โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วุฒิสภาไทย

ดัชนี วุฒิสภาไทย

วุฒิสภาไทย หรือเดิมมีชื่อว่า "พฤฒสภา" เป็นวุฒิสภาของประเทศไทย โดยเป็นสภาสูงในรัฐสภาไทยคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่าง วุฒิสภาไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2489 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 แบ่งรูปแบบสำคัญออกเป็น 2 ยุค คือ ยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง และยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งและการสรรหา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนวุฒิสภา โดยมี นายนัฑ ผาสุข เป็นเลขาธิการว.

73 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2494พ.ศ. 2514พ.ศ. 2519พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2541พ.ศ. 2543พ.ศ. 2549พนักงานอัยการกรุงเทพมหานครการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2543การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2551การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557รัฐมนตรีรัฐสภาไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีการายนามประธานวุฒิสภาไทยวุฒิสภาวุฒิสภาไทย ชุดที่ 1วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2วุฒิสภาไทย ชุดที่ 3วุฒิสภาไทย ชุดที่ 4วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7วุฒิสภาไทย ชุดที่ 8ศาลยุติธรรม (ประเทศไทย)ศาลรัฐธรรมนูญศาลปกครอง (ประเทศไทย)สภาล่างสภาสูงสภาผู้แทนราษฎรไทยสภาปฏิรูปแห่งชาติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย)สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินอัยการสูงสุดอาคารรัฐสภาไทยผู้ตรวจการแผ่นดิน (ประเทศไทย)คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)...คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติตุลาการนายกรัฐมนตรีเขตดุสิต1 มีนาคม17 พฤศจิกายน18 พฤศจิกายน19 กันยายน19 เมษายน2 มีนาคม21 มีนาคม22 มีนาคม22 เมษายน23 กุมภาพันธ์23 มีนาคม24 พฤษภาคม26 มกราคม29 พฤศจิกายน4 กรกฎาคม4 มีนาคม6 ตุลาคม8 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (23 มากกว่า) »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พนักงานอัยการ

นักงานอัยการ (อังกฤษ: prosecutor) คือผู้มีอำนาจหน้าที่ดำเนินคดีแทนรัฐบาลในศาล รวมถึงการรับว่าต่างหรือแก้ต่างแทนรั.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและพนักงานอัยการ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2543

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2551

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรี

รัฐมนตรี คือผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการและรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง ในอดีต รัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาไทย

รัฐสภาแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศไทย เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอันเป็นส่วนหนึ่งของอำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้รัฐสภาประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการปกครองโดยใช้ระบบสองสภา โดยทั้งสองสภาจะประชุมร่วมกันหรือแยกกันแล้วแต่ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา โดยตำแหน่ง อย่างไรก็ดีตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ยังคงทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป และให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติแห่งชาติสิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 3 ของไทย จัดร่างโดยสภาผู้แทนราษฎร และประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 และถูกยกเลิกเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 โดยรัฐประหารของคณะรัฐประหารอันมี พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ นายทหารกองหนุน เป็นหัวหน้า รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 1 ปี 5 เดือน 28 วัน รัฐธรรมนูญฉบับนี้กำหนดให้มีพฤฒิสภา (วุฒิสภา) ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยกำหนดให้มีสมาชิกในสภานี้ทั้งสิ้น 80 คน.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 8 ซี่งได้มีรัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2511 มีนาย ทวี บุณยเกตุ ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้รับสนอง พระบรมราชโองการโดยมีทั้งสิ้น 183 มาตรา ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงโดยการปฏิวัติตัวเองของ จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517

ความเป็นมา ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้เกิดหลังจากเหตุการณ์ วันมหาวิปโยค 14 ตุลาคม 2516 หลังจากที่จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีได้ลา ออกจาก ตำแหน่ง โดยมีนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี นายก รัฐมนตรีได้แต่งตั้ง คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อร่างรัฐธรรมนูญ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2516 ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน 18 คน โดยคณะกรรมการชุดนี้ได้นำเอารัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492 มาเป็นแนวใน การยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ใช้เวลาในการยกร่างเพียง 3 เดือนเท่านั้น คณะ กรรมการร่างรัฐธรรมนูญได้เสนอ ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาปรับปรุงแก้ไข เมื่อ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2517 จากนั้นจึงส่งร่างรัฐธรรมนูญไปให้นิติบัญญัติแห่งชาติ พิจารณาและลงมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2517 และพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นรัฐะรรมนูญเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2517 เนื่องจากคณะกรรมการได้ใช้รัฐธรรมนูญฉบับ 2492 เป็นแนวทางในการ พิจารณารัฐธรรมนูญฉบับนี้จึงวางแนวการปกครองไว้คล้ายกับรัฐธรรมนูญฉบับปี 2492 คือ ยึดถือหลักการของ "ระบบรัฐสภา" เป็นหลักในการปกครอง โดยมี สาระสำคัญ สรุปดังนี้ รัฐสภา ประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรรัฐสภาจะประชุมร่วมกัน หรือแยกกันย่อมเป็นไปตามบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ วุฒิสภา ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและ แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ มีอายุไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์วาระในการดำรงตำแหน่ง คราวละ 6 ปี ในวาระแรกเมื่อครบ 3 ปี ให้ออกจากตำแหน่งกึ่งหนึ่งโดยวิธีจับ สลากและได้กำหนดให้วุฒิสภามีอำนาจในการออกกฎหมายและควบคุมการบริหาร งานของคณะรัฐมนตรีเกือบเท่ากับสภาผู้แทนราษฎร สภาผู้แทนราษฎร ประกอบด้วย สมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง มีจำนวนไม่น้อยกว่า 240 คน แต่ไม่เกิน 300 คน จำนวน ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้คำนวณตาม เกณฑ์ จำนวนราษฎรที่กำหนดไว้ใน กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรวาระในการดำรงตำแหน่งคราว ละ 4 ปี คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอีกไม่เกิน 30 คน มีหน้าที่ในการบริหาร ราชการแผ่นดิน พระมหากษัตริย์ทรงตั้ง นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎรและรัฐมนตรีอีกไม่น้อยกว่ากึงหนึ่งของจำนวนรัฐมนตรีทั้งหมด จะ ต้องเป็นสมาชิกวุฒิสภาหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลง นามรับสนองพระบรมราชโองการตั้ง นายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญฉบับนี้กำหนด ไว้ว่าห้ามข้าราชการประจำดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีและสมาชิกรัฐสภาโดยเด็ดขาด ซึ่งเท่ากับมอบอำนาจให้แก่ประชาชนอย่างเต็มที่ นอกจากนั้นรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ยังได้วางหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชนไว้อย่างกว้างขวาง เช่น บุคคลจะ ไม่ถูกจับกุมหรือสอบสวน เพื่อให้มีการฟ้องร้องเขาในคดีอาญาโดยเจ้าหน้าที่ของ หน่วยงานเดียวกัน เป็นต้น ยิ่งกว่านั้นรัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังได้ประกาศอุดมการณ์ ไว้อย่างแจ้งชัดว่ายึดมั่นใน "การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันจะยังผลให้เกิด ความเป็นธรรมในสังคม ป้องกันคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและรักษาผลประโยชน์ของ ประชาชนชาวไทย โดยจะดำเนินการให้ความเหลื่อมล้ำในฐานะของบุคคลในทาง เศรษฐกิจและสังคมลดน้อยลงและส่งเสริมให้ชาวนา และเกษตรกรอื่นมีกรรมสิทธิ ในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมตามสมควร หมวดหมู่:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 13 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2521 มีพลอากาศเอก หะริน หงสกุล ประธาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ รัฐธรรมนูญฉบับนี้สิ้นสุดลงเมื่อวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ตามประกาศของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ รวมเวลาประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ทั้งสิ้น 12 ปี 2 เดือน 1 วัน.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 หรือ รัฐธรรมนูญฉบับ ร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 15 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2534 เพื่อใช้แทน ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 ซึ่งได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 1 มีนาคม ปีเดียวกันโดยมีนาย อุกฤษ มงคลนาวิน ประธาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกยกเลิกโดยการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นกฎหมายสูงสุดว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองประเทศไทยที่เป็นลายลักษณ์อักษร ฉบับที่ 16 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงแล้ว ด้วยการรัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้ออกประกาศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549 ทั้งนี้คณะปฏิรูปฯได้ออกประกาศคงบทบัญญัติบางหมวดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2549 ไว้ภายหลัง รัฐธรรมนูญฉบั..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 20 ซึ่งจัดร่างโดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ในระหว่าง..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา

ต่อไปนี้เป็น รายพระนามและรายนามของผู้ทรงดำรงตำแหน่งและดำรงตำแหน่งอธิบดีและประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรายพระนามและรายนามอธิบดีศาลฎีกาและประธานศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานวุฒิสภาไทย

ประธานวุฒิสภาไทย เป็นตำแหน่งประมุขของวุฒิสภา หรือสภาสูงของไทย ซึ่งทำหน้าที่ควบคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทย หรือสภาล่าง มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย วุฒิสภาไทย มีบัญญัติครั้งแรกไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและรายนามประธานวุฒิสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภา

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและวุฒิสภา · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 1

วุฒิสภาไทยชุดที่ 1 (24 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) หรือรู้จักกันในชื่อ..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 ท่าน เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอายุคราวละ 6 ปี มีพระราชกฤษฎีกาแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 3

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 3 ประกอบไปด้วยสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 120 ท่าน ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 4

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 4 (26 มกราคม พ.ศ. 2518 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) เป็นวุฒิสมาชิกชุดที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 ซึ่งกำหนดให้รัฐสภาไทยประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาไทย และสภาผู้แทนราษฎรไทย วุฒิสภาชุดนี้มีสมาชิกจำนวน 100 คน อยู่ในวาระ 4 ปี ได้รับโปรดเกล้าแต่งตั้ง เมื่อวันที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5 วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งประกอบไปด้วยสมาชิกจำนวนทั้งสิ้น 225 คนโดยได้รับโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 สิ้นสุดสมาชิกภาพเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ตามประกาศของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ รสช. ฉบับที่ 3.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 (22 มีนาคม พ.ศ. 2539 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2543) เป็นวุฒิสมาชิกชุดที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 ซึ่งกำหนดให้รัฐสภาไทยประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาไทย และสภาผู้แทนราษฎรไทย วุฒิสภาชุดนี้มีสมาชิกจำนวน 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ มีจำนวน 260 คน อยู่ในวาระ 4 ปี ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 8

มาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 8 (22 มีนาคม พ.ศ. 2543 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกชุดแรกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยมีการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543 ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง จำนวน 200 คน ตามบทเฉพาะกาล มาตรา 315 วรรคห้า (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กำหนดให้สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาชุดนี้เริ่มนับตั้งแต่วันที่สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 สิ้นสุดลง คือ ครบวาระ 4 ปีในวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

ศาลยุติธรรม (ประเทศไทย)

ลยุติธรรม เป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลอื่น ศาลยุติธรรมมี 3 ชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา เว้นแต่ที่มีบัญญัติเป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญหรือตามกฎหมายอื่น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและศาลยุติธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลรัฐธรรมนูญ

ลรัฐธรรมนูญ (constitutional court) เป็นศาลสูงที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักที่จะวินิจฉัยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ขัดกับสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่ ในหลาย ๆ ประเทศ ไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นเอกเทศ และศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีดังกล่าวเอง นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ประเทศก็ไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่า ศาลรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะเป็นศาลแรกในโลกที่วินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายต่าง ๆ (คดีระหว่างมาร์บิวรีกับเมดิสัน) แม้ว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น คือ ประเทศออสเตรีย ซึ่งดำเนินการใน..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและศาลรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลปกครอง (ประเทศไทย)

ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง http://www.admincourt.go.th/admincourt/site/01sign.html ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง ศาลปกครอง (Administrative Court) เป็นศาลที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 276 และมีการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มีฐานะเทียบเท่าศาลยุติธรรมและมีอำนาจหน้าที่พิจารณาพิพากษา “คดีปกครอง” ซึ่งเป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกรณีหนึ่ง และข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกันอีกกรณีหนึ่ง ทั้งนี้ เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพื่อสร้างบรรทัดฐานที่ถูกต้องในการปฏิบัติราชการ ศาลปกครอง เป็นศาลที่ใช้ระบบไต่สวน โดยในแต่ละคดีจะมีการพิจารณาโดยองค์คณะของตุลาการ ต่างจากศาลยุติธรรมซึ่งใช้ระบบกล่าวหา ศาลปกครองแบ่งออกเป็น "ศาลปกครองชั้นต้น" และ "ศาลปกครองสูงสุด".

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและศาลปกครอง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สภาล่าง

ล่าง (อังกฤษ: lower house) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสองสภา อีกสภาหนึ่งได้แก่ สภาสูง ในแต่ละประเทศ สภาล่างจะมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป ตัวอย่างสภาล่าง เช่น สภาผู้แทนราษฎร ถึงแม้ว่าตำแหน่งทางทฤษฎีจะอยู่ "ข้างล่าง" ของสภาสูง แต่ในความเป็นจริง "สภาล่าง" เกือบทุกประเทศในโลกกลับมีอำนาจมากกว่า "สภาสูง" ความเหนือชั้นกว่าของสภาล่างเกิดจากข้อจำกัดพิเศษที่บังคับใช้กับสภาสูง (ไม่ว่าจะเป็นไปตามกฎหมายหรือเห็นได้โดยชัดแจ้งในระเบียบวิธีการประชุม) ที่สามารถทำได้เพียงการชะลอการออกกฎหมายให้ช้าลง แต่ไม่อาจใช้อำนาจยับยั้งการออกกฎหมาย (veto)ได้ หรืออาจไม่มีอำนาจควบคุมกฎหมายเกี่ยวกับการเงิน ภายใต้ระบบรัฐสภาถือเป็นเรื่องปกติที่สภาล่างเท่านั้นที่มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดตัวหัวหน้ารัฐบาล หรือนายกรัฐมนตรี และยังสามารถถอดถอนผ่านการออกเสียงไม่ไว้วางใจได้อีกด้วย แต่ก็มีข้อยกเว้นอยู่บ้าง เช่น นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น ซึ่งเลือกจากการสนับสนุนของทั้งสองสภาไดเอต การร่างกฎหมายที่ทำได้โดยสภาเดียวเรียกว่า "ระบบสภาเดียว".

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและสภาล่าง · ดูเพิ่มเติม »

สภาสูง

"สภาสูง" (อังกฤษ: upper house) เป็นชื่อเรียกสภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง บางประเทศอาจมีสภานิติบัญญัติสองสภาประกอบกันเป็นรัฐสภา อีกสภาหนึ่งเรียก "สภาล่าง" ซึ่งบางประเทศอาจมีแต่สภาล่างทำหน้าที่สภานิติบัญญัติ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการกำหนดขององค์อธิปัตย์ในประเทศนั้น ๆ สำหรับประเทศไทยมีสองสภา สภาสูงเรียก วุฒิสภา สภาล่างเรียก สภาผู้แทนราษฎร ทั้งสองสภารวมกันเรียกว่า รั.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและสภาสูง · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาปฏิรูปแห่งชาติ

ปฏิรูปแห่งชาติ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 6 กันยายน พ.ศ. 2558) หรือ สป.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและสภาปฏิรูปแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย)

นิติบัญญัติแห่งชาติ ในประเทศไทย หมายถึง สภาที่ทำหน้าที่ออกกฎหมายแทนสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา เกิดขึ้นหลังจากคณะรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพลเรือนและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองหรือรัฐธรรมนูญชั่วคราวแทนรัฐธรรมนูญถาวร สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีลักษณะเป็นสภาเดี่ยวซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะรัฐประหาร ซึ่งรัฐธรรมนูญบางฉบับอาจกำหนดให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญอีกหน้าที่หนึ่ง จนถึงปัจจุบันประเทศไทยมีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังนี้.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (State Audit Office of the Kingdom of Thailand) หรือ สตง. (SAO) เป็นองค์กรอิสระ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) มีหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ การปฏิบัติงาน และการดำเนินการอื่น ที่เกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน ตรวจสอบการใช้งบประมาณของรัฐบาล โดยมี ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (Auditor General) เป็นหัวหน้าสำนักงาน.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

อัยการสูงสุด

อัยการสูงสุด (ในระบบคอมมอนลอว์ใช้ attorney general; ในระบบซีวิลลอว์ใช้ prosecutor general หรือ advocate general) เป็นผู้นำที่ปรึกษากฎหมายของรัฐบาล และในบางเขตอำนาจ มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย ดำเนินคดีอาญา และรับผิดชอบคดีความโดยทั่วไปด้วย ขอบเขตอำนาจหน้าที่ในทางปฏิบัติของอัยการสูงสุดนั้นมักต่างกันไปในแต่ละท้องที่ ในบางประเทศ อัยการสูงสุดมีความรับผิดชอบระดับรัฐมนตรีในกิจการทางกฎหมายโดยทั่วไป เช่น กรณีของอัยการสูงสุดสหรัฐ และอัยการสูงสุดออสเตรเลีย ในบางประเทศ ตำแหน่งอัยการสูงสุดเทียบเท่ารัฐมนตรียุติธรรม แต่เดิม ชื่อตำแหน่ง "attorney general" นี้ใช้เรียกบุคคลที่ได้รับมอบอำนาจทั่วไป (general power of attorney) ให้ปฏิบัติการแทนผู้อื่นในกิจการทั้งปวง ในประเพณีฝ่ายคอมมอนลอว์ บุคคลใดที่เป็นผู้แทนของรัฐ โดยเฉพาะในการดำเนินคดีอาญา จะนับว่าเป็น attorney general และในอดีต เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ได้รับมอบอำนาจทั่วไปเป็นการถาวรก็เรียก attorney general แต่คำนี้เคยใช้เรียกเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบอำนาจเฉพาะบางกรณีเช่นกัน ปัจจุบัน ในท้องที่ส่วนใหญ่ ชื่อตำแหน่ง attorney general นี้จำกัดไว้เฉพาะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งเป็นการถาวรให้เป็นผู้แทนโดยทั่วไปของรัฐ องค์อธิปัตย์ หรือสมาชิกราชวง.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและอัยการสูงสุด · ดูเพิ่มเติม »

อาคารรัฐสภาไทย

อาคารรัฐสภา เป็นสำนักของรัฐสภาไทย ใช้เป็นที่ประชุมร่วมกันหรือแยกกันของสภาผู้แทนราษฎรไทยและวุฒิสภาไทย ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา รวมตลอดถึงหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐสภาด้วย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 หลังการปฏิวัติสยามและประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฉบับแรก ผู้แทนราษฎรจำนวน 70 คนซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ได้ประกอบกันเป็นสภาผู้แทนราษฎรและประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรทั่วประเทศได้สำเร็จลง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้โปรดให้สภาผู้แทนราษฎรประชุมกันที่พระที่นั่งนี้ได้ต่อไป ครั้นจำนวนสมาชิกรัฐสภาเพิ่มขึ้นตามอัตราประชากรที่เพิ่มขึ้น และจำต้องมีที่ทำการของข้าราชการฝ่ายรัฐสภา จึงจำต้องสร้างอาคารรัฐสภาที่รับความต้องการดังกล่าวได้ ในการนี้ มีการวางโครงการสร้างอาคารรัฐสภาใหม่ถึงสี่ครั้ง แต่สามครั้งแรกไปไม่ตลอดรอดฝั่งเพราะคณะรัฐมนตรีซึ่งริเริ่มโครงการต้องพ้นจากตำแหน่งไปเสียก่อน ในครั้งที่สี่ เริ่มโครงการก่อสร้างเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2513 มีกำหนดสร้างเสร็จภายใน 850 วัน ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 51,027,360 บาท ประกอบด้วยอาคารหลัก 3 หลัง คือ.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและอาคารรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ตรวจการแผ่นดิน (ประเทศไทย)

ผู้ตรวจการแผ่นดิน (เดิมเรียกว่า ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา) คือ บุคคลที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากผู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือของประชาชน มีความรอบรู้และมีประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดิน วิสาหกิจ หรือกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ร่วมกันของสาธารณะ และมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจํานวนสามคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งได้รับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหาผู้ซึ่งได้รับการสรรหาต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินไม่ต่ํากว่าอธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เทียบเท่าหรือหัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่เทียบได้ไม่ต่ํากว่ากรมตามที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด โดยต้องดํารงตําแหน่งดังกล่าวเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปี จํานวนสองคน และเป็นผู้มีประสบการณ์ในการดําเนินกิจการอันเป็นสาธารณะมาแล้วไม่น้อยกว่ายี่สิบปี จํานวนหนึ่งคน ผู้ตรวจการแผ่นดินมีวาระการดํารงตําแหน่งเจ็ดปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ดํารงตําแหน่งได้เพียงวาระเดียว.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและผู้ตรวจการแผ่นดิน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)

ณะกรรมการการเลือกตั้ง (Election Commission of Thailand) หรือย่อว่า กกต. (ECT) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหน้าที่หลักเป็นผู้ควบคุมและดำเนินการจัดหรือจัดให้มีการเลือกตั้งหรือการสรรหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี รวมทั้งการออกเสียงประชามติ ให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้งมีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นสำนักงานเลขานุการ.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)

ณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (National Human Rights Commission) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นที่ประจักษ์ ทั้งนี้ โดยต้องคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้แทนจากองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนด้วย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการดำรงตำแหน่งหกปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว วาระละ 6 ปี โดยมีสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นหน่วยงานข้าราชการฝ่ายรัฐสภาสามัญทำหน้าที่ปฏิบัติราชการภายใต้อำนาจหน้าที่ ปัจจุบัน นาง ภิรมย์ ศรีประเสริฐ เป็น เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาต.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

ณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือ คตง. เป็นคณะกรรมการ ที่ก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ การตรวจเงินแผ่นดิน..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ย่อ: คณะกรรมการ ป.ป.ช.) (National Anti-Corruption Commission) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 256 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาการ

ตุลาการ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและตุลาการ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤศจิกายน

วันที่ 17 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 321 ของปี (วันที่ 322 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 44 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ17 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ18 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

19 กันยายน

วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ19 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

19 เมษายน

วันที่ 19 เมษายน เป็นวันที่ 109 ของปี (วันที่ 110 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 256 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ19 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ2 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มีนาคม

วันที่ 21 มีนาคม เป็นวันที่ 80 ของปี (วันที่ 81 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 285 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ21 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 เมษายน

วันที่ 22 เมษายน เป็นวันที่ 112 ของปี (วันที่ 113 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 253 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ22 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ23 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤษภาคม

วันที่ 24 พฤษภาคม เป็นวันที่ 144 ของปี (วันที่ 145 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 221 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ24 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ6 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วุฒิสภาไทยและ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พฤฒสภา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »