โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ

ดัชนี รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ (鎌倉幕府 Kamakura bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารในญี่ปุ่น อันมีประมุขของรัฐบาลคือโชกุน ตั้งแต..

52 ความสัมพันธ์: ชิกเก็งพ.ศ. 1266พ.ศ. 1690พ.ศ. 1725พ.ศ. 1735พ.ศ. 1742พ.ศ. 1745พ.ศ. 1746พ.ศ. 1747พ.ศ. 1761พ.ศ. 1762พ.ศ. 1769พ.ศ. 1782พ.ศ. 1785พ.ศ. 1787พ.ศ. 1795พ.ศ. 1799พ.ศ. 1807พ.ศ. 1809พ.ศ. 1817พ.ศ. 1819พ.ศ. 1832พ.ศ. 1844พ.ศ. 1851พ.ศ. 1869พ.ศ. 1871พ.ศ. 1876การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกลการล้อมคะมะกุระ (ค.ศ. 1333)กุบไล ข่านภาษาญี่ปุ่นมินะโมะโตะ โนะ ซะเนะโตะโมะมินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะยุคคะมะกุระระบบเจ้าขุนมูลนายระบอบเผด็จการจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิโกะ-โทะบะจักรพรรดิโกะ-ไดโงะจักรวรรดิมองโกลคามากูระคุโจ โยะริสึงุคุโจ โยะริสึเนะตระกูลโฮโจประเทศญี่ปุ่นโชกุนโฮโจ มะซะโกะโฮโจ โทกิมาซะเกาะคีวชู...เจ้าชายมุเนะตะกะเจ้าชายฮิซะอะกิ ขยายดัชนี (2 มากกว่า) »

ชิกเก็ง

กเก็ง (執権 shikken) เป็นตำแหน่งบรรดาศักดิ์ซึ่งมีขึ้นตั้งแต..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและชิกเก็ง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1266

ทธศักราช 1266 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1266 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1690

ทธศักราช 1690 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1690 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1725

ทธศักราช 1725 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1725 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1735

ทธศักราช 1735 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1735 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1742

ทธศักราช 1742 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1742 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1745

ทธศักราช 1745 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1745 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1746

ทธศักราช 1746 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1746 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1747

ทธศักราช 1747 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1747 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1761

ทธศักราช 1761 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1761 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1762

ทธศักราช 1762 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1762 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1769

ทธศักราช 1769 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1769 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1782

ทธศักราช 1782 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1782 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1785

ทธศักราช 1785 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1785 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1787

ทธศักราช 1787 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1787 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1795

ทธศักราช 1795 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1795 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1799

ทธศักราช 1799 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1799 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1807

ทธศักราช 1807 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1807 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1809

ทธศักราช 1809 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1809 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1817

ทธศักราช 1817 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1817 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1819

ทธศักราช 1819 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1819 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1832

ทธศักราช 1832 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1832 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1844

ทธศักราช 1844 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1844 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1851

ทธศักราช 1851 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1851 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1869

ทธศักราช 1869 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1869 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1871

ทธศักราช 1871 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1871 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1876

ทธศักราช 1876 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและพ.ศ. 1876 · ดูเพิ่มเติม »

การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล

การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล เป็นเหตุการณ์ที่กองทัพของจักรวรรดิมองโกล เข้ารุกรานญี่ปุ่นสองครั้ง ในปี..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและการรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมคะมะกุระ (ค.ศ. 1333)

การล้อมคะมะกุระ (Siege of Kamakura (1333)) สงครามครั้งสำคัญซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ สงครามปีเก็งโก ที่เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและการล้อมคะมะกุระ (ค.ศ. 1333) · ดูเพิ่มเติม »

กุบไล ข่าน

มเด็จพระจักรพรรดิกุบไล ข่าน หรือ จักรพรรดิซื่อจูหวางตี้ หรือ จักรพรรดิซีโจ๊วฮ่องเต้ (23 กันยายน พ.ศ. 1758-1837 (ค.ศ. 1215-1294)) เป็นข่านหรือจักรพรรดิของมองโกล และยังเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์หยวนแห่งประเทศจีน กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเจงกีส ข่าน พระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิมองโกลเมื่อ พ.ศ. 1803 (ค.ศ. 1260) และสถาปนาราชวงศ์หยวนเมื่อ พ.ศ. 1822 (ค.ศ. 1279) จักรวรรดิมองโกลที่เจงกีสข่านสร้างไว้ขึ้นถึงจุดสูงสุดในสมัยของกุบไล ข่าน เมื่อกุบไล ข่านสามารถเอาชนะราชวงศ์ซ่งของจีน และยึดครองกรุงปักกิ่ง ปกครองประเทศจีน กุบไลข่านยังตีได้ดินแดนต้าหลี่ (Dali - ในมณฑลยูนนานในปัจจุบัน) และเกาหลี นอกจากนี้ยังได้พยายามยึดครองดินแดนนิฮง (ญี่ปุ่น ในปัจจุบัน) และดินแดนหนานหยาง (ดินแดนแหลมสุวรรณภูมิ) ประกอบด้วย พม่า, เวียดนาม และอินโดนีเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในยุคสมัยของกุบไล ข่าน มีนักเดินทางชาวตะวันตกมากมายเดินทางมาถึงดินแดนจีนของกุบไล ข่าน นักเดินทางที่มีชื่อเสียงคือ มาร์โคโปโล.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและกุบไล ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มินะโมะโตะ โนะ ซะเนะโตะโมะ

มินะโมะโตะ โนะ ซะเนะโตะโมะ (17 กันยายน 1192 - 13 กุมภาพันธ์ 1219) เป็นโชกุนลำดับที่ 3 และลำดับสุดท้ายของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ จากตระกูล มินะโมะโตะ เพราะหลังจากที่ซะเนะโตะโมะถูกลอบสังหาร ตระกูลมินะโมะโตะ ก็ขาดผู้สืบสกุลจนขุนนางในรัฐบาลต้องไปเชิญเจ้าชายจากราชสำนักมาเป็นโชกุนอีก 6 คน.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและมินะโมะโตะ โนะ ซะเนะโตะโมะ · ดูเพิ่มเติม »

มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ

มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ หรือ โยะริอิเอะแห่งมินะโมะโตะ เป็นโชกุนคนที่สอง แห่งรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ ดำรงตำแหน่งโชกุนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและมินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ · ดูเพิ่มเติม »

มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ

มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ (みなもと の よりとも Minamoto no Yoritomo หรือ 源 頼朝 Minamoto Yoritomo) หรือ โยะริโตะโมะแห่งมินะโมะโตะ เป็นผู้ก่อตั้งรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และดำรงตำแหน่งโชกุนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและมินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคคะมะกุระ

มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและยุคคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเจ้าขุนมูลนาย

ระบบเจ้าขุนมูลนาย, ระบบฟิวดัลหรือระบบเจ้าครองนคร (feudalism) เป็นระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกว่า ระบบศักดิน.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและระบบเจ้าขุนมูลนาย · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบเผด็จการ

ระบอบเผด็จการ (Dictatorship) หมายถึง รูปแบบการปกครองแบบอัตตาธิปไตย ซึ่งรัฐบาลอยู่ภายใต้การบริหารของบุคคลเพียงคนเดียว หรือ ผู้เผด็จการ โดยไม่มีการสืบทอดตำแหน่งตามสายเลือด คำว่า เผด็จการ อาจมีได้หลายความหมายเช่น.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและระบอบเผด็จการ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-โทะบะ

มเด็จพระจักรพรรดิโกะ-โทะบะ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 82 ของญี่ปุ่น ทรงครองราชย์เมื่อพระชนมายุยังน้อยและยังอยู่ในยุคที่บ้านเมืองมีแต่ความวุ่นว.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและจักรพรรดิโกะ-โทะบะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ

ักรพรรดิโกะ-ไดโงะ (Emperor Go-Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 96 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-ไดโงะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1861 - พ.ศ. 1882 โดยพระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิไดโงะ ที่ครองราชย์ในช่วง ศตวรรษที่ 9 โดยเมื่อใส่คำว่า โก ที่แปลว่า สอง หรือ ยุคหลัง เข้าไปทำให้พระนามของพระองค์แปลได้ว่า จักรพรรดิไดโงะที่สอง หรือ จักรพรรดิไดโงะยุคหลัง.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและจักรพรรดิโกะ-ไดโงะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและจักรวรรดิมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

คามากูระ

"คามากูระ" อาจหมายถึง ยุคคะมะกุระ หรือ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ คามากูระ เป็นเมืองในจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 50 กิโลเมตร จากโตเกียว มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 39.60 ตารางกิโลเมตร และในปี..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและคามากูระ · ดูเพิ่มเติม »

คุโจ โยะริสึงุ

ริสึงุ (Kujo Yoritsugu, 1782 - 1799, 1787 - 1795) โชกุนคนที่ 5 แห่ง รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 1787 - พ.ศ. 1795 คุโจ โยะริสึงุเกิดเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 1782 ที่ คะมะกุระ เป็นบุตรชายของ คุโจ โยะริสึเนะ โชกุนคนที่ 4.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและคุโจ โยะริสึงุ · ดูเพิ่มเติม »

คุโจ โยะริสึเนะ

ริสึเนะ (Kujo Yoritsune) (12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1218 - 1 กันยายน ค.ศ. 1256) หรือ ฟุจิวะระ โยะริสึเนะ โชกุนคนที่ 4 ของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 1226 - 1244 โชกุนโยะริสึเนะผู้นี้ถือว่าเป็นโชกุนคนแรกที่ไม่ได้มาจาก ตระกูลมินะโมะโต.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและคุโจ โยะริสึเนะ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลโฮโจ

ตระกูลโฮโจ (Hōjō Clan) เป็นตระกูล ซะมุไร ที่ทรงอิทธิพลในยุค คะมะกุระ เพราะผู้นำตระกูลคนแรกคือ โฮโจ โทะคิมะซะ เป็นพ่อตาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และเป็น ชิกเก็ง หรือ ผู้สำเร็จราชการ ในสมัยของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ โชกุนคนที่ 2 ผู้เป็นหลานชายคนโต ตระกูลโฮโจเริ่มมีบทบาทสำคัญเมื่อ โฮโจ โทะกิมะซะ ได้ช่วยชีวิต มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ จากการถูก ไล่ฆ่าพร้อมกับสนับสนุนโยะริโตะโมะให้ลุกขึ้นสู้กับ ตระกูลไทระ และยกลูกสาวให้แต่งงานด้วย หลังจาก สงครามเก็มเป ปรากฏว่าตระกูลมินะโมะ โตะได้ชัยชนะและทรงอำนาจในแผ่นดินเหนือราชสำนัก จึงทำให้ตระกูลโฮโจมีอำนาจและอิทธิพลตามไปด้วย หลังจาก จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เสด็จสวรรคตลง ในปี ค.ศ. 1192 โยะริโตะโมะจึงได้รับพระราชทาน ตำแหน่ง เซไตโชกุน เป็นคนแรกจาก จักรพรรดิโกะ-โทะบะ ยิ่งทำให้ตระกูลโฮโจทรงอำนาจและอิทธิพล มากขึ้น ต่อมาในปี ค.ศ. 1202 โยะริโตะโมะถึงแก่อสัญกรรม โยะริอิเอะ บุตรชายคนโตจึงขึ้นเป็นโชกุนสืบต่อมา แต่ในสมัยของโยะริอิเอะอำนาจทั้งหมดอยู่ที่โทะคิมะซะ ผู้เป็นตาพร้อมกันนั้นยังบีบบังคับโชกุนโยะริอิเอะให้ตั้ง ตัวเองเป็น ชิกเก็ง หรือผู้สำเร็จราชการทำให้โชกุน โยะริอิเอะไม่พอใจสละตำแหน่งให้ ซะเนะโตะโมะ ผู้ เป็นน้องชายหลังจากดำรงตำแหน่งเพียง 1 ปีซึ่งหลังจาก สมัยของโชกุนโยะริอิเอะเป็นต้นไปอำนาจทั้งหมดอยู่ที่ ชิกเก็งที่มาจากตระกูลโฮโจทั้งสิ้น ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงในปี ค.ศ. 1333 หลังจาก ตระกูลอะชิกะงะ ที่นำโดย อะชิกะงะ ทะกะอุจิ กระทำรัฐประหาร บุกเข้ายึด คะมะกุระ ทำให้ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงพร้อมกับตระกูลมินะโมะโต.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและตระกูลโฮโจ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน

กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและโชกุน · ดูเพิ่มเติม »

โฮโจ มะซะโกะ

ภาพวาดของมะซะโกะในขณะบวชเป็นแม่ชี โฮโจ มะซะโกะ (1699 – 16 สิงหาคม 1768) มิได คนแรกอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเป็นภริยาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ปฐมโชกุนแห่ง รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และเป็นมารดาของโชกุนคนที่ 2 และคนที่ 3 คือ มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ และ มินะโมะโตะ โนะ ซะเนะโตะโมะ หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง หมวดหมู่:บุคคลในยุคคะมะกุระ หมวดหมู่:ตระกูลโฮโจ หมวดหมู่:ตระกูลมินะโมะโตะ.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและโฮโจ มะซะโกะ · ดูเพิ่มเติม »

โฮโจ โทกิมาซะ

ทกิมาซะ (Hojo Tokimasa 1138 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1215) เป็น ซามูไร คนสำคัญใน รัฐบาลโชกุนคามากูระ เพราะเขาคือ ชิกเก็ง หรือ ผู้สำเร็จราชการ คนแรก.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและโฮโจ โทกิมาซะ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคีวชู

ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและเกาะคีวชู · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายมุเนะตะกะ

้าชายมุเนะตะกะ (Imperial Prince Munetaka) โชกุนลำดับที่ 6 แห่งรัฐบาลโชกุนคะมะกุระดำรงตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและเจ้าชายมุเนะตะกะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฮิซะอะกิ

้าชายฮิซะอะกิ (19 ตุลาคม 1819 – 16 พฤศจิกายน 1871) เจ้าชายแห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นและโชกุนลำดับที่ 8 แห่ง รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ ดำรงตำแหน่งช่วง..

ใหม่!!: รัฐบาลโชกุนคะมะกุระและเจ้าชายฮิซะอะกิ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »