ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วรชัย เหมะและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
วรชัย เหมะและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2553พรรคเพื่อไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549วีระกานต์ มุสิกพงศ์จตุพร พรหมพันธุ์ธิดา ถาวรเศรษฐทักษิณ ชินวัตรณัฐวุฒิ ใสยเกื้อความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552เหวง โตจิราการ
พ.ศ. 2553
ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.
พ.ศ. 2553และวรชัย เหมะ · พ.ศ. 2553และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ·
พรรคเพื่อไทย
รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.
พรรคเพื่อไทยและวรชัย เหมะ · พรรคเพื่อไทยและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ·
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
รัฐประหารในประเทศไท..
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และวรชัย เหมะ · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ·
วีระกานต์ มุสิกพงศ์
วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.
วรชัย เหมะและวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · วีระกานต์ มุสิกพงศ์และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ·
จตุพร พรหมพันธุ์
ตุพร พรหมพันธุ์ เป็นประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไท.
จตุพร พรหมพันธุ์และวรชัย เหมะ · จตุพร พรหมพันธุ์และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ·
ธิดา ถาวรเศรษฐ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ธิดา ถาวรเศรษฐ หรือ ธิดา โตจิราการ เป็นนักวิชาการชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาทรักษาการประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) สืบจากวีระ มุสิกพงศ์ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2553.
ธิดา ถาวรเศรษฐและวรชัย เหมะ · ธิดา ถาวรเศรษฐและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ·
ทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.
ทักษิณ ชินวัตรและวรชัย เหมะ · ทักษิณ ชินวัตรและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ·
ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ
ณัฐวุฒิ (คนขวา) บนรถปราศรัยของ นปก. ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย, แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.), อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์, อดีตผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์พีทีวี, อดีตผู้ดำเนินรายการความจริงวันนี้, อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไท.
ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อและวรชัย เหมะ · ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ·
ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552
วามไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน..
ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และวรชัย เหมะ · ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ·
เหวง โตจิราการ
นายแพทย์ เหวง โตจิราการ (1 เมษายน พ.ศ. 2494 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน และแกนนำสมาพันธ์ประชาธิปไตย เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.
วรชัย เหมะและเหวง โตจิราการ · เหวง โตจิราการและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ วรชัย เหมะและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง วรชัย เหมะและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
การเปรียบเทียบระหว่าง วรชัย เหมะและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
วรชัย เหมะ มี 43 ความสัมพันธ์ขณะที่ แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ มี 147 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 5.26% = 10 / (43 + 147)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วรชัย เหมะและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: