สารบัญ
238 ความสัมพันธ์: ชมรมคนรักอุดรชัย ราชวัตรชัยเกษม นิติสิริชาญวิทย์ เกษตรศิริชาวสกอตแลนด์ชาตรี ประกิตนนทการชุมพล จุลใสชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ชูเกียรติ รัตนชัยชาญพ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พรรคประชาธิปัตย์พรรคเพื่อไทยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหากษัตริย์พฤณท์ สุวรรณทัตพัน กี-มุนพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์พจมาน ณ ป้อมเพชรพีรพันธุ์ พาลุสุขพงศพัศ พงษ์เจริญพงศ์เทพ เทพกาญจนากฎอัยการศึกกรมทางหลวงกระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกสท โทรคมนาคมกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรกองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อยกองทัพไทยกันต์ พิมานทิพย์การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทยการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553การห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืนการุณ โหสกุลการทางพิเศษแห่งประเทศไทยการแยกใช้อำนาจการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557กิตติพงษ์ กิตยารักษ์กิตติรัตน์ ณ ระนองกิตติศักดิ์ ปรกติกปปส.ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยาภุชงค์ นุตราวงศ์มหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยลีดส์ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร... ขยายดัชนี (188 มากกว่า) »
- การประท้วงใน พ.ศ. 2557
- การประท้วงในประเทศไทย
- ประวัติศาสตร์การเมืองไทย
- ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2556
- ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2557
ชมรมคนรักอุดร
ตราสัญลักษณ์ของชมรม ชมรมคนรักอุดร เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมือง ของผู้สนับสนุน พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ต่อต้านการรัฐประหาร พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และพรรคประชาธิปัตย์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และชมรมคนรักอุดร
ชัย ราชวัตร
การ์ตูนล้อการเมือง ชุด ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตีพิมพ์ในไทยรัฐ ผลงานที่สร้างชื่อให้แก่ชัย ราชวัตร ชัย ราชวัตร เป็นนามปากกาของ นักวาดการ์ตูนชาวไทย มีผลงานเป็นที่รู้จักกันคือ ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน โดย เป็นการ์ตูนรายวันตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ มีบทบาทเป็นนักเขียนในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และชัย ราชวัตร
ชัยเกษม นิติสิริ
ตราจารย์พิเศษ ชัยเกษม นิติสิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอัยการสูงสุด อดีตอัยการอาวุโส (ที่ปรึกษาอัยการสูงสุด) สำนักงานอัยการสูงสุด ประธานกรรมการ คณะกรรมการกำกับตลาดหลักทรัพย์หลักประเทศไทย ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อความยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) กรรมการและประธานกรรมการบริหารธนาคารอาคารสงเคราะห์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยเนชั่น กรรมการสภามหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น กรรมการสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)อดีตกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย อดีตกรรมการบริษัทปตท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และชัยเกษม นิติสิริ
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
ตราจารย์พิเศษ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ผู้สนใจศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยและประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 เคยเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และชาญวิทย์ เกษตรศิริ
ชาวสกอตแลนด์
--> |region5.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และชาวสกอตแลนด์
ชาตรี ประกิตนนทการ
รองศาตราจารย์ ชาตรี ประกิตนนทการ รองศาตราจารย์ประจำภาควิชาศิลปสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มีความสนใจทางวิชาการในประเด็น ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมไทย และการอนุรักษ์และพัฒนา ชาตรีสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีด้านสถาปัตยกรรมไทยจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จากนั้นจึงศึกษาต่อระดับปริญญาโทด้านสถาปัตยกรรมที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทได้รับการปรับปรุงและตีพิมพ์เป็นหนังสือชื่อ การเมืองและสังคมในศิลปสถาปัตยกรรม: สยามสมัย ไทยประยุกต์ ชาตินิยม นอกจากนี้ เขายังมีผลงานวิจัย หนังสือ และบทความวิชาการตีพิมพ์อย่างต่อเนื่อง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และชาตรี ประกิตนนทการ
ชุมพล จุลใส
นายชุมพล จุลใส สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 2 สมั.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และชุมพล จุลใส
ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์
ูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ หรือนามแฝงว่า Davis Kamol (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 เยาวราช) เป็นอดีตนักการเมืองชาวไทย อดีตหัวหน้าพรรค และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อพรรครักประเทศไทย อดีตสมาชิกพรรคสู้เพื่อไทย และอดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์
ชูเกียรติ รัตนชัยชาญ
ูเกียรติ รัตนชัยชาญ (8 ธันวาคม พ.ศ. 2498 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) อดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตโฆษกกรรมาธิการต่างประเทศ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทยและกรรมการในคณะกรรมการองค์การสวนสัตว์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหารระดับสูง) อดีตกรรมการในคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา และกรรมการในศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และชูเกียรติ รัตนชัยชาญ
พ.ศ. 2556
ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพ.ศ. 2557
พรรคประชาธิปัตย์
รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพรรคประชาธิปัตย์
พรรคเพื่อไทย
รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพรรคเพื่อไทย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระมหากษัตริย์
กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพระมหากษัตริย์
พฤณท์ สุวรรณทัต
ลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ชุดที่ 3 อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และเป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพฤณท์ สุวรรณทัต
พัน กี-มุน
ัน กี-มุน (Ban Ki-moon;; เกิด 13 มิถุนายน พ.ศ. 2487) เป็นอดีตเลขาธิการสหประชาชาติ คนที่ 8 ต่อจากโคฟี แอนนัน โดยได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพัน กี-มุน
พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์
นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์
พจมาน ณ ป้อมเพชร
ณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร (สกุลเดิม: ดามาพงศ์; เกิด: 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499) เป็นอดีตภริยาของ ดร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพจมาน ณ ป้อมเพชร
พีรพันธุ์ พาลุสุข
ีรพันธุ์ พาลุสุข (10 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 30 เมษายน พ.ศ. 2557) อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพีรพันธุ์ พาลุสุข
พงศพัศ พงษ์เจริญ
ลตำรวจเอก พงศพัศ พงษ์เจริญ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์ อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) และประธานคณะอนุกรรมการ กลั่นกรองการกระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ ในเขตกรุงเทพมหานคร, อดีตที่ปรึกษาสัญญาบัตร 10 (สบ 10) ฝ่ายความมั่นคงและกิจการพิเศษ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, อดีตโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นผู้แทนพรรคเพื่อไทย ในการลงสมัครเข้ารับการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพงศพัศ พงษ์เจริญ
พงศ์เทพ เทพกาญจนา
งศ์เทพ เทพกาญจนา อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และพงศ์เทพ เทพกาญจนา
กฎอัยการศึก
กฎอัยการศึก (martial law) เป็นกฎหมายซึ่งได้ตราขึ้นไว้สำหรับประกาศใช้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล ในเขตที่ประกาศใช้กฎอัยการศึก เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ์ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน กฎอัยการศึกมักกำหนดเป็นการชั่วคราวเมื่อรัฐบาลหรือข้าราชการพลเรือนไม่อาจทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ในการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคง หรือให้บริการที่สำคัญ ในกฎอัยการศึกเต็มขั้น นายทหารยศสูงสุดจะยึด หรือได้รับแต่งตั้ง เป็นผู้ว่าการทหารหรือเป็นหัวหน้ารัฐบาล ฉะนั้น จึงเป็นการถอดอำนาจทั้งหมดทั้งฝ่ายนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการของรัฐบาล กฎอัยการศึกเป็นกฎหมายที่มีอยู่ในเวลาปกติ แต่ไม่ได้ใช้บังคับ โดยเมื่อจะใช้บังคับจะต้องประกาศ และกำหนดเขตพื้นที่ที่จะใช้บังคับ ในหลายประเทศจะไม่มีการตราเป็นกฎหมายชัดเจน เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ในบางประเทศจะตราเป็นกฎหมายชัดเจน เช่น ฝรั่งเศส ไทย รัฐบาลอาจใช้กฎอัยการศึกเพื่อควบคุมสาธารณะ เหตุการณ์นี้อาจเกิดขึ้นหลังรัฐประหาร (เช่น ประเทศไทยใน พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกฎอัยการศึก
กรมทางหลวง
กรมทางหลวง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินการก่อสร้าง ควบคุม บูรณะ และบำรุงรักษาทางหลวง ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัยในทางหลวงทั่วประเทศ เอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ความมั่นคง และการป้องกันประเท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกรมทางหลวง
กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)
กระทรวงกลาโหม (Ministry of Defence) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ป้องกันประเทศ เพิ่มขีดความสามารถ และรักษาผลประโยชน์ของชาติ สร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศในกลุ่มอาเซียน และมิตรประเทศ เพื่อลดความหวาดระแวงสร้างสันติภาพ ให้ความสำคัญในการตอบสนองนโยบายเร่งด่วนของคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการของกระทรวงกลาโหม ตลอดจนภารกิจอื่นตามที่ได้รับมอบหมายเป็นการเฉพาะ และมีหน้าที่พิทักษ์รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งในฐานะที่พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ และทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการตามพระราชประสง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)
กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)
กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกรุงเทพมหานคร
กสท โทรคมนาคม
ริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (CAT Telecom Public Company Limited) เป็นรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในรูปบริษัทมหาชน ที่มาจากการแปรรูป ส่วนกิจการโทรคมนาคม ของการสื่อสารแห่งประเทศไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกสท โทรคมนาคม
กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หรือ กอ.รมน. (อังกฤษ: Internal Security Operations Command) เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานกลาง เพื่อต่อต้านภัยคุกคามที่มุ่งทำลายผลประโยชน์และความมั่นคงของชาติ มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (ผอ.รมน.) โดยตำแหน่ง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
กองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย
กองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (Peace and Order Maintaining Command) หรือ กอ.ร. (POMC) เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งตามประกาศกองทัพบก ฉบับที่ 2/2557 หลังจากประกาศกองทัพบกฉบับที่ 1/2557 บังคับใช้พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก โดยตั้งกองบัญชาการขึ้นที่กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ ซึ่งดำรงหน่วยอยู่เพียงสองวัน ก็สิ้นสุดลงโดยอัตโนมัติ เมื่อประกาศรัฐประหารโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย
กองทัพไทย
กองทัพไทย (Royal Thai Armed Forces) เป็นกองทัพของราชอาณาจักรไทย แบ่งเป็นสามเหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอาก.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกองทัพไทย
กันต์ พิมานทิพย์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กันต์ พิมานทิพย์ แกนนำคณะรัฐบุคคล, อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ และรองผู้บัญชาการทหารสูง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกันต์ พิมานทิพย์
การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553
กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม กลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์ วันที่ 3 เมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมที่เซ็นทรัลเวิลด์ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาต..
การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย
การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย คือ การทำให้ความเป็นสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยสิ้นสุดลง โดยนายกรัฐมนตรีเสนอให้พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร อันเป็นผลให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งปวงพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ ทั้งนี้ เพื่อจัดการเลือกตั้งใหม่ การยุบสภาเป็นมาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ทำให้มีการคานอำนาจกันระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร อาจนำมาใช้แก้ปัญหาทางตันทางการเมือง นอกจากทางอื่น เช่น รัฐบาลลาออก อนึ่ง เหตุผลในการยุบสภานั้น หาได้มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดบัญญัติไว้ไม่ ดังนี้ จึงเป็นไปตามประเพณีการปกครองตลอดจนสภาวการณ์ของประเทศในขณะนั้น อาทิ เกิดความขัดแย้งรุนแรงในรัฐสภาหรือระหว่างพรรคร่วมรัฐบาล การใช้เป็นเครื่องมือในการชิงความได้เปรียบทางการเมือง เช่น ขณะที่ตนมีคะแนนนิยมสูงมาก การที่สภาวการณ์ต่าง ๆ สุกงอมพอสมควรที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งก่อนครบอายุสภา เช่น ดำเนินการตามรัฐธรรมนูญได้เสร็จสิ้นแล้ว.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และการยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย
การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553
การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 7-19 พฤษภาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553
การห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน
การห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน หรือ เคอร์ฟิว (couvre feu, curfew) หมายถึง คำสั่งของรัฐบาลให้ประชาชนกลับเคหสถานก่อนเวลาที่กำหนด อีกนัยหนึ่งคือการห้ามประชาชนออกจากเคหสถานภายในระยะเวลาที่กำหนด (มักเป็นเวลากลางคืน) ซึ่งเป็นการกำหนดขึ้นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย หรือให้ความสะดวกต่อการปราบปรามกลุ่มเป้าหมาย คำว่า "เคอร์ฟิว" (curfew) ในภาษาอังกฤษ มาจากคำในภาษาฝรั่งเศสว่า couvre feu แปลว่า ดับไฟ (couvre.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และการห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน
การุณ โหสกุล
การุณ โหสกุล (4 ธันวาคม พ.ศ. 2510 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 12 สังกัดพรรคเพื่อไทย ประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผู้แทนราษฎร อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และการุณ โหสกุล
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: กทพ.; EXAT) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ก่อตั้งขึ้นตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
การแยกใช้อำนาจ
การแยกใช้อำนาจ เป็นแบบจำลองวิธีการปกครองรัฐ มีขึ้นครั้งแรกในกรีซโบราณ ภายใต้แบบจำลองนี้ รัฐแบ่งออกเป็นอำนาจต่าง ๆ ซึ่งแต่ละอำนาจมีอำนาจแยกเป็นเอกเทศต่อกัน และมีขอบเขตความรับผิดชอบต่างกัน เพื่อที่อำนาจของอำนาจหนึ่งจะไม่ไปขัดกับอำนาจที่สัมพันธ์กับอีกอำนาจหนึ่ง การแยกใช้อำนาจนี้ปกติแบ่งเป็นอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ หมวดหมู่:กฎหมายรัฐธรรมนูญ หมวดหมู่:ปรัชญากฎหมาย หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเมือง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และการแยกใช้อำนาจ
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
กิตติพงษ์ กิตยารักษ์
ตราจารย์พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ (13 กันยายน พ.ศ. 2501-) ผู้อำนวยการสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหารระดับสูง) สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่ายข้าราชการประจำhttp://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกิตติพงษ์ กิตยารักษ์
กิตติรัตน์ ณ ระนอง
กิตติรัตน์ ณ ระนอง เป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยชินวัตร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกิตติรัตน์ ณ ระนอง
กิตติศักดิ์ ปรกติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กิตติศักดิ์ ปรกติ (เกิด 7 ธันวาคม 2499) เป็นข้าราชการชาวไทย และเป็นอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ความเห็นแปลก.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกิตติศักดิ์ ปรกติ
กปปส.
กปป. มีชื่อเต็มว่า คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ ชื่อเดิม คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า People's Democratic Reform Committee, แปลตามตัวอักษร คณะกรรมการประชาชนปฏิรูปประชาธิปไตย, ย่อ: PDRC) เป็นกลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทย โดยมุ่งหมายขจัดอิทธิพลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี จากการเมืองไทย และการจัดตั้งสภาประชาชนที่มิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อควบคุมการปฏิรูปการเมือง กลุ่มดังกล่าวมีบทบาทสูงในวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และกปปส.
ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา
ลตำรวจเอก ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง)รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง อดีตที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตว่าที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค5 อดีตกรรมการ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) อดีตที่ปรึกษาสัญญาบัตร 10 (สบ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา
ภุชงค์ นุตราวงศ์
งค์ นุตราวงศ์ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.) และอดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง ด้านกิจการการมีส่วนร่วม (พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และภุชงค์ นุตราวงศ์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และมหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยลีดส์
มหาวิทยาลัยลีดส์ (The University of Leeds) เป็นมหาวิทยาลัยสำคัญของเมืองลีดส์ในแคว้นยอร์คไชร์ตะวันตก นับเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร มีนักศึกษาทั้งสิ้นมากกว่า 32,000 คน และได้รับการจัดอันดับเป็นหนึ่งในสิบของมหาวิทยาลัยในประเทศอังกฤษที่ได้รับเงินทุนอุดหนุนการวิจัยมากที่สุด มหาวิทยาลัยลีดส์ตั้งขึ้นเมื่อปี..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และมหาวิทยาลัยลีดส์
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ยุทธศักดิ์ ศศิประภา
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ประธานสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลทักษิณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม โดยสื่อมวลชนมักเรียกว่า "บิ๊กอ็อด".
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และยุทธศักดิ์ ศศิประภา
ระบบสองสภา
ระบบสองสภา (อังกฤษ: bicameralism -bi + Latin camera หรือ chamber) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติสององค์หรือมีรัฐสภาสองสภา ดังนั้น ระบบสองสภา หรือ สององค์นิติบัญญัติจึงประกอบด้วย 2 องค์ประชุมคือสภาสูงและสภาล่าง ระบบสองสภานับเป็นหัวใจสำคัญของรูปแบบคลาสสิกของรัฐบาลผสม องค์นิติบัญญัติแบบสองสภาจึงจำเป็นต้องมีเสียงข้างมากในการผ่านกฎหม.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และระบบสองสภา
ระบอบทักษิณ
ระบอบทักษิณ (Thaksinocracy) เป็นคำที่นักวิชาการด้านสังคมศาสตร์และรัฐศาสตร์บางส่วนนิยามการปกครองประเทศไทยในสมัยที่ ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีพื้นฐานเป็นประชานิยม มีคนยากจนจำนวนมากได้ประโยชน์จากนโยบายต่าง ๆ นำไปสู่ความนิยมจนเป็นฐานเสียงในการเลือกตั้ง ทำให้ได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งทุกครั้ง จนสามารถบริหารประเทศได้ด้วยเสียงของพรรคเดียว บ้างก็เรียกแบบการปกครองนี้ว่า "ทักษิณาธิปไตย" "ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก" และ "ระบอบสมบูรณาญาสิทธิ์จากการเลือกตั้ง" ซึ่งบางส่วนมาจากคำจำกัดความของระบอบทักษิณ ซึ่งได้เป็นการเพิ่มความชอบธรรมให้กับการขับไล่ทักษิณ ชินวัตรให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีที่เกิดขึ้นระหว่าง..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และระบอบทักษิณ
รัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดี
กิดเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 ที่ บ้านหนองเขื่อนข้าง ตำบลหนองยาว อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี โดยมีชื่อเดิมว่า หรือ และต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อและนามสกุลใหม่ เป็น จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนสระบุรีวิทยาคม เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนวัดราชาธิวาส กรุงเทพฯ จากนั้นได้เข้าสู่ขบวนการนักศึกษา จากการขอสมัครเป็นเป็นผู้ปฏิบัติงานของศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่ตึกสันทนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือเป็นหนึ่งในคนเดือนตุลา ที่มีบทบาทสำคัญ โดยก่อนหน้านั้นเป็นเลขาธิการศูนย์กลางนักเรียนในปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดี
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย
รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่ว.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย
รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทย
รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทย
รัฐสภา
ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรัฐสภา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 จัดร่างโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองหลังรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 18 ซึ่งจัดร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ในระหว่าง..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐประหาร
รัฐประหาร (coup d'état กูเดตา) เป็นการใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างฉับพลันและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปกติเกิดจากสถาบันของรัฐที่มีอยู่เดิมขนาดเล็กเพื่อโค่นรัฐบาลซึ่งเป็นที่ยอมรับแล้วเปลี่ยนเป็นองค์การปกครองใหม่ ไม่ว่าเป็นพลเรือนหรือทหาร รัฐประหารพิจารณาว่าสำเร็จแล้วเมื่อผู้ยึดอำนาจสถาปนาภาวะครอบงำ รัฐประหารไม่จำเป็นต้องเกิดความรุนแรงหรือเสียเลือดเนื้อ ศาลฎีกาตีความว่า รัฐประหารมิได้ขัดต่อกฎหมาย เพราะ "กฎหมายคือคำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์".
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรัฐประหาร
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
รัฐประหารในประเทศไท..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557
รัฐประหารในประเทศไท..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557
รังสิมา รอดรัศมี
นางสาวรังสิมา รอดรัศมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรังสิมา รอดรัศมี
ราชกิจจานุเบกษา
ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และราชกิจจานุเบกษา
ราชมังคลากีฬาสถาน
อัฒจันทร์ฝั่งป้ายไฟแสดงคะแนน อัฒจันทร์ฝั่งกระถางคบเพลิง ศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัยชั่วคราว (ตุลาคม พ.ศ. 2554) ราชมังคลากีฬาสถาน (Rajamangala National Stadium) เป็นสนามกีฬาขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยเป็นสนามกลางหรือสนามหลัก (Main Stadium) ภายในสนามกีฬาหัวหมาก ของการกีฬาแห่งประเทศไทย สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530 และ พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และราชมังคลากีฬาสถาน
รายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย
รายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย
รายนามปลัดกระทรวงคมนาคมแห่งราชอาณาจักรไทย
รายนามปลัดกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย).
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรายนามปลัดกระทรวงคมนาคมแห่งราชอาณาจักรไทย
รายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย
ลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง สังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เริ่มแต่งตั้งเมื่อปี..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย
ลานพระราชวังดุสิต
ระบรมรูปทรงม้า ภาพถ่ายประมาณ สมัยรัชกาลที่ 6 พระบรมรูปทรงม้า และ ลานพระราชวังดุสิต ในปัจจุบัน ภาพน้ำท่วมเมื่อปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และลานพระราชวังดุสิต
ลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์
นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ที่เป็นสตรีคนแรกของประเทศไทยในคณะรัฐบาลของนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตผู้ประกาศข่าวช่อง 11.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์
วรชัย เหมะ
นายวรชัย เหมะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และวรชัย เหมะ
วราเทพ รัตนากร
ร.วราเทพ รัตนากร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 สมัยจากจังหวัดกำแพงเพชรและแบบบัญชีรายชื่อตามลำดับ อดีตแกนนำ..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และวราเทพ รัตนากร
วรเจตน์ ภาคีรัตน์
ตราจารย์ วรเจตน์ ภาคีรัตน์ (เกิด 23 สิงหาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักนิติศาสตร์ชาวไทย เป็นอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นอาจารย์พิเศษในสถาบันการศึกษาอื่นอีกหลายแห่ง มีชื่อเสียงจากการร่วมก่อตั้งคณะนิติราษฎร์ที่เสนอแนะการปรับปรุงสังคมในหลายด้าน โดยเฉพาะการต่อต้านอุปสรรคในการพัฒนาประชาธิปไตย แต่เนื่องจากมีผู้ไม่เห็นด้วย จึงมีการต่อต้านวรเจตน์กับเพื่อนหลายครั้ง คราวร้ายแรงที่สุด มีผู้ทำร้ายร่างกายเขาจนบาดเจ็บ มติชนออนไลน์ ให้วรเจตน์กับเพื่อนคณะนิติราษฎร์เป็นบุคคลผู้ทรงอิทธิพลแห่งปี 2553 ในสาขาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีมติให้เขาเป็นศาสตราจารย์ในเดือนสิงหาคม 2557.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และวรเจตน์ ภาคีรัตน์
วอยซ์ทีวี
วอยซ์ ทีวี (Voice TV) เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทบริการธุรกิจระดับชาติ หมวดหมู่ข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน ออกอากาศทางช่องหมายเลข 21 ร่วมกับการแพร่ภาพผ่านระบบดาวเทียม, เครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล, อินเทอร์เน็ตในเว็บไซต์ และแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทฉลาด (smart phone), www.voicetv.co.th เริ่มทดลองออกอากาศเป็นครั้งแรก ผ่านระบบดาวเทียมดีทีวี ของบริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และวอยซ์ทีวี
วิบูลย์ สงวนพงศ์
นายกองเอก วิบูลย์ สงวนพงศ์ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีต ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด และอดีตอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในรัฐบาล อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ระหว่างวันที่ 5 ตุลาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และวิบูลย์ สงวนพงศ์
วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553
วิกฤตการณ์การเมืองไท..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553
วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557
วิกฤตการณ์การเมืองไท..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557
วิทยา แก้วภราดัย
นายวิทยา แก้วภราดัย (5 มกราคม 2498 -; ชื่อเล่น: น้อย) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตประธานวิปรัฐบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ แล..นครศรีธรรมราช หลายสมัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขานิติศาสตรบัณฑิต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขณะเรียนปี 4 นายวิทยาเป็นหนึ่งในนิสิตที่เข้าร่วมการชุมนุมที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้รับบาดเจ็บถูกยิงที่ขาในเหตุการณ์ 6 ตุล..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และวิทยา แก้วภราดัย
วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี
ลตำรวจเอก วิเชียร์ พจน์โพธิ์ศรี อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม และอดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และวิเชียร พจน์โพธิ์ศรี
วุฒิสภาไทย
วุฒิสภาไทย หรือเดิมมีชื่อว่า "พฤฒสภา" เป็นวุฒิสภาของประเทศไทย โดยเป็นสภาสูงในรัฐสภาไทยคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่าง วุฒิสภาไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และวุฒิสภาไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)
ลรัฐธรรมนูญ (ย่อ: ศร.) เป็นองค์กรตุลาการที่จัดตั้งขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แทนคณะตุลาการรัฐธรรมนูญที่ยุบเลิกไป และมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)
ศาลปกครอง (ประเทศไทย)
ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง http://www.admincourt.go.th/admincourt/site/01sign.html ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง ศาลปกครอง (Administrative Court) เป็นศาลที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 276 และมีการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และศาลปกครอง (ประเทศไทย)
ศาสตราจารย์
ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และศาสตราจารย์
ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์
นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีต..พิจิตร มีชื่อเล่นว่า "ยอด" หรือ "ลูกยอด" เกิดวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์
ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน
ูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (Centre for Resolution of Emergency Situation) หรือเรียกโดยย่อว่า ศอฉ. (CRES) เป็นหน่วยงานพิเศษของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน
ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)
ูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) (Thai-Japan Bangkok Youth Center) หรือที่นิยมเรียกว่า สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ซึ่งก่อตั้งขึ้นจากความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลญี่ปุ่น เนื่องในโอกาสที่ประเทศไทยจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อเวลา 16:45 นาฬิกา ของวันเสาร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)
สกลธี ภัททิยกุล
กลธี ภัททิยกุล รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 4 พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรชายของพลเอกวินัย ภัททิยกุล อดีตเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.).
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสกลธี ภัททิยกุล
สภานิติบัญญัติ
นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสภานิติบัญญัติ
สมชัย ศรีสุทธิยากร
รองศาสตราจารย์สมชัย ศรีสุทธิยากร (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นอดีตข้าราชการบำนาญมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) และอดีตกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ด้านกิจการบริหารจัดการเลือกตั้ง สมชัยถูกถอดจากตำแหน่ง กกต.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสมชัย ศรีสุทธิยากร
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์
ตราจารย์ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (17 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์นายกสภามหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และอดีตเลขาธิการพรรคไท เมื่อปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสมบัติ ธำรงธัญวงศ์
สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง
ลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง (27 ธันวาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 17 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ คนที่ 10 ของประเทศไทย อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง
สมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์
นายสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์
สมศักดิ์ โกศัยสุข
นายสมศักดิ์ โกศัยสุข เกิดเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2488 ที่ตำบลควนเกย อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นอดีตหนึ่งในแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคการเมืองใหม่ (กมม.) เป็นผู้ที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นผู้นำสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) ปัจจุบันเป็นหัวหน้าพรรคพรรคสังคมประชาธิปไตยไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสมศักดิ์ โกศัยสุข
สมคิด บาลไธสง
นายสมคิด บาลไธสง อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย พรรคเพื่อไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสมคิด บาลไธสง
สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์
'''ผศ.สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า อาจารย์สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
สวนลุมพินี
วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสวนลุมพินี
สหราชอาณาจักร
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสหราชอาณาจักร
สะพานชมัยมรุเชฐ
นชมัยมรุเชฐ สะพานชมัยมรุเชฐ เป็นสะพานข้ามคลองเปรมประชากร อยู่บนถนนพิษณุโลกบริเวณแยกพาณิชยการจุดจัดกับถนนพระรามที่ 5 แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าทำเนียบรัฐบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โรงเรียนราชวินิต มัธยม และใกล้เคียงกับวัดเบญจมบพิตร สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสะพานชมัยมรุเชฐ
สันติ พร้อมพัฒน์
ันติ พร้อมพัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทยแบบบัญชีรายชื่อ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสันติ พร้อมพัฒน์
สาวิทย์ แก้วหวาน
วิทย์ แก้วหวาน นายสาวิทย์ แก้วหวาน เกิดเมื่อ 3 พฤษภาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสาวิทย์ แก้วหวาน
สาธิต เซกัล
นายสาธิต เซกัล (सतीश सहगल; Satish Sehgal; เกิด 14 เมษายน —) เป็นนักธุรกิจสิ่งพิมพ์ชาวอินเดีย ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย เคยดำรงตำแหน่งประธานหอการค้าอินเดีย-ไทย หอการค้าไทย-อิสราเอล และประธานสมาคมนักธุรกิจอินเดีย-ไทย นายเซกัลเกิดที่เมืองเดลี ประเทศอินเดีย เข้ามาใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่อายุ 5 ปี ครอบครัวเป็นชาวไทยฮินดูเชื้อสายอินเดียจากรัฐปัญจาบและเคยใช้ชีวิตอยู่ที่จังหวัดอุบลราชธานีมาก่อน โดยสามารถพูดภาษาอีสานได้อย่างคล่องแคล่ว จบการศึกษาจากวิทยาลัย Hans Raj มหาวิทยาลัยเดลี เคยทำงานที่หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ก่อนจะมาเปิดธุรกิจนิตยสารภาษาอังกฤษเป็นของตัวเอง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสาธิต เซกัล
สาทิตย์ วงศ์หนองเตย
ทิตย์ วงศ์หนองเตย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังหลายสมั.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
สำราญ รอดเพชร
นายสำราญ รอดเพชร (30 กันยายน พ.ศ. 2499; ที่อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช; ชื่อเล่น: อ๊อด) สื่อมวลชนอิสระ, อดีตแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) รุ่นที่ 2 และแนวร่วมกปปส.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสำราญ รอดเพชร
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ำนักงานตำรวจแห่งชาติ อาจหมายถึง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)
ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีอำนาจหน้าที่ไม่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบการบริหารราชการทั่วไป เสนอแนะนโยบายและการวางแผนการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมั่นคง และราชการเกี่ยวกับการงบประมาณ ระบบราชการ การบริหารงานบุคคล กฎหมายและการพัฒนากฎหมาย การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ การส่งเสริมการลงทุน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การปฏิบัติภารกิจพิเศษและราชการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ ของสำนักนายกรัฐมนตรีหรือส่วนราชการที่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือที่มิได้อยู่ภายในอำนาจหน้าที่ของกระทรวงใดโดยเฉ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)
สุพจน์ ไข่มุกด์
น์ ไข่มุกด์ (เกิด 1 กันยายน พ.ศ. 2488) รองประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญคนที่หนึ่ง อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ยกร่าง พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุพจน์ ไข่มุกด์
สุภรณ์ อัตถาวงศ์
นายสุภรณ์ อัตถาวงศ์ หรือ สุภรณ์ อัตถาวงศ์ (แรมโบ้อีสาน) อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันเป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.).
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุภรณ์ อัตถาวงศ์
สุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์
รชัย ด่านวัฒนานุสรณ์ มีชื่อเดิมว่า สุรชัย แซ่ด่าน เป็นนักเคลื่อนไหว และอดีตนักโทษการเมืองคดีคอมมิวนิสต์คนสุดท้ายของประเทศไทย เป็นอดีตคณะทำงานพรรคไทยรักไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มแดง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์
สุรชาติ บำรุงสุข
ตราจารย์ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางด้านยุทธศาสตร์ การรบ และสงคราม ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุรชาติ บำรุงสุข
สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
รพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย อดีตประธานกรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎร อดีตประธานที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
สุริยะใส กตะศิลา
ริยะใส กตะศิลา เป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, และเป็นผู้อำนวยการสถาบันปฏิรูปประเทศไทย ในระหว่างปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุริยะใส กตะศิลา
สุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ
นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีและประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตเลขานุการศูนย์บัญชาการติดตามสถานการณ์ ประธานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการและประธานกรรมการคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 159/2557ประธานคณะกรรมการประสานงาน รวม 3 ฝ่าย (คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ) ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 336/2558ประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติประธานกรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นกรรมการในศูนย์รักษาความสงบแห่งชาติ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ
สุวิทย์ ทองประเสริฐ
วิทย์ ทองประเสริฐ หรือที่รู้จักในนามว่า อดีตพระพุทธะอิสระ หรือ อดีตหลวงปู่พุทธะอิสระ อดีตเจ้าอาวาสวัดอ้อน้อย อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุวิทย์ ทองประเสริฐ
สุณิสา เลิศภควัต
ร้อยโทหญิง สุณิสา เลิศภควัตหรือ สุณิสา ทิวากรดำรง (ชื่อเล่น เจิ๊ยบ) อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตทหารประจำศูนย์ปฏิบัติการกองทัพบก อดีตนักจัดรายการวิทยุและผู้สื่อข่าวสายทหาร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุณิสา เลิศภควัต
สุเทพ เทือกสุบรรณ
ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุเทพ เทือกสุบรรณ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (สพบ.) (National Institute of Development Administration) หรือ ที่นิยมเรียกกันว่า นิด้า (NIDA) เป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงของรัฐ เปิดสอนเฉพาะระดับมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) และดุษฎีบัณฑิต (ปริญญาเอก) และถือเป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดการสอนหลักสูตร MBA เป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยคณะบริหารธุรกิจของนิด้าได้รับการจัดอยู่ในอันดับต้นของทวีปเอเชียอยู่สม่ำเสมอจากสื่อชั้นนำระดับนานาชาติ ประกอบกับเป็นสถาบันที่มีอัตราส่วนอาจารย์ระดับปริญญาเอกต่อจำนวนนักศึกษาที่สูงที่สุดในประเทศไทย และสัดส่วนอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงที่สุดในประเทศไทย รวมไปถึงยังได้รับคะแนนการประเมินการดำเนินงานจากหลากหลายองค์กรในระดับสูงที่สุดในประเทศไทย บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสถาบันรวมถึงคณาจารย์และศิษย์เก่ามีหลากหลาย ซึ่งรวมถึงบุคคลสำคัญในด้านการเมืองการปกครองและภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นนายกรัฐมนตรี, รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ, สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ และข้าราชการระดับสูง รวมถึงเจ้าของธุรกิจขนาดใหญ่ ของประเทศไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สถานการณ์ฉุกเฉิน
นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสถานการณ์ฉุกเฉิน
สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
นีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือเรียกว่า หมอชิตใหม่ หรือที่เรียกกันติดปากว่า หมอชิต 2 ตั้งอยู่บนถนนกำแพงเพชร 2 แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งมีบริการรถโดยสารปรับอากาศสำหรับเดินทางไป ภาคเหนือ, ภาคกลาง, ภาคตะวันออก, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้บางเส้นทาง สถานที่ใกล้เคียงสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) ได้แก่ กรมการขนส่งทางบก, สวนจตุจักร, ตลาดนัดจตุจักร, เจเจมอลล์, พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพฯ, สถานีกลางบางซื่อ (กำลังก่อสร้าง).
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
สดศรี สัตยธรรม
นางสดศรี สัตยธรรม อดีตกรรมการการเลือกตั้ง รับผิดชอบงานด้านกิจการพรรคการเมือง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา เกิดเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสดศรี สัตยธรรม
หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล
ลตรี หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล (22 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 25 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล
หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 – 13 เมษายน พ.ศ. 2559) อดีตประธานศาลปกครองสูงสุด อดีตตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด อดีตรองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอาจารย์พิเศษ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร อดีตอาจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ เคยเป็นกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ รวมทั้งเป็นกรรมการร่วมยกร่างกฎหมายเกี่ยวกับวิธีพิจารณาทางปกครอง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อรรถชัย อนันตเมฆ
อรรถชัย อนันตเมฆ เกิดเมื่อวันที่ (22 เมษายน พ.ศ. 2508 -) ที่จังหวัดนราธิวาส จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์ดอมินิกรุ่นที่ 15 และภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอรรถชัย อนันตเมฆ
ออนไลน์และออฟไลน์
ออนไลน์ (Online, on-line) และ ออฟไลน์ (Offline, off-line) เป็นคำศัพท์ในวงการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม ออนไลน์แสดงถึงสถานะของการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายใด ๆ และออฟไลน์แสดงถึงสถานะของการไม่เชื่อมต่อ ในความหมายปกติทั่วไป ออนไลน์อาจหมายถึงการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตหรือเวิลด์ไวด์เว็.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และออนไลน์และออฟไลน์
อัญชะลี ไพรีรัก
อัญชะลี ไพรีรัก อัญชะลี ไพรีรัก เดิมชื่อ อัญชลี ไพรีรัก ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็น "อัญชะลี" เมื่อ..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอัญชะลี ไพรีรัก
อัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาล
ันตำรวจโทหญิง แพทย์หญิงอัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาล หรือ หมอแอร์ อดีตรองโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โฆษกศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และแพทย์ประจำกลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด โรงพยาบาลตำรวจ เป็นนักแสดง พิธีกรรายการโทรทัศน.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาล
อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ
ระมหากษัตริย์เป็นผลสำเร็จ • ล่าง: จอร์จ วอชิงตัน (George Washington) ลงชื่อในรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาท่ามกลางสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ
อิสสระ สมชัย
อิสสระ สมชัย (เกิด 16 ธันวาคม พ.ศ. 2489) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (ดูแลพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีและแบบบัญชีรายชื่อ หลายสมัย และมีบุตรสาวที่เป็นนักการเมืองคือ นางสาวบุญย์ธิดา สมชัย อดีต..อุบลราชธานี.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอิสสระ สมชัย
อินสตาแกรม
อินสตาแกรม เป็นโปรแกรมแบ่งปันรูปภาพและคลิปวิดีโอสั้น ๆ ถูกคิดค้นขึ้นมาในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 ผู้ใช้งานสามารถถ่ายรูปและตกแต่งรูปภาพได้ตามใจต้องการ และแบ่งปันผ่าน โซเชียลเน็ตเวิร์กโดยการตกแต่งรูปนั้นจะเน้นในแนวย้อนยุค หรือกล้องโพลารอยด์ ซึ่งมีอัตราส่วนของรูปภาพอยู่ที่ 4:3 ในช่วงแรก อินสตาแกรมรองรับการใช้งานบน ไอโฟน, ไอแพด และ ไอพอดทัช ต่อมาในเดือนเมษายน พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอินสตาแกรม
อดุลย์ แสงสิงแก้ว
ลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งประธานคณะกรรมการควบคุมการขอทาน กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ คนที่ 9,รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติฝ่ายกิจการพิเศษ, อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอดุลย์ แสงสิงแก้ว
องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย
องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (Thai Public Broadcasting Service) หรือเรียกโดยย่อว่า "..ท." (TPBS) เป็นหน่วยงานของรัฐ มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชน ซึ่งไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไท..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เป็นอนุสาวรีย์ในกรุงเทพมหานคร โดยรอบเป็นวงเวียนอยู่กึ่งกลางระหว่างถนนพหลโยธิน ถนนราชวิถี และถนนพญาไท ตั้งอยู่ที่กิโลเมตรที่ 5.0 ถนนพหลโยธิน โดยที่ กม.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย การก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเริ่มขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
อนุดิษฐ์ นาครทรรพ
นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และรักษาการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอดีตที่ปรึกษาและโฆษกและเลขานุการศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคเพื่อไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอนุดิษฐ์ นาครทรรพ
ฮิวแมนไรตส์วอตช์
วแมนไรตส์วอตช์ (Human Rights Watch; ย่อ: HRW) เป็นองค์การนอกภาครัฐระหว่างประเทศซึ่งทำวิจัยและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในนครนิวยอร์ก โดยมีสำนักงานในอัมสเตอร์ดัม เบรุต เบอร์ลิน บรัสเซลส์ ชิคาโก เจนีวา โจฮันเนสเบิร์ก ลอนดอน ลอสแอนเจลิส มอสโก ปารีส ซานฟรานซิสโก โตเกียว โตรอนโตและวอชิงตัน ดี.ซี.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และฮิวแมนไรตส์วอตช์
ผาสุก พงษ์ไพจิตร
ตราจารย์ ผาสุก พงษ์ไพจิตร เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 เป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย เป็นอาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และผาสุก พงษ์ไพจิตร
จรัล ดิษฐาอภิชัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จรัล ดิษฐาอภิชัย (เกิด 6 กรกฎาคม 2490 ที่จังหวัดพัทลุง) ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี ผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่ออดีตกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติโดยเป็นหนึ่งใน 11 คน ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติชุดแรกของประเทศไทย ซึ่งตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจรัล ดิษฐาอภิชัย
จังหวัดชุมพร
มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดชุมพร
จังหวัดกระบี่
กระบี่ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น หาดทรายขาว น้ำทะเลใส ปะการัง ถ้ำ และหมู่เกาะน้อยใหญ่กว่า 100 เกาะ และเป็นที่ตั้งของเรือนรับรองที่ประทับแหลมหางน.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดกระบี่
จังหวัดภูเก็ต
ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดภูเก็ต
จังหวัดยะลา
ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดยะลา
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดสุราษฎร์ธานี
จังหวัดสุรินทร์
รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดสุรินทร์
จังหวัดสงขลา
งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดสงขลา
จังหวัดสตูล
ตูล เป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย (ทางชายฝั่งทะเลอันดามัน) คำว่า สตูล มาจากคำภาษามลายูเกดะห์ว่า เซอตุล (ستول) (ภาษามาเลย์ว่า เซอตุล (setul)) แปลว่ากระท้อน ซึ่งเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชุมในท้องที่นี้ โดยชื่อเมือง นครสโตยมำบังสการา (Negeri Setoi Mumbang Segara) นั้นหมายความว่า สตูล เมืองแห่งพระสมุทรเทวา ดังนั้น "ตราพระสมุทรเทวา" จึงกลายเป็นตราหรือสัญลักษณ์ของจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดสตูล
จังหวัดตรัง
ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดตรัง
จังหวัดปัตตานี
ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดปัตตานี
จังหวัดนครศรีธรรมราช
นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนนทบุรี
ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดนนทบุรี
จังหวัดเชียงใหม่
ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจังหวัดเชียงใหม่
จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ
รุพงศ์ เรืองสุวรรณ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย และอดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เคยรับราชการในตำแหน่งปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน และนายอำเภอหลายอำเภอ ปัจจุบันเป็นเลขาธิการองค์กรเสรีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไต.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ
จิตภัสร์ กฤดากร
ตภัสร์ กฤดากร ชื่อเล่นว่า ตั๊น ปัจจุบันเป็นรองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย, อดีตแนวร่วมกลุ่ม กปปส., อดีตเลขานุการรัฐมนตรีจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจิตภัสร์ กฤดากร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จตุพร พรหมพันธุ์
ตุพร พรหมพันธุ์ เป็นประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และจตุพร พรหมพันธุ์
ธันวาคม
ันวาคม เป็นเดือนที่ 12 และเดือนสุดท้ายของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนธันวาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีธนู และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมกร แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนธันวาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูในปลายเดือน เดือนธันวาคมในภาษาอังกฤษ December มาจากภาษาละติน decem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 10 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และธันวาคม
ธาริต เพ็งดิษฐ์
ริต เพ็งดิษฐ์ อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นอดีตอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ อดีตคณะกรรมการสำนักงานบริหารการแปลงสินทรัพย์เป็นทุนอดีตคณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ และ อดีตอัยการจังหวัดประจำกรม สำนักงานคณะกรรมการอัยการ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และธาริต เพ็งดิษฐ์
ธิดา ถาวรเศรษฐ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ธิดา ถาวรเศรษฐ หรือ ธิดา โตจิราการ เป็นนักวิชาการชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาทรักษาการประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) สืบจากวีระ มุสิกพงศ์ ในช่วงปลายปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และธิดา ถาวรเศรษฐ
ธงชาติไทย
งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และธงชาติไทย
ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร
นะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ฝ่ายความมั่นคง กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ประธานกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์แห่งชาติ และเป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด ซึ่งได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งสืบต่อจาก พล.อ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร
ธนาคารออมสิน
นาคารออมสิน มีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย เน้นการให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชน โดยให้สินเชื่อระยะสั้น แก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับและจ่ายเงินกู้ จากโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศ ของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลากหลาย เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย รวมทั้งมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งหมด 1,039 แห่งทั่วประเท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และธนาคารออมสิน
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
นาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร หรือ.ก.. (Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในการกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง โดยปัจจุบันกระทรวงการคลังถือหุ้นร้อยละ 99.79 กลุ่มสหกรณ์การเกษตรต่างๆ ถือหุ้นร้อยละ 0.18 และบุคคลทั่วไปถือหุ้นร้อยละ 0.03.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ถวิล เปลี่ยนศรี
วิล เปลี่ยนศรี (5 ธันวาคม พ.ศ. 2496 -) อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่ปรึกษาส่วนตัวด้านความมั่นคงของพลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณกรรมการในคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาต่างประเทศและความมั่นคงของประเทศในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 ภายหลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และถวิล เปลี่ยนศรี
ถาวร เสนเนียม
วร เสนเนียม อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลาหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และถาวร เสนเนียม
ถนอม อ่อนเกตุพล
นายถนอม อ่อนเกตุพล อดีตที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร และโฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตที่ปรึกษาและโฆษก สมัยผู้ว่าฯ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีต ผู้อำนวยการสถานีวิทยุกรุงเทพมหานคร อดีตรองโฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตเลขานุการรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี นายองอาจ คล้ามไพบูล.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และถนอม อ่อนเกตุพล
ถนนบรรทัดทอง
นาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนเพชรบุรี ซึ่งตั้งอยู่บนถนนเพชรบุรี ที่บริเวณแยกเพชรพระราม อันเป็นจุดสิ้นสุดของถนน (ภาพจากมุมมองของถนนบรรทัดทอง) ถนนบรรทัดทอง (Thanon Banthat Thong) เป็นถนนเส้นหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ 2 เขตคือ เขตปทุมวันและเขตราชเทวี.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และถนนบรรทัดทอง
ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)
นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)
ทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และทักษิณ ชินวัตร
ทำเนียบรัฐบาลไทย
ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และทำเนียบรัฐบาลไทย
ทีโอที
ริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (TOT Public Company Limited) เป็นรัฐวิสาหกิจประเภทสื่อสารโทรคมนาคม และถือเป็นกิจการโทรศัพท์แห่งชาติของไทย ดำเนินกิจการเกี่ยวกับโทรศัพท์และการสื่อสาร แปรรูปมาจาก องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และทีโอที
ขวัญชัย สาราคำ
วัญชัย สาราคำ หรือที่รู้จักกันในนาม ขวัญชัย ไพรพนา เป็นประธานชมรมคนรักอุดร และหนึ่งในแนวร่วมคนสำคัญของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือคนเสื้อแดง มีบทบาทปกป้องรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และรัฐบาลอื่น ๆ ที่มีแนวทางเดียวกันมากม.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และขวัญชัย สาราคำ
ณรงค์ พิพัฒนาศัย
ลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ประธานกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ประธานกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติประธานกรรมการประสานและกำกับการดำเนินงาน ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ประธานกรรมการในคณะกรรมการป้องกันเจ้าหน้าที่ของรัฐมิให้เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 401/2558 และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาประธานกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติและรองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติและ อดีต ผู้บัญชาการทหารเรือ ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารเรือสืบต่อจาก พล.ร.อ.สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์ ที่เกษียณอายุราชการในเดือนตุลาคม พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และณรงค์ พิพัฒนาศัย
ณรงค์ สหเมธาพัฒน์
นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์คุณธรรม กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุขอดีตประธานกรรมการคณะกรรมการสถานพยาบาล ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นกรรมการในศูนย์รักษาความสงบแห่งชาติ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็น ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของนายกรัฐมนตรี เพื่อปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานด้านการวิจัยและการพัฒนางานด้านการสุขภาพแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 11 มีนาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และณรงค์ สหเมธาพัฒน์
ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ
นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ อดีตผู้อำนวยการพรรคประชาธิปัตย์ และ ประธานสโมสรทีมฟุตบอลบางกอกเอฟซี.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และณัฏฐพล ทีปสุวรรณ
ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ
ณัฐวุฒิ (คนขวา) บนรถปราศรัยของ นปก. ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย, แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.), อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์, อดีตผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์พีทีวี, อดีตผู้ดำเนินรายการความจริงวันนี้, อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ
ดวงแข อรรณนพพร
วงแข อรรณนพพร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดขอนแก่น อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดขอนแก่น เป็นแกนนำในการนำกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติปิดถนนมิตรภาพอ้างว่าเพื่อไม่ให้ทหารสามารถเข้าสู่กรุงเทพมหานครในขณะนั้น อีกทั้งเป็นแกนนำในการตรวจค้นรถทหารด้วยตนเองโดยมีชาวบ้านได้ทำการบุกรุกรถไฟและปิดถนนมิตรภาพบริเวณสี่แยกโรงพยาบาล อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และดวงแข อรรณนพพร
คุรุสภา
รุสภา (Khurusapha) มีชื่อทางการว่า สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา (The Teachers’ Council of Thailand) เป็นสภาในกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษ..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และคุรุสภา
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ย่อ: คณะกรรมการ ป.ป.ช.) (National Anti-Corruption Commission) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 256 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61
คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง
ณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง (junta หรือ military junta) เป็นรัฐบาลที่นำโดยคณะผู้นำทางทหาร คำนี้มาจากภาษาสเปน junta หมายถึง คณะกรรมการหรือที่ประชุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะกรรมการบริษัท บางครั้งคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองอาจกลายเป็นเผด็จการทหาร แต่ทั้งสองคำมิใช่ไวพจน์ ตัวอย่างคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง เช่น สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐในพม่า และคณะรักษาความสงบแห่งชาติในไทย เป็นต้น.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง
คณะนิติราษฎร์
ณะนิติราษฎร์ เป็นกลุ่มอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีข้อเสนอทางวิชาการด้านนิติศาสตร์ต่อสังคมไทย เริ่มจากเสนอให้ลบล้างผลพวงของการรัฐประหาร พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และคณะนิติราษฎร์
ฉัตรชัย พรหมเลิศ
นายฉัตรชัยมีชื่อเล่นว่า ฉิ่ง ทำให้บรรดานักข่าวสายการเมืองเรียกติดปากว่า บิ๊กฉิ่ง เกิดเมื่อวันที่ 19 กุมภาพัน..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และฉัตรชัย พรหมเลิศ
ซะการีย์ยา อมตยา
ซะการีย์ยา อมตยา (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2518 -) เป็นกวี นักเขียน นักแปลชาวไทย เจ้าของรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2553 สาขากวีนิพนธ์ จากผลงานรวมบทกวีนิพนธ์ ไม่มีหญิงสาวในบทกวี ซะการีย์ยา อมตยา เติบโตที่หมู่บ้านเล็กๆ ริมตีนเขาบูโด สนใจศึกษางานเขียนของกวีต่างประเทศ เคยมีผลงานแปลใน 'จุดประกายวรรณกรรม' และ 'ปาจารยสาร' มีบทกวีตีพิมพ์ตามหน้านิตยสาร และผลงานแปลจากภาษาอาหรับ 'ด้วยจิตวิญญาณอันเปี่ยมสุข' ของ Sayyid Qutb ออกเดินทางอ่านบทกวีร่วมกับผองเพื่อน เหนือสิ่งอื่นใด ฝันที่จะถ่ายทอดเรื่องราวแผ่นดินเกิดผ่านตัวอักษรเหมือนนิทานที่เขาเคยฟังในวัยเยาว์ เขาเป็นเว็บมาสเตอร์และผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ www.thaipoetsociety.com 'ไม่มีหญิงสาวในบทกวี' เป็นหนังสือรวมบทกวีร้อยแก้วเล่มแรกที่ได้รับรางวัลซีไรต์ในปี..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และซะการีย์ยา อมตยา
ซีเอ็นเอ็น
ล นิวส์ เน็ตเวิร์ก (Cable News Network) หรือรู้จักกันในชื่อ ซีเอ็นเอ็น (CNN) เป็นเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล ที่เสนอข่าวสารตลอด 24 ชั่วโมง ก่อตั้งโดย เท็ด เทอร์เนอร์ เริ่มต้นออกอากาศเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และซีเอ็นเอ็น
ปฐมพงษ์ เกษรศุกร์
ลเอก ปฐมพงษ์ เกษรศุกร์ อดีตประธานที่ปรึกษากองบัญชาการกองทัพไทย และที่ปรึกษาด้านการรักษาความปลอดภัยของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในการชุมนุมเมื่อปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และปฐมพงษ์ เกษรศุกร์
ประชา พรหมนอก
ลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก อดีตรองนายกรัฐมนตรี(ฝ่ายความมั่นคง) และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นนายตำรวจมือปราบมีฉายาว่า "อินทรีอีสาน" เนื่องจากเป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เป็นทั้งอธิบดีกรมตำรวจคนสุดท้ายและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรก เนื่องจากมีตำแหน่งสูงสุดในช่วงที่ปรับเปลี่ยนสถานะของกรมตำรวจเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาต.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และประชา พรหมนอก
ประชาธิปไตย
รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และประชาธิปไตย
ประยุทธ์ ศิริพานิชย์
นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย จังหวัดมหาสารคาม และได้รับการแต่งตั้งเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ในเดือนกันยายน..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และประยุทธ์ ศิริพานิชย์
ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และประยุทธ์ จันทร์โอชา
ประสิทธิ์ ไชยศรีษะ
ตำรวจ ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ หรือที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า จ่าประสิทธิ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นหนึ่งในแนวร่วมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือกลุ่มคนเสื้อแดง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และประสิทธิ์ ไชยศรีษะ
ประสงค์ สุ่นศิริ
นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกเปรม ติณสูลานนท์) และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์แนวหน้.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และประสงค์ สุ่นศิริ
ประจิน จั่นตอง
ลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง (7 มีนาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา อดีตรักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม อดีต ผู้บัญชาการทหารอากาศ ลำดับที่ 22 โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายทหาร ณ วันที่ 19 กันยายน..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และประจิน จั่นตอง
ประทิน สันติประภพ
ณะที่ พล.ต.อ.ประทิน ชกเข้าที่ใบหน้า นายอดุลย์ วันไชยธนวงศ์ พลตำรวจเอกประทิน สันติประภพ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามสกุลเดิม "ก้อนแก้ว") อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมตำรวจและเป็นบิดาของ วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยคนที่ 20.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และประทิน สันติประภพ
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และประเทศไทย
ปราบดา หยุ่น
ปราบดา หยุ่น (เกิด 2 สิงหาคม พ.ศ. 2516) เป็นนักเขียน ได้รับรางวัลซีไรต์ จากเรื่องความน่าจะเป็น เมื่อ พ.ศ. 2545.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และปราบดา หยุ่น
ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ
ล.อ.ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และปรีชา เอี่ยมสุพรรณ
ปลอดประสพ สุรัสวดี
ปลอดประสพ สุรัสวดี (เกิด: 3 มีนาคม พ.ศ. 2488) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตอธิบดีกรมประมง อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อดีตปลัดกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตผู้อำนวยการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาต.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และปลอดประสพ สุรัสวดี
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และนายกรัฐมนตรี
นิพัทธ์ ทองเล็ก
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก อดีตประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตเจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร อดีตรองปลัดกระทรวงกลาโหม ตุลาการศาลทหารสูงสุดเป็นรองผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตั้งแต่วันที่ 21 มกราคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และนิพัทธ์ ทองเล็ก
นิยม วรปัญญา
นิยม วรปัญญา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคเพื่อไทย ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในการเลือกตั้ง..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และนิยม วรปัญญา
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรม มีความหมายว่า การทำให้ไม่มีโทษ หรือการอันไม่มีโทษ อาจหมายถึง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และนิรโทษกรรม
นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล
นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล (เดิมชื่อ นิวัฒน์ บุญทรง) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย, อดีตประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) และอดีตรองประธานกรรมการบริหาร ฝ่ายภาพลักษณ์ และกิจกรรมสัมพันธ์ กลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน).
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล
นิธิ เอียวศรีวงศ์
ตราจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2483) เป็นนักคิด นักเขียน และศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์ชาวไทย ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นจากสภาวิจัยแห่งชาติ, รางวัลฟูกูโอกะ และรางวัลศรีบูรพา อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และนิธิ เอียวศรีวงศ์
นิติธร ล้ำเหลือ
นิติธร ล้ำเหลือ เป็นทนายความที่รับว่าความคดีเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน และการใช้อำนาจที่ไม่เป็นธรรมของหน่วยงานภาครัฐ ปัจจุบันเป็นกรรมการฝ่ายสิทธิมนุษยชนประจำสภาทนายความ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และนิติธร ล้ำเหลือ
แก๊สน้ำตา
แก๊สน้ำตาในบรรจุภัณฑ์ชนิดหนึ่ง ตำรวจปราบจลาจลยิงแก๊สน้ำตา แก๊สน้ำตา (Lachrymatory agent, Lachrymator หรือ Tear gas) เป็นสารเคมีชนิดหนึ่งซึ่งทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุตาและแก้วตาดำ ทำให้มีน้ำตาไหลออกมาก เยื่อบุตาจะแดงและแก้วตาดำจะบวม ตามองไม่เห็น น้ำมูกน้ำลายไหล ไอ หายใจลำบาก ส่วนใหญ่จะหายเองภายในหนึ่งชั่วโมง แก๊สน้ำตาถูกใช้เป็นอาวุธประเภทก่อกวนในการปราบจลาจลเพื่อสลายการชุมนุม การใช้งานมีทั้งการยิงจากเครื่องยิงแก๊สน้ำตา และใช้แบบระเบิดขว้าง ในประเทศไทย แก๊สน้ำตาถูกนำเข้ามาใช้ครั้งแรกในช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และแก๊สน้ำตา
แอนดรูว์ แม็กเกรเกอร์ มาร์แชลล์
แอนดรูว์ แม็กเกรเกอร์ มาร์แชลล์ (Andrew MacGregor Marshall, เกิด 25 มีนาคม 2514) เป็นนักข่าวและเป็นนักหนังสือพิมพ์และนักเขียนชาวสกอต ซึ่งเน้นความขัดแย้ง การเมืองและอาชญากรรม และเป็นบุคคลที่สร้างความแตกแยกและบิดเบือนข้อมูลข่าวสารในสังคมไทย ปฏิบัติงานในทวีปเอเชียและตะวันออกกลางเป็นหลัก เมื่อเดือนมิถุนายน 2554 เขาลาออกจากรอยเตอส์ในพฤติการณ์ซึ่งมีการโต้เถียงหลังสำนักข่าวนั้นปฏิเสธตีพิมพ์เรื่องเฉพาะที่เขาเขียนถึงพระมหากษัตริย์ไท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และแอนดรูว์ แม็กเกรเกอร์ มาร์แชลล์
แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
โรงพยาบาลตำรวจ
รงพยาบาลตำรวจ (Police General Hospital) โรงพยาบาลของรัฐ ในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีฐานะเทียบเท่ากับหน่วยงานตำรวจระดับกองบัญชาการ เดิมสังกัดสำนักงานแพทย์ใหญ่ ตั้งอยู่ที่ 492/1 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และโรงพยาบาลตำรวจ
โทรทัศน์วงจรปิด
Surveillance cameras on the corner of a building. Dome CCTV cameras. Dome camera in a train station โทรทัศน์วงจรปิด (closed circuit television หรือย่อว่า CCTV) คือระบบการบันทึกภาพเคลื่อนไหวด้วยกล้องวงจรปิด ซึ่งเป็นระบบสำหรับการใช้เพื่อการรักษาความปลอดภัย หรือใช้เพื่อการสอดส่องดูแลเหตุการณ์หรือสถานะการณ์ต่างๆ ที่นอกเหนือจากการรักษาความปลอดภัย โทรทัศน์วงจรปิดได้ติดตั้งระบบครั้งแรกโดย เอจี Siemens ที่ ทดสอบ V(2) ใน Peenemünde เยอรมนีใน 1942เพื่อสังเกตการณ์สำหรับการเปิดตัวของ V2-rockets(V2-rockets คือขีปนาวุธของเยอรมนีตอนสงครามโลกครั้งที่ 2) วิศวกรเยอรมันชื่อ Walter Bruch คือรับผิดชอบในการออกแบบและการติดตั้งระบบ และ ในเดือนกันยายน 1968, Olean นิวยอร์ก คือแรกเมืองในประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อติดตั้งกล้องวิดีโอ ในถนนธุรกิจเพื่อป้องกันการก่อการร้าย ต่อมาการใช้ โทรทัศน์วงจรปิดในภายหลังได้กลายเป็นสิ่งจำเป็นใน ธนาคาร, สถานที่ราชการ,ที่สาธารณะ หรือแม้กระทั่งบริษัทห้างร้านต่าง.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และโทรทัศน์วงจรปิด
โทรทัศน์ในประเทศไทย
ทรทัศน์ในประเทศไทย ออกอากาศทางภาคพื้นดินเป็นช่องทางหลัก โดยแพร่ภาพผ่านคลื่นวิทยุ ซึ่งระยะแรกที่ออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และโทรทัศน์ในประเทศไทย
ไพบูลย์ นิติตะวัน
ูลย์ นิติตะวัน เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ, อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และไพบูลย์ นิติตะวัน
ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)
ลน์ (LINE) เป็นโปรแกรมเมสเซนเจอร์ ที่ญี่ปุ่นซื้อมาจาก Naver Corporation ของเกาหลีhttp://www.cnbc.com/2016/07/13/japanese-messaging-app-line-will-keep-close-ties-to-korean-internet-giant-naver.html ที่มีความสามารถใช้งานได้ทั้งโทรศัพท์มือถือที่มีระบบปฏิบัติการไอโอเอส, แอนดรอยด์, วินโดวส์โฟน ล่าสุดสามารถใช้งานได้บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และแมคโอเอสได้แล้ว ด้วยความที่มีลูกเล่นมากมาย สามารถคุย ส่งรูป ส่งไอคอน ส่งสติกเกอร์ ตั้งค่าคุยกันเป็นกลุ่ม ฯลฯ ทำให้มีผู้ใช้งานโปรแกรมนี้เป็นจำนวนมาก ชาวไทยนิยมใช้เป็นอันดับสองรองจากญี่ปุ่น.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)
ไทยรัฐ
ทยรัฐ (Thai Rath) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย นำเสนอข่าวทั่วไป ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดในประเทศไทย จากการสำรวจเมื่อปี พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และไทยรัฐ
เฟซบุ๊ก
ฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมสัญชาติอเมริกัน สำนักงานใหญ่อยู่ที่ เมนโลพาร์ก รัฐแคลิฟอร์เนีย เฟซบุ๊กก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 4 กุมภาพัน..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเฟซบุ๊ก
เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์
ลตำรวจเอก เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 —) ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษาผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บก.ปส.) และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์
เกษียร เตชะพีระ
ตราจารย์ เกษียร เตชะพีระ (เกิด 23 ธันวาคม 2500) เดิมชื่อ โต๊ะฮง แซ่แต้ บิดามารดา เป็นคนจีนแต้จิ๋ว เกิดและเติบโตย่านเยาวราชและเจริญกรุง เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 6 ตุล..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเกษียร เตชะพีระ
เรืองเดช สุพรรณฝ่าย
รืองเดช สุพรรณฝ่าย เกิดวันที่ 17 กรกฎาคม..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเรืองเดช สุพรรณฝ่าย
เลขาธิการสหประชาชาติ
ลขาธิการสหประชาชาติ เป็นหัวหน้าสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ซึ่งเป็นหนึ่งในเสาหลักของสหประชาชาติ โดยตามกฎบัตรสหประชาชาติ การแต่งตั้งเลขาธิการสหประชาชาติจะต้องได้รับมติจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตามคำแนะนำของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่จะเป็นฝ่ายเสนอตัวบุคคลที่มารับตำแหน่งนี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นตำแหน่งที่มีบทบาทสูงสุดในองค์การสหประชาชาติ เลขาธิการสหประชาชาติจะดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี โดยจะดำรงตำแหน่งคนละหนึ่งหรือสองสมัย และตามธรรมเนียมแล้ว จะต้องไม่เป็นบุคคลจากประเทศสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง นอกจากนี้ก็เป็นที่เข้าใจกันว่า บุคคลที่จะมาดำรงตำแหน่งคนต่อไปจะต้องมาจากประเทศนอกทวีปของเลขาธิการคนล่าสุด ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนปัจจุบันคือ อังตอนีอู กูแตรึช อดีตนายกรัฐมนตรีโปรตุเกส โดยเป็นเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนที่ 9.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเลขาธิการสหประชาชาติ
เสรี วงษ์มณฑา
รองศาสตราจารย์ เสรี วงษ์มณฑา (เกิด: 14 มีนาคม พ.ศ. 2492 ที่: อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก) เป็นนักวิชาการด้านสื่อสารมวลชนและการตลาด เป็นหนึ่งในกลุ่มนักวิชาการที่ต่อต้าน.ต.ท.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเสรี วงษ์มณฑา
เอกนัฏ พร้อมพันธุ์
นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ กรรมการและเลขานุการ มูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย, อดีตโฆษก กปปส., อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์, เลขานุการส่วนตัวของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเอกนัฏ พร้อมพันธุ์
เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง
รองศาสตราจารย์ เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง อาจารย์พิเศษประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง
เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์)
้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงตำแหน่งสูงสุดของขุนนาง (ข้าราชการ) ไทยในสมัยนั้น คือตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เมื่อพ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์)
เดอะนิวยอร์กไทมส์
อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเดอะนิวยอร์กไทมส์
เครือข่ายสังคม
รือข่ายสังคม หมายถึงโครงสร้างทางสังคมที่สร้างขึ้นจากกลุ่มของผู้กระทำ (เช่นปัจเจกบุคคลหรือองค์การ) และความสัมพันธ์ทวิภาคระหว่างผู้กระทำเหล่านี้ ทัศนมิติเครือข่ายสังคมช่วยให้สามารถวิเคราะห์โครงสร้างของหน่วยสังคมทั้งมวลได้อย่างกระจ่างแจ้ง การศึกษาโครงสร้างเหล่านี้ใช้การวิเคราะห์เครือข่ายสังคมเพื่อระบุแบบอย่างท้องถิ่นหรือทั่วโลก ค้นหาหน่วยสังคมที่มีอิทธิพล และตรวจวัดพลวัตของเครือข่าย เครือข่ายสังคมและการวิเคราะห์เป็นสาขาวิชาสหวิทยาการโดยแท้ อันปรากฏขึ้นจากจิตวิทยาสังคม สังคมวิทยา สถิติศาสตร์ และทฤษฎีกราฟ จอร์จ ซิมเมิล (Georg Simmel) ได้แต่งตำราเกี่ยวกับทฤษฎีเชิงโครงสร้างในสังคมวิทยา เพื่อเน้นให้เห็นถึงพลวัตของความสัมพันธ์ไตรภาคและ "ข่ายโยงใยของการเข้าร่วมกลุ่ม" จาค็อบ โมเรโน (Jacob Moreno) ก็มีชื่อเสียงในเรื่องการพัฒนาผังสังคมมิติ (sociogram) ขึ้นเป็นคนแรกในคริสต์ทศวรรษ 1930 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แนวการศึกษาเหล่านี้ถูกทำให้เป็นระเบียบแบบแผนเชิงคณิตศาสตร์ในคริสต์ทศวรรษ 1950 จากนั้นทฤษฎีและวิธีการต่าง ๆ ของเครือข่ายสังคมก็เป็นที่แพร่หลายในสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ในคริสต์ทศวรรษ 1980 ปัจจุบันนี้การวิเคราะห์เครือข่ายสังคมเป็นหนึ่งในกระบวนทัศน์หลักของสังคมวิทยาร่วมสมัย และถูกนำไปใช้ในศาสตร์เชิงสังคมและรูปนัยอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง นอกจากนี้เครือข่ายสังคมก่อร่างขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสาขาวิชาวิทยาการเครือข่ายที่เพิ่งเริ่มต้น ควบคู่ไปกับเครือข่ายซับซ้อนอื่น.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเครือข่ายสังคม
เครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย
รือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (ตัวย่อ: คปท.) เป็นขบวนการทางการเมืองภาคประชาชน มีบทบาทในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย
เครื่องยิงลูกระเบิดเอ็ม 79
รื่องยิงลูกระเบิดเอ็ม 79 เป็นเครื่องลูกระเบิดแบบประทับบ่า ใช้ยิงลูกระเบิดขนาด 40 มม.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเครื่องยิงลูกระเบิดเอ็ม 79
เฉลิม อยู่บำรุง
ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเฉลิม อยู่บำรุง
เซ็นทรัลเวิลด์
ซ็นทรัลเวิลด์ เดิมชื่อ เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ เป็นโครงการศูนย์การค้า โรงแรม และอาคารสำนักงาน ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกราชประสงค์ ถนนราชดำริ ตัดกับถนนพระรามที่ 1 และถนนเพลินจิต เป็นศูนย์การค้าครบวงจรที่มีพื้นที่รวมใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในประเทศไทย รองจากศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต จังหวัดนนทบุรี และมีพื้นที่ขายมากเป็นอันดับสามของโลก นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ชั้น 1 มากเป็นอันดับสามของโลก รองจากท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ และหอคอยอบราจ อัล เบท ประเทศซาอุดีอาระเบี.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเซ็นทรัลเวิลด์
เปรม ติณสูลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเปรม ติณสูลานนท์
1 ตุลาคม
วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และ1 ตุลาคม
10 ธันวาคม
วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และ10 ธันวาคม
11 พฤศจิกายน
วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และ11 พฤศจิกายน
2 กุมภาพันธ์
วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และ2 กุมภาพันธ์
ดูเพิ่มเติม
การประท้วงใน พ.ศ. 2557
- การก่อการกำเริบในบูร์กินาฟาโซ พ.ศ. 2557
- การประท้วงในกัมพูชา พ.ศ. 2556–2557
- การประท้วงในฮ่องกง พ.ศ. 2557
- ขบวนการนักศึกษาทานตะวัน
- ยูโรไมดาน
- วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557
- เดอะเดย์วีไฟต์แบ็ก
การประท้วงในประเทศไทย
- การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
- การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553
- การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553
- ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552
- พฤษภาทมิฬ
- วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557
- เหตุการณ์ 14 ตุลา
- เหตุการณ์ 6 ตุลา
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย
- กบฏ ร.ศ. 130
- กบฏนายสิบ
- กบฏพระยาทรงสุรเดช
- กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
- การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
- การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร
- การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
- การตรวจพิจารณาในประเทศไทย
- การทุจริตในโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
- การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2231
- การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475
- คณะทหารแห่งชาติ
- คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ
- คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ
- คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
- คณะราษฎร
- ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย
- ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552
- คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523
- จตุสดมภ์
- ประธานรัฐสภาไทย
- ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)
- พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
- วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557
- สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)
- สมัชชาแห่งชาติไทย
- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
- สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
- อภิรัฐมนตรีสภา
- อรพินท์ ไชยกาล
- เสื้อแดง
- แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2556
- การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556
- ประเทศไทยใน พ.ศ. 2556
- ฟ้าหลัวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ. 2556
- วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557
- โครงการก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์
ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2557
- การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
- การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
- ประเทศไทยใน พ.ศ. 2557
- มิสเตอร์โกลบอล
- รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557
- วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557
- ไทยคม 6
หรือที่รู้จักกันในชื่อ การชุมนุมโค่นล้มระบอบทักษิณ พ.ศ. 2556การประท้วงในไทย พ.ศ. 2556วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556วิกฤติการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556สมัชชาปกป้องประชาธิปไตย
ยุทธศักดิ์ ศศิประภาระบบสองสภาระบอบทักษิณรัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทยรัฐสภารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐประหารรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557รังสิมา รอดรัศมีราชกิจจานุเบกษาราชมังคลากีฬาสถานรายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทยรายนามปลัดกระทรวงคมนาคมแห่งราชอาณาจักรไทยรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทยลานพระราชวังดุสิตลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์วรชัย เหมะวราเทพ รัตนากรวรเจตน์ ภาคีรัตน์วอยซ์ทีวีวิบูลย์ สงวนพงศ์วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557วิทยา แก้วภราดัยวิเชียร พจน์โพธิ์ศรีวุฒิสภาไทยศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)ศาลปกครอง (ประเทศไทย)ศาสตราจารย์ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)สกลธี ภัททิยกุลสภานิติบัญญัติสมชัย ศรีสุทธิยากรสมบัติ ธำรงธัญวงศ์สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วงสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์สมศักดิ์ โกศัยสุขสมคิด บาลไธสงสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสวนลุมพินีสหราชอาณาจักรสะพานชมัยมรุเชฐสันติ พร้อมพัฒน์สาวิทย์ แก้วหวานสาธิต เซกัลสาทิตย์ วงศ์หนองเตยสำราญ รอดเพชรสำนักงานตำรวจแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)สุพจน์ ไข่มุกด์สุภรณ์ อัตถาวงศ์สุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์สุรชาติ บำรุงสุขสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุลสุริยะใส กตะศิลาสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะสุวิทย์ ทองประเสริฐสุณิสา เลิศภควัตสุเทพ เทือกสุบรรณสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถานการณ์ฉุกเฉินสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสสดศรี สัตยธรรมหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคลหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอรรถชัย อนันตเมฆออนไลน์และออฟไลน์อัญชะลี ไพรีรักอัญชุลี ธีระวงศ์ไพศาลอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญอิสสระ สมชัยอินสตาแกรมอดุลย์ แสงสิงแก้วองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยอนุดิษฐ์ นาครทรรพฮิวแมนไรตส์วอตช์ผาสุก พงษ์ไพจิตรจรัล ดิษฐาอภิชัยจังหวัดชุมพรจังหวัดกระบี่จังหวัดภูเก็ตจังหวัดยะลาจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดสุรินทร์จังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดตรังจังหวัดปัตตานีจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดนนทบุรีจังหวัดเชียงใหม่จารุพงศ์ เรืองสุวรรณจิตภัสร์ กฤดากรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจตุพร พรหมพันธุ์ธันวาคมธาริต เพ็งดิษฐ์ธิดา ถาวรเศรษฐธงชาติไทยธนะศักดิ์ ปฏิมาประกรธนาคารออมสินธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรถวิล เปลี่ยนศรีถาวร เสนเนียมถนอม อ่อนเกตุพลถนนบรรทัดทองถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ทักษิณ ชินวัตรทำเนียบรัฐบาลไทยทีโอทีขวัญชัย สาราคำณรงค์ พิพัฒนาศัยณรงค์ สหเมธาพัฒน์ณัฏฐพล ทีปสุวรรณณัฐวุฒิ ใสยเกื้อดวงแข อรรณนพพรคุรุสภาคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติคณะรักษาความสงบแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองคณะนิติราษฎร์ฉัตรชัย พรหมเลิศซะการีย์ยา อมตยาซีเอ็นเอ็นปฐมพงษ์ เกษรศุกร์ประชา พรหมนอกประชาธิปไตยประยุทธ์ ศิริพานิชย์ประยุทธ์ จันทร์โอชาประสิทธิ์ ไชยศรีษะประสงค์ สุ่นศิริประจิน จั่นตองประทิน สันติประภพประเทศไทยปราบดา หยุ่นปรีชา เอี่ยมสุพรรณปลอดประสพ สุรัสวดีนายกรัฐมนตรีนิพัทธ์ ทองเล็กนิยม วรปัญญานิรโทษกรรมนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาลนิธิ เอียวศรีวงศ์นิติธร ล้ำเหลือแก๊สน้ำตาแอนดรูว์ แม็กเกรเกอร์ มาร์แชลล์แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติโรงพยาบาลตำรวจโทรทัศน์วงจรปิดโทรทัศน์ในประเทศไทยไพบูลย์ นิติตะวันไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)ไทยรัฐเฟซบุ๊กเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์เกษียร เตชะพีระเรืองเดช สุพรรณฝ่ายเลขาธิการสหประชาชาติเสรี วงษ์มณฑาเอกนัฏ พร้อมพันธุ์เจิมศักดิ์ ปิ่นทองเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยยันต์)เดอะนิวยอร์กไทมส์เครือข่ายสังคมเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทยเครื่องยิงลูกระเบิดเอ็ม 79เฉลิม อยู่บำรุงเซ็นทรัลเวิลด์เปรม ติณสูลานนท์1 ตุลาคม10 ธันวาคม11 พฤศจิกายน2 กุมภาพันธ์