกันยายน..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและเล ดึ๊ก อัญ · ดูเพิ่มเติม »

เวียดมินห์

งเวียดมินห์ กองทัพประชาชนเวียดนาม หรือ เหวียดมิงห์ หรือ เวียดมินห์ (Việt Nam Độc Lập Đồng Minh Hội หรือ Việt Minh) หรือบางแหล่งก็เรียก สันนิบาตเพื่อเอกราชเวียดนาม คือ ขบวนการทางการเมือง โดยมีจุดประสงค์เพื่อปลดปล่อยเวียดนามออกจากการปกครองของฝรั่งเศส จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2484 โดยมีโฮจิมินห์เป็นผู้นำ และมีนายพลหวอ เงวียน ซ้าป เป็นผู้บัญชาการกองทัพคนแรก.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและเวียดมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

เสียมราฐ

ียมราฐ หรือ เสียมเรียบ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและเสียมราฐ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม

หตุปะทะชายแดนไทย-เวียดนามเกิดขึ้นเมื่อกำลังทหารเวียดนามบุกเข้ากัมพูชาเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและเหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

เขมรอิสระ

งของเขมรอิสระฝ่ายซ้ายที่นิยมเวียดมิญจะมีปราสาทนครวัดห้ายอด ธงนี้ต่อมาใช้เป็นธงของแนวร่วมประชาชาติกู้ชาติกัมพูชาที่ร่วมมือกับเวียดนามต่อต้านเขมรแดง และใช้เป็นธงชาติของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาMargaret Slocomb, ''The People's Republic of Kampuchea, 1979-1989: The revolution after Pol Pot'' ISBN 9789749575345 เขมรอิสระ (Khmer Issarak; ภาษาเขมร: ខ្មែរឥស្សរៈ) เป็นกลุ่มต่อต้านฝรั่งเศสและกลุ่มชาตินิยมเขมร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและเขมรอิสระ · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขียว สัมพัน

ียว สัมพัน ก่อนการพิจารณาคดีที่ศาลพิเศษคดีอาชญากรสงคราม กรุงพนมเปญ ในปี 2009 เขียว สัมพัน (ខៀវ សំផន เขียว สํผน; เกิด 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1931) เป็นอดีตประธานสภาเปรซิเดียมแห่งกัมพูชาประชาธิปไตยในช่วงปี..

ใหม่!!: สงครามกัมพูชา–เวียดนามและเขียว สัมพัน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สงครามกัมพูชา-เวียดนาม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »