รัฐศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง รัฐศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน
รัฐศาสตร์ vs. ลิขิต ธีรเวคิน
รัฐศาสตร์ (political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 ซึ่งนักรัฐศาสตร์ยุคแรกนั้นพัฒนากระบวนวิชาขึ้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามแสวงหา และทำความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การปกครอง (government) หรือการเมือง กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหนึ่งซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ อาทิ ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบันทางการเมือง, การเมืองระหว่างประเทศ การปกครองและการบริหารรัฐ (national politics), การเมืองการปกครองท้องถิ่น (local politics) เป็นต้น ซึ่งสาขาต่างๆเหล่านี้อาจแปรเปลี่ยนไปตามแต่ละสถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวนวิชาใดนั้นเป็นรัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ขึ้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ "การเมือง" เป็นมโนทัศน์หลัก (crucial concept/key concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา(scholar) นั้นรัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยที่เป็นหลักอย่างน้อย 3 สาขาคือ สาขาการปกครอง (government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (public administration) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(international relation). ตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) ราชบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา นักรัฐศาสตร์และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ (ระดับ 11) อดีตอาจารย์ประจำและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ. 2540) อดีตหัวหน้าพรรคพลังแผ่นดินไท (30 มิถุนายน พ.ศ. 2549-30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) และ เคยได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย อีกด้วย (พ.ศ. 2545-2548 และ พ.ศ. 2549) สำหรับในด้านภูมิปัญญาความคิด ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ถือเป็นนักวิชาการอาวุโสที่ทรงอิทธิพลในวงการสังคมศาสตร์ไทย ทั้งยังคร่ำหวอดและเชี่ยวชาญการเมืองไทยมาอย่างยาวนานหลายทศวรรษ มีข้อคิดเห็น ข้อวิจารณ์ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองผ่านสื่อสารมวลชนแขนงต่างๆ อยู่สม่ำเสมอ เป็นเจ้าของวลีเด็ดที่เตือนสังคมไทยในวิกฤตการณ์การเมืองช่วงปี..
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รัฐศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน
รัฐศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ รัฐศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง รัฐศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน
การเปรียบเทียบระหว่าง รัฐศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน
รัฐศาสตร์ มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ ลิขิต ธีรเวคิน มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 4.76% = 2 / (19 + 23)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: