โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์ซ่ง

ดัชนี ราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปีพ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหาร ของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรม และเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใดๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่างๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ "คนป่าเถื่อน" ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ "หวังอั้นจี่" ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงิน ของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้าย ก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉิน ไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง) บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทน.

58 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1503พ.ศ. 1576พ.ศ. 1822กลุ่มภาษาจีนกวางตุ้งกุบไล ข่านฝูเจี้ยนมณฑลเหอหนานมณฑลเจ้อเจียงราชวงศ์หยวนราชวงศ์จินราชวงศ์ซ่งราชวงศ์ซ่ง (แก้ความกำกวม)ราชวงศ์โจวยุคหลังรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ซ่งลัทธิขงจื๊อลัทธิเต๋าศาสนาพุทธหางโจวจักรพรรดิจินไท่จู่จักรพรรดิซ่งกวงจงจักรพรรดิซ่งกงจักรพรรดิซ่งกงจงจักรพรรดิซ่งลี่จงจักรพรรดิซ่งหนิงจงจักรพรรดิซ่งอิงจงจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงจักรพรรดิซ่งตู้จงจักรพรรดิซ่งตี้ปิงจักรพรรดิซ่งไท่จู่จักรพรรดิซ่งไท่จงจักรพรรดิซ่งเกาจงจักรพรรดิซ่งเสินจงจักรพรรดิซ่งเสี้ยวจงจักรพรรดิซ่งเหรินจงจักรพรรดิซ่งเจินจงจักรพรรดิซ่งเจ๋อจงจักรพรรดิเซี่ยจิงจงจักรวรรดิมองโกลจินดาราศาสตร์ดินปืนงักฮุยซ้องกั๋งประวัติศาสตร์ปักกิ่งแม่น้ำแยงซีไคเฟิงไฉ จงซฺวิ่นเหวิน เทียนเสียง...เหตุการณ์จิ้งคังเจียงหนานเจงกีส ข่านเจ้า ยฺเหวียนหยั่นเข็มทิศเครื่องปั้นดินเผาเซี่ยตะวันตกเปาบุ้นจิ้น ขยายดัชนี (8 มากกว่า) »

พ.ศ. 1503

ทธศักราช 1503 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพ.ศ. 1503 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1576

ทธศักราช 1576 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพ.ศ. 1576 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1822

ทธศักราช 1822 ตรงกับคริสต์ศักราช 1279 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและพ.ศ. 1822 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

กวางตุ้ง

กวางตุ้ง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

กุบไล ข่าน

มเด็จพระจักรพรรดิกุบไล ข่าน หรือ จักรพรรดิซื่อจูหวางตี้ หรือ จักรพรรดิซีโจ๊วฮ่องเต้ (23 กันยายน พ.ศ. 1758-1837 (ค.ศ. 1215-1294)) เป็นข่านหรือจักรพรรดิของมองโกล และยังเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์หยวนแห่งประเทศจีน กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเจงกีส ข่าน พระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิมองโกลเมื่อ พ.ศ. 1803 (ค.ศ. 1260) และสถาปนาราชวงศ์หยวนเมื่อ พ.ศ. 1822 (ค.ศ. 1279) จักรวรรดิมองโกลที่เจงกีสข่านสร้างไว้ขึ้นถึงจุดสูงสุดในสมัยของกุบไล ข่าน เมื่อกุบไล ข่านสามารถเอาชนะราชวงศ์ซ่งของจีน และยึดครองกรุงปักกิ่ง ปกครองประเทศจีน กุบไลข่านยังตีได้ดินแดนต้าหลี่ (Dali - ในมณฑลยูนนานในปัจจุบัน) และเกาหลี นอกจากนี้ยังได้พยายามยึดครองดินแดนนิฮง (ญี่ปุ่น ในปัจจุบัน) และดินแดนหนานหยาง (ดินแดนแหลมสุวรรณภูมิ) ประกอบด้วย พม่า, เวียดนาม และอินโดนีเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในยุคสมัยของกุบไล ข่าน มีนักเดินทางชาวตะวันตกมากมายเดินทางมาถึงดินแดนจีนของกุบไล ข่าน นักเดินทางที่มีชื่อเสียงคือ มาร์โคโปโล.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและกุบไล ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

ฝูเจี้ยน

ฝูเจี้ยน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและฝูเจี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเหอหนาน

หอหนาน ตามสำเนียงกลาง หรือ ห้อหลำ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือชื่อย่อ อวี้ และชื่อเดิม จงโจว หรือ จงหยวน เป็นมณฑลในสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตอนกลางเยื้องทางตะวันออกของประเทศ อยู่ทางตอนกลางส่วนล่างของ แม่น้ำเหลือง (หวงเหอ) ซึ่งไหลผ่านเป็นระยะทาง 700 กว่ากิโลเมตร ถือเป็นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของจีน มีเมืองเอกชื่อ เจิ้งโจว (郑州) มีเนื้อที่ 167,000 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 97,170,000 คน ความหนาแน่น 582 ต่อตารางกิโลเมตร จีดีพี 881.5 พันล้านเหรินหมินปี้ จีดีพีต่อประชากร 9070 เหรินหมินปี้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น มณฑลเหอหนานมีประชากรมากที่สุดในประเทศจีน ภูมิประเทศ ทิศตะวันตกเป็นเทือกเขาทอดตัวยาวสลับซับซ้อน อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลมากกว่า 1,000 เมตร ทางตะวันออกเป็นพื้นที่ราบ สูงกว่าระดับน้ำทะเลราว 100 เมตร จุดที่สูงที่สุดของมณฑลอยู่ที่ยอดเหล่ายาช่า ในเมืองหลิงเป่า ซึ่งสูงกว่าระดับน้ำทะเลถึง 2413.8 เมตร ภูมิอากาศมีสภาพภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนกึ่งอบอุ่น มีฤดู 4 ฤดูอย่างชัดเจน อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปี 13-15 องศาเซลเซียส เศรษฐกิจปี 2547 เหอหนันมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเท่ากับ 881,509 ล้านหยวน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 13.7 % อุตสาหกรรมเหอหนันถือเป็นฐานผลิตพลังงานที่สำคัญ มีธุรกิจถ่านหิน 65 ราย สามารถผลิตถ่านหินได้ปีละประมาณ 100 ล้านตัน เป็นที่ 2 ของจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและมณฑลเหอหนาน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเจ้อเจียง

มณฑลเจ้อเจียง (จีน: 浙江省 เจ้อเจียงเฉิง Zhejiang) ชื่อย่อ ‘เจ้อ’ (浙)ในหลักฐานไทยแต่เดิมเรียก มณฑลเจ๊เกี๋ยง มีเมืองหลวงชื่อเมืองหางโจว.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและมณฑลเจ้อเจียง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิน

ราชวงศ์จิน เป็นราชวงศ์ที่ถูกก่อตั้งโดยชนเผ่าหนี่เจิน ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพวกแมนจู ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์จิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปีพ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหาร ของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรม และเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใดๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่างๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ "คนป่าเถื่อน" ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ "หวังอั้นจี่" ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงิน ของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้าย ก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉิน ไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง) บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซ่ง (แก้ความกำกวม)

ราชวงศ์ซ่งเป็นราชวงศ์โบราณที่เคยปกครองจีนมีอยู่ 2 ราชวงศ์ได้แก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์ซ่ง (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจวยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วโจว (ค.ศ. 951 - 960) ราชวงศ์ที่ 5 และราชวงศ์สุดท้ายในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร จักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์นี้คือจักรพรรดิโจวไท่จู่ ราชวงศ์นี้ปกครองจีนอยู่เพียง 9 ปีก่อนที่ เจ้ากวงยิ่น (จักรพรรดิซ่งไท่จู่) จะโค่นล้มราชวงศ์โฮ่วโจว และสถาปนาราชวงศ์ซ่งเหนือ ขึ้นในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์โจวยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ปกครองจีนอยู่ระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและลัทธิขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเต๋า

ัญลักษณ์ หยิน-หยาง ลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า (道教 Dàojiao; Taoism) เป็นปรัชญาและศาสนาที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน เน้นการใช้ชีวิตกลมกลืนกับเต๋า ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในสำนักปรัชญาจีนส่วนใหญ่ แต่ในศาสนาเต๋า เต๋าหมายถึงต้นกำเนิด แบบแผน และสารัตถะของสรรพสิ่ง ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่างลัทธิขงจื๊อ แม้แต่ละนิกายมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ "อู๋เหวย์" ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์อี้จิง ต่อมาใช้เต้าเต๋อจิงของเล่าจื๊อและคัมภีร์จวงจื๊อเป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัยราชวงศ์ฮั่น ลัทธิเต๋าในจ๊กก๊กเริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ จนถึงปัจจุบันศาสนาเต๋าแบ่งเป็น 2 นิกายหลักคือ สำนักฉวนเจินและสำนักเจิ้งอี หลังสมัยของเล่าจื๊อและจวงจื๊อ มีการจัดสารบบวรรณกรรมศาสนาเต๋าต่าง ๆ และรวมทุกศาสตร์ทุกแขนงที่เกี่ยวกับเต๋าทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน เช่น พงศาวดาร ประวัติการสร้างศาสนา ตำรายาสมุนไพร ประวัติเทพเซียน องค์การ เพลงสรรเสริญ คู่มือการทำพิธีกรรมทางศาสนา ตำราการทำฮู้(ยันต์) ตำราการทำนายดวงชะตา(อี้จิง) หลักธรรมคำสอนของเล่าจื๊อ,จวงจื๊อ,เลี่ยจื๊อ,และปรมาจารย์ในประวัติศาสตร์ทุกท่านที่ศึกษาเต๋า(ซึ่งบางท่านอาจเกิดก่อนเล่าจื๊อ) บทสวดศาสนา และอื่นๆอีกมากมายเข้าไว้ด้วยกัน จนได้เป็นคัมภีร์เต้าจ้างและพิมพ์เผยแพร่ตามรับสั่งของจักรพรรดิจีน และเป็นศาสนาประจำชาติจีนมาตลอดจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงไม่ได้อยู่ในอุปถัมภ์ของราชสำนัก ปัจจุบัน ศาสนาเต๋าเป็นหนึ่งในห้าศาสนาที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในประเทศจีนและประเทศไต้หวัน แม้ศาสนานี้จะไม่แพร่หลายนอกประเทศจีนนัก แต่ก็พบว่ามีศาสนิกชนจำนวนหนึ่งในฮ่องกง มาเก๊า และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและลัทธิเต๋า · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

หางโจว

หางโจว ทิวทัศน์ในปัจจุบันของทะเลสาบซีหู เมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง ซึ่งในอดีตคือเมืองหลินอันราชธานีของซ่งใต้ หางโจว (จีน: 杭州; Hangzhou) เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจ้อเจียง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองหางโจว ซึ่งเป็นเมืองเก่าแก่ 1 ใน 6 ของประเทศจีน ปัจจุบันหางโจว ถือเป็นเมืองที่อยู่ในเขตภาคตะวันออกที่ได้รับการพัฒนาอย่างสูงสุดแล้ว ดังนั้นหางโจวจึงเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีว่า เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ มีวัฒนธรรมที่ยาวนาน และเป็นเมืองที่มีทัศนียภาพที่สวยสดงดงามเมืองหนึ่งของประเทศจีน รวมทั้งมั่งคั่งไปด้วยเภสัชอุตสาหกรรม และสถาบันศิลปะมากมาย เมืองหางโจวถือว่าเมืองดิจิตอลไร้สายได้ครอบคลุมถึงทางหลวงและตรอกเล็กซอยน้อยต่างๆในเมือง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและหางโจว · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจินไท่จู่

มเด็จพระจักรพรรดิจินไท่จู่ (ค.ศ.1068-1123) มีพระนามเดิมว่า หวันเอี๋ยน อากูดา (Wanyan Aguda) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิจินไท่จู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกวงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกวงจง (พ.ศ. 1732 - 1737)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งกวงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกง

200px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกงตี้ (ค.ศ. 1274-1276) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 16 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิซ่งตู้จง ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งกง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกงตี้ (ค.ศ. 1274-1276) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 17 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิซ่งตู้จง พระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งกงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งลี่จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งลี่จง เป็นจักรพรรดิองค์ที่14แห่งราชวงศ์ซ่งและองค์ที่5แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ทรงขึ้นครองราชย์แทนซ่งหนิงจงพระราชบิดา ที่สวรรคตลงในปี..1224(พ.ศ. 1767)ทรงครองราชย์ 40ปี โดยสิริพระชนมายุ 59 ปี ซ่งลี่จงพระนามเดิม จ้าว หยูอิง เดิมทีพระองค์ทรงมิใช่ราชทายาท แต่เป็นพระญาติของซ่งหนิงจง โดยพระองค์ทรงเป็นลูกหลานรุ่นที่ 10 ของจ้าว ควงอิ้นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ซ่งและสืบเชื้อสายมาจากจ้าว เต๋อเจ้า(เหยียนหวาง 燕王) จ้าว หยูอิงเป็นบุตรของจ้าว ซีหลู่(赵希瓐) จ้าว ซีหลู่เป็นเพียงขุนนางเล็กๆ ไม่มียศฐาบรรดาศักดิ์ใดๆใช้ชีวิตไม่ต่างจากประชาชนธรรมดาโดยทั่วไป จ้าว หยูอิงอายุได้ 7 ขวบจ้าว ซีหลู่ก็ตายจากไปแม่ของจ้าว หยูอิงจึงได้พาเขากับน้องชาย(จ้าว หยู่รุย)กลับไปอยู่บ้านทางฝ่ายแม่ที่เซาซิง จนอายุได้ 16 ปี โดยซ่งหนิงจงมีราชโองการให้อำมาตย์สือ หมี่หยวนไปเสาะหาเชื้อสายของราชวงศ์ สือ หมี่หยวนได้สั่งให้หยู เทียนซีไปดำเนินการ ในระหว่างทางทีหยู เทียนซีกลับไปบ้านเกิดก็ได้พบกับพี่น้องจ้าว หยูอิงจึงได้สอบถามพบว่าจ้าว หยูอิงมีเชื้อสายของราชวงศ์แท้จริง จึงได้นำพาจ้าว หยูอิงกับน้องชาย(จ้าว หยู่รุย)กลับมารายงานต่ออำมาตย์สือ หมี่หยวนที่เมืองหลินอัน ในปี..1221 จ้าว หยูอิงถูกเรียกตัวเข้าวังและได้รับพระราชทานนามใหม่ กุ่ยเฉิง(贵诚)และขึ้นครองราชย์ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งลี่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งหนิงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งหนิงจง(1711-1767)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งหนิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งอิงจง

thumb จักรพรรดิซ่งอิงจง เป็นเชื้อพระวงศ์ที่ ซ่งเหยินจง ทรงนำมาเป็นพระราชบุตรบุญธรรม ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งอิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง

thumb ซ่งฮุ่ยจง (ค.ศ. 1100 - ค.ศ. 1126, พ.ศ. 1643- พ.ศ. 1669)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งตู้จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งตู้จง ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 15 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งตู้จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งตี้ปิง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งตี้ปิง (ค.ศ. 1271-ค.ศ. 1279) จักรพรรดิองค์ที่ 18 แห่งราชวงศ์ซ่งเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 9 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชวงศ์ซ่งใต้ประสูติใน ปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งตี้ปิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จู่

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จู่ จ้าว ควงอิ้น ตามสำเนียงกลาง หรือ เตียคังเอี๋ยน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระบรมราชสมภพ 21 มีนาคม ค.ศ. 927 – เสด็จสวรรคต 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 976) หรือมักเรียกด้วยนามพระอารามประจำรัชกาลว่า ไท่จู่ ตามสำเนียงกลาง หรือ ไทโจ๊ว ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Tàizǔ) เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่งในจักรวรรดิจีนโบราณ เสวยราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งไท่จู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จง

220px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จง (1482-1540) มีพระนามเดิมว่า เจ้ากวงอี้ ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเกาจง (12 มิถุนายน ค.ศ. 1107 – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1187) พระนามเดิม "เจ้าโก้ว" ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ซ่งของประเทศจีน และเป็นจักรพรรดิองค์แรกของแห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเสินจง

ักรพรรดิซ่งเสินจง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเสินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเสี้ยวจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิเสี้ยวจง (พ.ศ. 1705-1732) จักรพรรดิองค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเสี้ยวจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเหรินจง

หรินจง เป็นจักรพรรดิรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือของจีน ประสูติเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเหรินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเจินจง

มเด็จพระจักรพรรดิเจินจง (23/12/968年-23/3/1022年) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิซ่งไท่จง (เจ้า ควงอี้) และเป็นพระราชภาติยะในจักรพรรดิซ่งไท่จู่ (เจ้า ควงอิ้น) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่งเหนือ เมื่อพระราชบิดาสวรรคตลง ทรงขึ้นครองราชย์แทนในปี ค.ศ. 997 (พ.ศ. 1540) ขณะพระชนม์ 29 พรรษา พระองค์เสด็จสวรรคต ค.ศ. 1022 (พ.ศ. 1565) สิริพระชนมายุได้ 54 พรรษา ทรงครองราชย์ได้ 25 ปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเจินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเจ๋อจง

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง (ค.ศ. 1075 - ค.ศ. 1100, ทรงครองราชย์ ค.ศ. 1085 - ค.ศ. 1100) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิซ่งเสินจง กับพระสนมซู ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1075 (พ.ศ. 1618) และเมื่อจักรพรรดิซ่งเสินจงพระราชบิดาเสด็จสวรรคตลงขณะพระชันษา 10 พรรษา พระองค์จึงขึ้นครองราชย์แทนในปี ค.ศ. 1085 (พ.ศ. 1628) แต่เนื่องจากพระองค์ยังทรงพระเยาว์พระพันปีหลวง เกาจึงทรงเป็นผู้สำเร็จราชการและที่ปรึกษาราชกิจ และเมื่อทรงบรรลุนิติภาวะทรงสนับสนุนแนวทางอนุรักษ์แบบเก่าที่นำโดยซือหม่ากวงและทำให้แนวทางปฏิรูปของหวังอันสือยุติลง ส่วนเกาไทเฮาสิ้นพระชนม์ลงในปี ค.ศ. 1093 (พ.ศ. 1636) อันเป็นปีที่ 8 ในรัชกาล องค์จักรพรรดิซ่งเจ๋อจงครองราชย์ได้ 15 ปี สวรรคตลงเมื่อปี ค.ศ. 1100 (พ.ศ. 1643) ขณะพระชนม์เพียง 25 พรรษาจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงพระราชอนุชาจึงขึ้นครองราชย์สืบต่อ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเซี่ยจิงจง

ักรพรรดิเซี่ยจิงจง (ค.ศ. 1003–1048) ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์เซี่ยตะวันตก ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิเซี่ยจิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจักรวรรดิมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

จิน

น อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและจิน · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดินปืน

นปืนไร้ควัน ดินปืน เป็นสารเคมีที่ไวไฟยิ่งยวด และเมื่อเกิดการเผาไหม้แล้วจะเกิดแก๊ส ซึ่งนำคุณสมบัติด้านนี้ไปใช้ประโยชน์ในหลักการทำงานของปืน กล่าวคือ เมื่อดินปืนเกิดการเผาไหม้อย่างช้าๆ จนไม่สร้างความเสียหายแก่ลำกล้องปืนแล้ว จะเกิดแก๊สขึ้นมา แล้วแก๊สเหล่านี้จะไปขับดันกระสุนที่บรรจุในปืน ทำให้กระสุนปืนพุ่งออกมาจากตัวปืนด้วยความเร็วสูง ดินปืนถูกประดิษฐ์ขึ้นโดยชาวจีนอย่างแน่นอน หลักฐานชิ้นแรกสุดคือ ดินปืนดำในศตวรรษที่ 13 ที่โรเจอร์ เบคอน อธิบายสูตรเอาไว้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและดินปืน · ดูเพิ่มเติม »

งักฮุย

งักฮุย (สำเนียงแต้จิ๋ว) หรือ เยว่ เฟย์ (สำเนียงจีนกลาง) (24 มีนาคม ค.ศ. 1103 - 27 มกราคม ค.ศ. 1142) เป็นนักรบกู้ชาติคนสำคัญซึ่งมีชื่อเสียงมากผู้หนึ่งในประวัติศาสตร์ประเทศจีน มีชีวิตอยู่ในยุคราชวงศ์ซ่งใต้ เป็นแม่ทัพผู้ต่อต้านการรุกรานของชนเผ่าจิน ถูกใส่ความโดยศัตรูทางการเมืองจนต้องโทษประหารชีวิต หลังจากนั้นจึงได้รับยกย่องเป็นแบบอย่างแห่งความซื่อสัตย์ในวัฒนธรรมจีน ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและงักฮุย · ดูเพิ่มเติม »

ซ้องกั๋ง

ซ้องกั๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ ซ่งเจียง ตามสำเนียงกลาง (All Men Are Brothers, Men of the Marshes, Outlaws of the Marsh, The Marshes of Mount Liang หรือ Water Margin) หรือชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาจีนสำเนียงกลางว่า ฉุยหู่จ้วน (Shuǐhǔ Zhuàn) เป็นนวนิยายจีนซึ่งเชื่อกันว่าเป็นผลงานของ ชือ ไน่อัน (Shī Nài'ān) และนับถือกันว่าเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน แม้เขียนด้วยภาษาธรรมดา มากกว่าจะเป็นภาษาทางวรรณกรรมก็ตาม Yenna Wu, "Full-Length Vernacular Fiction," in Victor Mair, (ed.), The Columbia History of Chinese Literature (NY: Columbia University Press, 2001), pp.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและซ้องกั๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง "การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ "มุมมอง" ต่อปัญหาในปัจจุบันp 52 เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมากกว่า "การสอบสวนอย่างไม่นำพา" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส0 นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษ.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแยงซี

้นทางแม่น้ำแยงซีในประเทศจีน แม่น้ำแยงซี, แยงซีเกียง (Yangtze river) หรือแม่น้ำฉางเจียง เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากแม่น้ำไนล์ในทวีปแอฟริกาและแม่น้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ แม่น้ำแยงซียาว 6,300 กิโลเมตร ต้นน้ำอยู่ที่มณฑลชิงไห่และทิเบต ในทิศตะวันตกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และไหลมาทางทิศตะวันออก ออกสู่ทะเลจีนตะวันออก.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและแม่น้ำแยงซี · ดูเพิ่มเติม »

ไคเฟิง

ไคเฟิง ตามสำเนียงกลาง หรือ คายฮอง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นเมืองในมณฑลเหอหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน อยู่ริมฝั่งด้านใต้ของแม่น้ำฮวงโห (หรือแม่น้ำเหลือง) เป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ไคเฟิงแต่เดิมนั้นมีชื่อว่าเปี้ยนโจว ในสมัยราชวงศ์โฮ่วเหลียงเปลี่ยนชื่อเป็น เปี้ยนจิง ครั้งมา พอมาถึงสมัยหลังได้เปลี่ยนเป็น ไคเฟิง นครไคเฟิงเป็นที่รู้จักกันดีเพราะเคยเป็นที่ทำงานของเปาบุ้นจิ้น หมวดหมู่:เมืองในมณฑลเหอหนาน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและไคเฟิง · ดูเพิ่มเติม »

ไฉ จงซฺวิ่น

ฉ จงซฺวิ่น ตามสำเนียงกลาง หรือ จิวซาซือ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (柴宗訓; 14 กันยายน 953 – 973) หรือชื่ออื่นว่า กัว จงซฺวิ่น (郭宗訓) และเมื่อตายแล้วได้นามว่า ปูชนียกษัตริย์ (恭帝) เป็นกษัตริย์องค์ที่สามและองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โจวยุคหลังในประเทศจีนสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร ไฉ จงซฺวิ่น เป็นบุตรของไฉ หรง (柴榮) ไฉ หรง ตายฉับพลันในปี 959 ไฉ จงซฺวิ่น จึงสืบบัลลังก์ต่อ แต่ต้นปีถัดมา แม่ทัพเจ้า ควงอิ้น (趙匡胤) ยึดอำนาจแล้วตั้งราชวงศ์ซ่งขึ้น ไฉ จงซฺวิ่น ถูกฆ่าระหว่างถูกส่งไปขังไว้ที่เมืองซีจิง (西京).

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและไฉ จงซฺวิ่น · ดูเพิ่มเติม »

เหวิน เทียนเสียง

รูปปั้นเหวินเทียนเสียงในวัดที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เหวินเทียนเสียง เป็นเสนาบดีในสมัยราชวงศ์ซ่งใต้ เกิดเมื่อปี..1236 ที่ตำบลลู่หลิ่งหรือเมืองจี๋อานในปัจจุบัน เขาได้รับตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองหูหนานและเจียงซี ปี..1276 ในสมัยจักรพรรดิซ่งกงจง กองทัพมองโกลของกุบไลข่านตีได้เมืองต่างๆ ของจีน แล้วยกเข้าใกล้ราชธานีหลินอาน(หางโจว)ห่างจากกำแพงเมืองเพียง 30 ลี้ จักรพรรดิซ่งกงจงและไทเฮาเห็นว่าหมดทางสู้จึงขอสวามิภักดิ์ต่อมองโกล และเหวินเทียนเสียงออกไปเจรจาหย่าศึกแต่ก็ไม่เป็นผล กองทัพมองโกลบุกยึดเมืองหลวงและจับตัวเหวินเทียนเสียงไว้ แต่ก็หาทางหลบหนีออกมาได้ และจัดตั้งกองกำลังต่อต้านกองทัพมองโกล ในขณะที่ขุนนางอื่นที่ไม่ยอมแพ้ได้ย้ายราชธานีลงใต้ไปยังเมืองฝูโจว แล้วพากันยกองค์ชายเจ้าซื่อขึ้นเป็นจักรพรรดิซ่งต้วนจง มีเหวินเทียนเสียงเป็นอัครเสนาบดีใหญ่ ปี..1277 จักรพรรดิซ่งต้วนจงสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน องค์ชายเจ้าปิ่งได้ขึ้นเป็นจักรพรรดิซ่งตี้ปิง 1 ปีถัดมากองทัพมองโกลก็ยึดเมืองฝูโจวได้สำเร็จ เหล่าขุนนางจึงย้ายราชธานีลงใต้ไปยังเมืองกว่างโจว ปลายปี..1278 ทัพมองโกลได้ยกทัพใหญ่บุกเข้ามาที่เขาอู่พัวหลิ่ง (ทางเหนือของมณฑลกวางตุ้งปัจจุบัน) จับเอาเหวินเทียนเสียง ไปเป็นเชลย แล้วเข้ายึดราชธานีได้ในปี..1279 จักรพรรดิซ่งตี้ปิงและบรรดาขุนนางหนีไปยังภูเขาหยาซานริมทะเลซินฮุ่ย แต่กองทัพมองโกลก็ตามมาโจมตีอีก ลู่ซิ่วฟูขุนนางผู้ใหญ่ จึงแบกองค์ฮ่องเต้ลงเรือหนีฝ่าวงล้อมออกไปแต่ไม่สำเร็จ สุดท้ายจึงจับฮ่องเต้หนีลงทะเลหายสาบสูญไป เมื่อทำลายราชวงศ์ซ่งใต้ได้แล้ว เหวินเทียนเสียงก็ถูกส่งขึ้นเหนือไปยังต้าตู (ปักกิ่ง)ในวันที่ 1 ตุลาคม..1279 กุบไลข่านขังเหวินเทียนเสียงไว้ในบ้าน เป็นเวลาถึง 4 ปี เพื่อเกลี้ยกล่อมและบังคับให้มารับใช้ราชสำนักมองโกล แต่เขาไม่เคยยอมสวามิภักติ์ต่อราชวงศ์หยวนเลย 9 มกราคม..1283 เหวิน เทียนเสียง ก็ถูกประหารชีวิต ขณะที่เขามีอายุได้ 47 ปี โดยก่อนตายยังได้หันหน้าไปยังทิศใต้แล้วก้มลงคำนับต่อแผ่นดินเกิด เหวินเทียนเสียงถือเป็นขุนนางและกวีผู้มีชื่อเสียงเลื่องลือในความซื่อสัตย์และภักดี โดยบทกวี กั้วหลิงติงหยาง (过零丁洋)สองวรรคท้ายเป็นประโยคที่คนจีนทุกคนยังท่องจำได้ขึ้นใจจนกระทั่งปัจจุบัน 辛苦遭逢起一经 ยากเย็นแสนเข็ญแตกฉานการรบ 干戈寥落四周星 ตรากตรำกรำศึกโดดเดี่ยวนานปี 山河破碎风飘絮 บ้านเมืองล่มสลายดุจใบไม้ร่วง 身世沉浮雨打萍 ชีวิตล่มจมดั่งแหนกลางลมฝน 惶恐滩头说惶恐 หาดหวางข่งแตกพ่ายขวัญผวา 伶仃洋里叹伶仃 ทอดถอนใจเดียวดายในหลิงติง 人生自古谁无死 แต่โบราณมาใครเล่าอยู่ค้ำฟ้า 留取丹心照汗青 เหลือเพียงใจภักดิ์คงคู่โลก อย่างไรก็ตามในสองวรรคท้ายนั้น ได้มีการแปลเป็นสำนวนต่างๆอีกมาก ที่โด่งดัง เช่น "นับแต่อดีตมามีผู้ใดบ้างที่เคยหนีจากความตายได้ จะเหลือทิ้งไว้ก็แต่เพียงหัวใจอันสัตย์ซื่อนี้ที่ส่องสว่างอยู่ในประวัติศาสตร์" และ "เกิดมามีใครไม่ปลดปลง เกียรติยืนยงฝากไว้ในแผ่นดิน" เป็นต้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเหวิน เทียนเสียง · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์จิ้งคัง

ปี 1125 หลังจากหวันเหยียนเซิ่นขึ้นครองราชย์เป็นจินไท่จง สืบต่อจากจินไท่จู่ผู้พี่ชายแล้ว ก็นำทัพกวาดล้างแคว้นเหลียวเป็นผลสำเร็จ ทัพจินอ้างเหตุรุกไล่ติดตามตัวนายทัพเหลียว นำทัพล่วงเข้ามาในแดนซ่ง แยกย้ายบุกแดนไท่หยวนและเยียนจิง(ปักกิ่ง) แม่ทัพรักษาเมืองเยียนจิงยอมสวามิภักดิ์ทัพจิน นำทางเคลื่อนทัพรุกประชิดเมืองหลวงไคเฟิงซ่งฮุยจงเมื่อได้ทราบข่าวทัพจินเคลื่อนลงใต้ รีบสละบัลลังก์ให้กับรัชทายาทส่วนตัวเองหลบหนีลงใต้ ซ่งชินจง เมื่อขึ้นครองราชย์ ก็เรียกประชุมเสนาบดีคิดหาหนทางแก้ไขวิกฤตครั้งนี้ กลุ่มขุนนางใหญ่สนับสนุนให้ย้ายเมืองหลวงเพื่อลี้ภัย ทว่าหลี่กัง อาสาทำหน้าที่รักษาเมืองอย่างแข็งขัน หัวเมืองรอบนอกเมื่อทราบข่าวทัพจินก็รวมตัวกันจัดตั้งกองกำลังต่อต้านการรุกรานจากภายนอก ทัพจินเมื่อไม่สามารถเอาชัยได้ในระยะเวลาอันสั้น ก็เริ่มขาดแคลนเสบียง ในเวลาเดียวกัน ซ่งชินจงแอบทำสัญญาสงบศึกกับทัพจิน โดยยินยอมจ่ายทรัพย์สินเงินทองจำนวนมหาศาล อีกทั้งส่งมอบดินแดนสามเมืองให้เป็นการชดเชย ฝ่ายจินจึงยอมถอนทัพกลับภาคเหนือ ภายหลังวิกฤตหลี่กังถูกปลดจากตำแหน่ง ราชสำนักซ่งแม้ว่ารับปากส่งมอบเมืองไท่หยวน จงซานและเหอเจียนให้กับแคว้นจิน แต่ราษฎรในท้องถิ่นต่างพากันต่อต้านทัพจินอย่างไม่คิดชีวิต ทัพจินไม่อาจเข้าครอบครองทั้งสามเมืองได้ จึงส่งกองกำลังบุกลงใต้มาอีกครั้ง แต่คราวนี้ ชาวเมืองไท่หยวนที่ยืนหยัดต่อสู้เป็นเวลานาน เกิดขาดแคลนเสบียง จึงต้องเสียเมืองในที่สุด ทัพจินรุกประชิดเมืองไคเฟิงอีกครั้ง ราชสำนักซ่งจัดส่งราชทูตไปเจรจาสงบศึกแต่ไม่เป็นผล ทัพจินบุกเข้าเมืองไคเฟิงกวาดต้อน ซ่งเวยจง ซ่งชินจง และเชื้อพระวงศ์ ไปเป็นเชลย อีกทั้งปล้นสะดมทรัพย์สินในท้องพระคลังไปจนหมดสิ้น ราชวงศ์ซ่งเหนือล่มสลาย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเหตุการณ์จิ้งคัง · ดูเพิ่มเติม »

เจียงหนาน

Xishi bridge, Mudu, Suzhouเจียงหนาน (Jiangnan;; หรือบางครั้งสะกดว่า Kiang-nan) คือพื้นที่บริเวณตอนล่างของแม่น้ำแยงซีในประเทศจีนปัจจุบัน โดยรวมถึงพื้นที่ตอนใต้ของสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี (Yangtze River Delta) ด้วย บริเวณเจียงหนานมีพื้นที่ครอบคลุมนครเซี่ยงไฮ้ ทางตอนใต้ของมณฑลเจียงซู ทางตอนใต้ของมณฑลอานฮุย ทางตอนเหนือของมณฑลเจียงซี และตอนเหนือของมณฑลเจ้อเจียง เมืองสำคัญในบริเวณนี้ ได้แก่ เมืองเซี่ยงไฮ้ หนานจิง หนิงป่อ หางโจว ซูโจว อู๋ซี ฉางโจว (อังกฤษ: Changzhou; จีน: 常州; พินอิน: Chángzhōu) และ เช่าซิง (Shaoxing; จีนตัวย่อ: 绍兴; จีนตัวเต็ม: 紹興; พินอิน: Shàoxīng) ประชาชนในบริเวณเจียงหนานส่วนมากมักใช้ภาษาจีนอู๋เป็นภาษาพูดประจำท้องถิ่น.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเจียงหนาน · ดูเพิ่มเติม »

เจงกีส ข่าน

งกีส ข่าน (Чингис Хаан, Chinggis Khaan, Činggis Qaɣan; หรือ,; Genghis Khan; พ.ศ. 1705 หรือ 1708 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 1770) เจงกีส แปลว่า “เวิ้งสมุทร, มหาสมุทร” (ซึ่งเปรียบได้ว่า เจงกีส ข่าน มีความยิ่งใหญ่ ดั่งเวิ้งมหาสมุทรนั่นเอง) จักรพรรดินักรบชาวมองโกลผู้พิชิต ผู้ก่อตั้งจักรวรรดิมองโกล เดิมมีนามว่า เตมูจิน (Temüjin) ตามสถานที่เกิดริมฝั่งแม่น้ำโอนอน เป็นผู้นำครอบครัวแทนบิดาเมื่ออายุเพียง 13 ปี และต้องดิ้นรนต่อสู้ขับเคี่ยวกับชนเผ่าต่าง ๆ ที่เป็นอริอยู่หลายปี ปราบเผ่า “ไนแมน” ทางด้านตะวันตก พิชิตชนชาติ “ตันกุต” (เซี่ยตะวันตก) และยอมรับการจำนนของชาว “อุยกูร์” ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเจงกีส ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้า ยฺเหวียนหยั่น

้า ยฺเหวียนหยั่น (985–1044) หรือพระนามอย่างเป็นทางการว่า องค์ชายโจวกงซู่ (周恭肅王; Prince Gongsu of Zhou) เป็นเจ้าในราชวงศ์ซ่ง เป็นพระโอรสพระองค์ที่แปดของพระเจ้าไท่จง จึงมักเรียกกันว่า อ๋องแปด (八王; Eighth Prince) นอกจากนี้ ยังเป็นพระอนุชาของพระเจ้าเจินจง และเป็นพระปิตุลาของพระเจ้าเหรินจง.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเจ้า ยฺเหวียนหยั่น · ดูเพิ่มเติม »

เข็มทิศ

็มทิศ เข็มทิศ คือเครื่องมือสำหรับใช้หาทิศทาง มีเข็มแม่เหล็กที่แกว่งไกวได้อิสระในแนวนอนทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ ตามแรงดึงดูดของแม่เหล็กโลก และที่หน้าปัดมีส่วนแบ่งสำหรับหาทิศทางโดยรอบ เข็มทิศจึงมีปลายชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ (อักษร N หรือ น) เมื่อทราบทิศเหนือแล้วก็ย่อมหาทิศอื่นได้โดยหันหน้าไปทางทิศเหนือ ด้านขวามือเป็นทิศตะวันออก ด้านซ้ายมือเป็นทิศตะวันตก ด้านหลังเป็นทิศใต้ การบอกทิศทางในแผนที่โดยทั่วไป คือการบอกเป็นทิศที่สำคัญ 4 ทิศ คือทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก หรืออาจจะบอกละเอียดเป็น 8,16 หรือ 32 ทิศก็ได้.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเข็มทิศ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องปั้นดินเผา

การปั้นเครื่องปั้นดินเผา เครื่องปั้นดินเผา ภาชนะชุดแรก ๆ ของมนุษย์นั้นคือการนำดินมาขึ้นรูปเป็นภาชนะต่าง ๆ แล้วนำไปตากแห้ง คุณสมบัติของดิน โดยเฉพาะดินเหนียวสามารถอุ้มน้ำได้ดี และเมื่อผสมเข้ากับน้ำแล้วจะทำให้ดินมีความเหนียวและสามารถที่จะปั้นหรือขึ้นรูปสามมิติ โดยไม่ต้องเพิ่มเติมวัสดุอื่นอีก คำว่า"เครื่องปั้นดินเผา"เป็นคำนามที่มีความหมายที่สื่อให้เข้าใจได้ในตัวของมันเอง (เอาดินมาปั้นแล้วก็เผา) เมื่อนำดินที่ขึ้นรูปแล้วมาให้ความร้อน ดินซึ่งประกอบด้วยผลึกในตระกูลของ "alumino silicate" จะมีการเปลี่ยนแปลงสัณฐานทางเคมี สารประกอบอัลคาไลน์ (alkaline) เป็นสารชนิดหนึ่งที่สามารถทำปฏิกิริยาเคมีกับผลึกดินที่อุณหภูมิสูง พลังงานความร้อนนี้สามารถขับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของผลึกดิน โดยจะทำให้เกิดสารประกอบลักษณะเป็น"แก้ว" สารประกอบนี้จะทำหน้าที่เป็นตัวประสานอนุภาคดินที่เหลือ ซึ่งทำหน้าที่เป็นโครงสร้าง เข้าด้วยกัน ทำให้เนื้อวัสดุหลังการเผา (อย่างน้อยประมาณ 800 องศาเซลเซียส แล้วแต่คุณสมบัติทางเคมี) มีความคงทนแข็งแรงขึ้น สามารถคงรูปไว้ใช้เป็นภาชนะสังเคราะห์ชนิดแรกของมนุษย์ และที่ๆสำคัญมีอยู่ที่ตะนาวศรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเครื่องปั้นดินเผา · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยตะวันตก

ซี่ยตะวันตก (Western Xia) เป็นชื่ออาณาจักรแห่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี 1038 ถึงปี 1227 ณ บริเวณที่ปัจจุบันเป็นเขตกานซู ชิงไห่ ซินเจียง มองโกเลียนอก มองโกเลียใน ส่านซี และหนิงเซี่ย ของสาธารณรัฐประชาชนจีน กินพื้นที่ราวแปดแสนตารางกิโลเมตร อาณาจักรเซี่ยตะวันตกถูกพวกมองโกลจากอาณาจักรมองโกลทำลายโดยสิ้นเชิง เป็นเหตุให้บันทึกและสถาปัตยกรรมล้วนดับสูญ ฉะนั้น ประวัติศาสตร์ของอาณาจักรนี้จึงเป็นที่โต้เถียงเรื่อยมา จนกระทั่งมีการสำรวจขนานใหญ่จากฝรั่งและคนจ?ีนเอง จึงพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกประสบความส??سเร็จอย่างใหญ่หลวงในด้านน?าฏกรรม วรรณกรรม ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรม ชนิดที่นักประวัติศาสตร์ถือกันว่า เป็นผลงานที่ "รุ่งโรจน์เรืองรอง" (shining and sparkling) อนึ่ง ยังพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกสามารถจัดระเบียบกองทัพอย่างเป็นระบบ กองทัพเซี่ยมีทั้งพลธนู พลปืน (ติดตั้งปืนใหญ่ไว้บนหลังอูฐ) พลม้า พลรถ พลโล่ และทแกล้??اทหารที่เก่งทั้งน้ำและบก อาณาจักรเซี่ยตะวันตกจึงรุกรานอาณาจัก?รรอบข้าง เช่น จิน ซ่ง และเหลียว ?ได้อย่างมีประสิท.

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเซี่ยตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้น

ปา เจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (11 เมษายน ค.ศ. 999 — 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1062) วรรณกรรมเรียก เปา เหวินเจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาบุ้นจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (包文拯) เป็นข้าราชการชาวจีนในรัชสมัยจักรพรรดิเหรินจงแห่งราชวงศ์ซ่งของจักรวรรดิจีน ตลอดเวลา 25 ปีที่รับราชการนั้น เปา เจิ่ง แสดงออกซึ่งความซื่อสัตย์สุจริตและเป็นกลางอย่างเสมอหน้า ในระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์ซ่งและเปาบุ้นจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Northern SongSong DynastySouthern Songราชวงศ์ซ่งใต้ราชวงศ์ซ่งเหนือราชวงศ์ซ้องซ่งซ่งใต้ซ่งเหนือ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »