โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561

ดัชนี ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

23 ความสัมพันธ์: พายุหมุนเขตร้อนพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกกรมอุตุนิยมวิทยากรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อนมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอนมหาสมุทรแปซิฟิกรายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560ลานีญาศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมสเกลพายุหมุนเขตร้อนองค์การอุตุนิยมวิทยาโลกธนาคารแห่งประเทศไทยดานังคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิกประเทศฟิลิปปินส์ประเทศปาเลาประเทศเวียดนามไต้ฝุ่นเวลามาตรฐานไทยเวลาสากลเชิงพิกัด

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

พายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก

้นทางเดินของพายุหมุนเขตร้อนทั้งหมดในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ตั้งแต่ พ.ศ. 2523 ถึง 2548 เส้นตรงที่อยู่มุมขวาของภาพคือเส้นแบ่งเขตวันสากล ต่อไปนี้คือรายชื่อฤดูพายุไต้ฝุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยมีขอบเขตอยู่ที่ทางเหนือของเส้นศูนย์สูตร, ระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก และเส้นเมริเดียนที่ 180 อง.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

กรมอุตุนิยมวิทยา

กรมอุตุนิยมวิทยาแห่งราชอาณาจักรไทย (Meteorological Department of Thailand) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ระดับกรม สังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทำหน้าที่ในการพยากรณ์อากาศ รายงานปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ เช่น แผ่นดินไหว ความสูงของคลื่น รายงานพยากรณ์อากาศประจำวันและพยากรณ์อากาศในช่วงเวลาที่กำลังจะมาถึง รวมทั้งออกประกาศเตือนต่าง.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และกรมอุตุนิยมวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น หรือ JMA เป็นหน่วยราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงที่ดินโครงสร้างพื้นฐานและคมนาคม ให้บริการด้านสภาพอากาศของรัฐบาลญี่ปุ่น มีหน้าที่รับผิดชอบในการรวบรวมและรายงานข้อมูลสภาพอากาศและพยากรณ์อากาศในญี่ปุ่น และยังรับผิดชอบในการสังเกตการณ์และเตือนภัยแผ่นดินไหว คลื่นสึนามิ และการปะทุของภูเขาไฟ มีที่ทำการกรมตั้งอยู่ในแขวงชิโยะดะ กรุงโตเกียว แบ่งการจัดการออกเป็น 6 สำนักงานส่วนภูมิภาค นอกจากนี้ JMA ยังได้ดำเนินการเป็นศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับไซโคลนเขตร้อนในพื้นที่ JMA มีจุดตรวจวัด 627 จุดทั่วประเทศ ทำหน้าที่ตรวจวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน

้นทางเดินพายุหมุนเขตร้อนทั่วโลก ระหว่างปี พ.ศ. 2528 ถึง 2547 แสดงให้เห็นถึงบริเวณต่าง ๆ ที่พายุหมุนเขตร้อนมักพัฒนาขึ้น การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน คือการพัฒนาและทวีกำลังแรงขึ้นของพายุหมุนเขตร้อนในบรรยากาศ โดยกลไกที่เกิดขึ้นของการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน มีความแตกต่างกับกลไกการเกิดของการกำเนิดพายุหมุนละติจูดกลาง โดยการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อนจะเกี่ยวข้องกับแกนอบอุ่น เนื่องจากการพาความร้อนอย่างมีนัยสำคัญในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม ซึ่งต้องการความต้องการหลักหกประการ ได้แก่ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลที่อบอุ่นพอ ความไม่แน่นอนในชั้นบรรยากาศ ความชื้นสูงในโทรโพสเฟียร์ระดับต่ำถึงกลาง มีแรงคอริโอลิสอย่างเพียงพอในการพัฒนาของศูนย์กลางความกดอากาศต่ำ พื้นที่ระดับต่ำหรือหย่อมความกดอากาศต่ำที่มีอยู่เดิม และลมเฉือนแนวตั้งระดับต่ำ พายุหมุนเขตร้อนมีแนวโน้มที่จะพัฒนาในช่วงฤดูร้อน แต่ก็ยังได้รับการตั้งข้อสังเกตกับแอ่งที่มีพายุเกิดมากที่สุด ซึ่งมีแนวโน้มในทุกเดือน วัฎจักรภูมิอากาศ อย่างเช่น ความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้-เอลนีโญ (ENSO) และ ความผันแปรของแมดเดน-จูเลียน สามารถปรับระยะเวลาและความถี่ในการพัฒนาของพายุหมุนเขตร้อนได้ ข้อจำกัดความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อน เกี่ยวข้องอย่างยิ่งกับอุณหภูมิของน้ำในระหว่างทางที่พายุเคลื่อนผ่าน โดยเฉลี่ยทั่วโลก มีพายุหมุนเขตร้อนในระดับพายุโซนร้อน 86 ลูกทุกปี ในจำนวนนั้นทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่น/พายุเฮอร์ริเคน 47 ลูก และ 20 ลูกเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรง (อย่างน้อยมีความรุนแรงระดับ 3 ตามมาตราเฮอร์ริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน).

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน

University College London (UCL) เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของรัฐ ตั้งอยู่ ณ​ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัย UCL ยังเป็นสถาบันหนึ่งในสังกัดมหาวิทยาลัยกรุงลอนดอน UCL ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ได้ถูกจัดอันดับอยู่ในระดับสูง และมีจำนวนนักเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาที่ลงทะเบียนปัจจุบันมากที่สุดในสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัย UCL ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1826 ในฐานะมหาวิทยาลัยลอนดอน และ UCL ได้ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในกรุงลอนดอน และมหาวิทยาลัยแห่งแรกในประเทศอังกฤษที่รับนักศึกษาเข้าเรียนโดยไม่คำนึงถึงศาสนา และเพศของผู้เข้าเรียน โดยให้สิทธิสตรีเทียบเท่ากับบุรุษ ในปี 1836 UCL ได้เปลี่ยนฐานะเป็นวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยลอนดอนซึ่งเกิดจากการรวมตัวของวิทยาลัยอื่นๆในกรุงลอนดอนเพื่อเป็นมหาวิทยาลัยเดียวกัน วิทยาเขตหลักของ UCL ตั้งอยู่ที่ Bloomsbury ในพื้นที่ลอนดอนส่วนกลาง Central London นอกจากนี้ยังมีสถาบันต่างๆ และโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในที่ต่างๆ ทั่วกรุงลอนดอนที่เป็นของ UCL รวมไปถึงการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในวิทยาเขตใน Adelaide, ออสเตรเลีย และ Doha, กาต้าร์ UCL เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการแข่งขันสูงในการสมัครเข้าศึกษา และได้ถูกจัดอันดับอยู่ในระดับสูง ทั้งในระดับประเทศ และในระดับนานาชาติ ศิษย์เก่าของ UCL ที่เป็นบุคคลสำคัญ เช่น ผู้ประดิษฐ์โทรศัพท์ และผู้ร่วมค้นพบโครงสร้างของ DNA รวมไปถึงผู้ก่อตั้งกาน่า, ญี่ปุ่นสมัยใหม่ และไนจีเรีย ผู้ค้นพบแก๊สมีตระกูล ถึงปัจจุบัน UCL มีอาจารย์ ศาสตราจารย์ และนักวิจัย ผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบล รวมทั้งสิ้น 29 ท่าน.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อ

ต้ฝุ่นแมมี ขณะกำลังมีความรุนแรงสูงสุด รายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อของสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) นับตั้งแต่ปีที่ประกาศใช้ชื่อสากลขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในเดือนมกราคม พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบันมีชื่อของพายุหมุนเขตร้อนโดนปลดไปแล้วทั้งสิ้น 26 ชื่อ โดยชื่อที่ถูกปลดจะเป็นพายุที่มีอนุภาพทำลายล้างสูง ความเสียหายจากพายุที่โดนปลดทั้งหมดทำให้เกิดความเสียหายกว่า 68 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน ค.ศ.) และมีผู้เสียชีวิตกว่า 12,000 คน.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และรายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

ลานีญา

วามผิดปกติของอุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 แสดงปรากฏการณ์ลานีญา ลานีญา (La Niña) เป็นปรากฏการณ์บรรยากาศมหาสมุทรคู่กันซึ่งเกิดขึ้นคู่กับเอลนีโญอันเป็นส่วนหนึ่งของเอลนีโญ-ความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้ ในช่วงที่เกิดลานีญา อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลตลอดมหาสมุทรแแปซิฟิกตอนกลางตะวันออกแถบเส้นศูนย์สูตรจะต่ำกว่าปกติ 3-5 °C ชื่อลานีญากำเนิดจากภาษาสเปน หมายถึง "เด็กหญิง" คล้ายกับเอลนีโญที่หมายถึง "เด็กชาย" ลานีญา หรือที่บางทีเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "แอนติเอลนีโญ" เป็นปรากฏการณ์ตรงกันข้ามกับเอลนีโญ ซึ่งปรากฏการณ์เอลนีโญนี้จะเป็นช่วงที่อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นอย่างน้อย 0.5 °C และผลกระทบของลานีญามักจะตรงกันข้ามกับของเอลนีโญ เอลนีโญเป็นปรากฏการณ์ที่มีชื่อเสียงเนื่องจากสามารถมีผลกระทบร้ายแรงต่อสภาพอากาศของทั้งชายฝั่งชิลี เปรูและออสเตรเลีย รวมทั้งอีกหลายประเทศ ลานีญามักเกิดขึ้นหลังปรากฏการณ์เอลนีโญรุนแรง.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และลานีญา · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม

ูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center (JTWC)) เป็นศูนย์ใน กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา - กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ทำงานที่ศูนย์พยากรณ์อากาศทางทะเลกองทัพเรือ (Naval Maritime Forecast Center) ในท่าเรือเพิร์ล, รัฐฮาวาย JTWC จะรับผิดชอบตรวจสอบพายุหมุนเขตร้อนและออกคำเตือนให้กับประเทศทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก, ทางใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย สำหรับกระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาจะรับผิดชอบสหรัฐอเมริกาและไมโครนีเซีย ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นมีจุดประสงค์คือ ป้องกันกองทัพเรือและกองทัพอากาศของสหรัฐอเมริกาและติดต่อกับประเทศอื่นๆทั่วโลกด้วยJoint Typhoon Warning Center.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม · ดูเพิ่มเติม »

สเกลพายุหมุนเขตร้อน

หมุนเขตร้อนจะถูกจัดระดับความรุนแรงอย่างเป็นทางการโดยการวัดลมที่หมุนเวียน ณ บนิเวณศูนย์กลางของระบบอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนมากการจัดระดับความรุนแรงของพายุจะกระทำโดยสำนักงานอุตุนิยมวิทยา แต่บางเครื่องวัดจะมีการวัดที่แตกต่างออกไปเช่น วัดพลังงานสะสมพายุหมุนเขตร้อน (Accumulated cyclone energy), ดัชนีการสูญเสียพลังงาน, ดัชนีพลังงานแบบบูรณาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว และดัชนีความรุนแรงพายุเฮอร์ริเคน (Hurricane Severity Index) พายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกจะใช้การจัดระดับความรุนแรงตามสเกลเฮอร์ริเคนของแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน ส่วนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือจะใช้การจัดระดับความรุนแรงตามสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น ส่วนศูนย์อุตุนิยมวิทยาภูมิภาค (RSMC) ในนิวเดลี, อินเดีย จะใช้สเกลที่แตกต่างออกไปเพื่อประเมินความเร็วลมสูงสุดของพายุหมุนเขตร้อน ส่วนในซีกโลกใต้ ศูนย์พยากรณ์สำนักงานอุตุนิยมวิทยาฝรั่งเศส ในเรอูว์นียงจะใช้สเกลวัดครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย ส่วนศูนย์อุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลียและ RSMC ใน นานดี, ฟิจิ จะใช้สเกลความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อนของออสเตรเลีย คำนิยามของความเร็วลมตามที่องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกให้ไว้คือ คือเฉลี่ยของความเร็วลมสูงสุด 10 นาที ที่ความสูง 10 ม. (33 ฟุต) อย่างไรก็ตามสเกลเฮอร์ริเคนของแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน จะใช้การวัดความเร็วลมสูงสุดใน 1 นาที ที่ความสูง 10 ม. (33 ฟุต) และสเกลที่ RSMC นิวเดลี ใช้คือเวลาเฉลี่ย 3 นาที และออสเตรเลียจะใช้ค่าลมกรรโชกสูงสุดเฉลี่ยใน 10 นาที จึงทำให้การเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของแต่ละแอ่งนั้นเป็นไปโดยยาก โดยพายุหมุนเขตร้อนจะเริ่มถูกตั้งชื่อเมื่อมีความเร็วลมมากกว่า 35 นอต (40 ไมล์/ชม. หรือ 65 กม./ชม.).

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และสเกลพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก

ตราสัญลักษณ์ องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization; ย่อ WMO) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลซึ่งมีรัฐและดินแดนสมาชิกจำนวนหนึ่งร้อยเก้าสิบเอ็ดราย จัดตั้งขึ้นเป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติเมื่อ..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารแห่งประเทศไทย

นาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) เป็นธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และธนาคารแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ดานัง

นัง หรือ ด่าหนัง (Da Nang; Đà Nẵng) เป็นเมืองท่าสำคัญของเวียดนามกลางตอนใต้ ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลจีนใต้ จัดเป็น 1 ใน 5 เขตการปกครองส่วนท้องถิ่นในเวียดนาม.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และดานัง · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก

ณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific) หรือ แอสแคป (ESCAP) เป็นหนึ่งในห้าคณะกรรมการส่วนภูมิภาคของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 28 มีนาคม..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาเลา

ปาเลา (Palau; ปาเลา: Belau) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา (Republic of Palau; ปาเลา: Beluu er a Belau) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และประเทศปาเลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ไต้ฝุ่น

ต้ฝุ่นสามลูกขณะหมุนอยู่เหนือมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันตกเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2549 พายุไต้ฝุ่น เป็นพายุหมุนเขตร้อนความเร็วลมสูงสุด ซึ่งก่อตัวขึ้นทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่าง 180° กับ 100° ตะวันออก ซึ่งภูมิภาคนี้ถูกตั้งชื่อว่า "แอ่งแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ" สำหรับจุดประสงค์เกี่ยวกับองค์กร มหาสมุทรแปซฟิกตอนเหนือถูกแบ่งออกเป็นสามเขต ได้แก่ ทางตะวันออก (ทวีปอเมริกาเหนือจนถึงลองติจูด 140° ตะวันตก) ตอนกลาง (140° ตะวันตกถึง 180°) และทางตะวันตก (180° ถึง 100° ตะวันออก) ปรากฏการณ์พายุแบบเดียวกันที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือทางตะวันออกจะถูกเรียกว่า เฮอร์ริเคน และพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนที่ไปยังมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกจะถูกเรียกว่า ไต้ฝุ่น ศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค (RSMC) ซึ่งมีหน้าที่พยากรณ์การเกิดพายุหมุนเขตร้อนตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น และศูนย์เตือนภัยพายุหมุนเขตร้อนอื่น ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกตั้งอยู่ในโฮโนลูลู (ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น) ฟิลิปปินส์และฮ่องกง ขณะที่ RSMC ตั้งชื่อในแต่ละระบบ ตัวรายชื่อหลักนั้นเป็นความร่วมมือกันระหว่าง 18 ประเทศ รวมทั้งสหรัฐอเมริกา ซึ่งประเทศเหล่านี้ได้รับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่นทุกปี ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ พายุไต้ฝุ่นไม่มีการกำหนดฤดูกาลอย่างเป็นทางการ เพราะพายุไต้ฝุ่นก่อตัวขึ้นตลอดทั้งปี เช่นเดียวกับพายุหมุนเขตร้อนทั่วไป ปัจจัยที่ทำให้พายุไต้ฝุ่นก่อตัวและมีความเร็วเพิ่มขึ้นนั้นมีหกประการ ได้แก่ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลที่อุ่นเพียงพอ ความไม่แน่นอนของสภาพอากาศ ระดับความชื้นสัมพัทธ์สูงในชั้นโทรโพสเฟียร์ระดับล่างถึงกลาง แรงโคริโอลิสที่มากพอที่จะสร้างศูนย์ความดันอากาศต่ำ การรบกวนหรือจุดรวมระดับต่ำที่มีอยู่แล้ว และวินเชียร์แนวดิ่งต่ำ พายุไต้ฝุ่นส่วนมากก่อตัวขึ้นระหว่างเดือนมิถุนายนและเดือนพฤศจิกายน ขณะที่พายุหมุ่นเขตร้อนก่อตัวขึ้นอย่างน้อยก็ระหว่างเดือนธันวาคมและพฤษภาคม โดยเฉลี่ยแล้ว มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือเป็นบริเวณที่เกิดพายุหมุนเขตร้อนบ่อยครั้งที่สุดและรุนแรงที่สุดในโลก เช่นเดียวกับแอ่งอื่น ๆ พายุจะถูกนำทางโดยลิ่มความกดอากาศสูงเหนือเขตร้อนไปทางตะวันตกหรือตะวันตกเฉยงเหนือ โดยมีบางลูกที่ย้อนกลับมาใกล้ทางตะวันออกของญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากการขึ้นฝั่ง จีนและญี่ปุ่นได้รับผลกระทบน้อยกว่าบ้าง พายุไต้ฝุ่นที่สร้างความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์ได้พัดเข้าถล่มจีน ทางตอนใต้ของจีนมีบันทึกผลกระทบของพายุไต้ฝุ่นที่ยาวนานที่สุด ซึ่งสามารถย้อนหลังไปได้นับพันปีผ่านเอกสารในหอจดหมายเหตุ ไต้หวันเคยประสบกับพายุไต้ฝุ่นที่เปียกที่สุดเท่าที่เคยบันทึกมาในแอ่งพายุหมุนเขตร้อนแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และไต้ฝุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เวลามาตรฐานไทย

ประเทศไทยใช้เวลามาตรฐานโดยนับจากเวลาสากลเชิงพิกัด แล้วเพิ่มไปอีก 7 ชั่วโมง (ก่อนวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2463 โดยนับจากเวลาสากลเชิงพิกัด แล้วเพิ่มไปอีก GMT+6:42:04 ชั่วโมง) เวลามาตรฐานไทยเป็นเวลาเดียวกับเวลามาตรฐานฮอฟด์ เวลามาตรฐานอินโดนีเซียตะวันตก เวลาเกาะคริสต์มาส (ออสเตรเลีย) และเวลาครัสโนยาสค์ ซึ่งประเทศไทยใช้เขตเวลาเดียวกันทั้งปีทั่วประเทศโดยไม่มีเวลาออมแสง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และเวลามาตรฐานไทย · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561และเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »