โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟ

ดัชนี ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟ

หัวรถจักรไฟฟ้าในสวีเดนที่ใช้กระแสไฟฟ้าจากสายไฟระบบเหนือหัว ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟ หรือ (Railway Electrification System) เป็นการจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับรถไฟหรือรถราง เพื่อให้สามารถทำงานได้โดยไม่ต้องมีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าบนขบวน การจ่ายกระแสไฟฟ้ามีข้อดีเหนือกว่าระบบให้พลังงานอื่น ๆ ในการขับเคลื่อนหัวรถจักร แต่ต้องใช้เงินลงทุนอย่างมีนัยสำคัญสำหรับการติดตั้ง ในบทความนี้ "ระบบ" หมายถึงการกำหนดค่าทางเทคนิคและรายละเอียดทางเทคนิคที่ถูกพัฒนาขึ้น "เครือข่าย" หมายถึงขอบเขตทางภูมิศาสตร์ของระบบที่มีการติดตั้งจริงในสถานที่ติดตั้ง.

9 ความสัมพันธ์: ชิงกันเซ็งมอเตอร์แนวราบระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัวรางที่สามรางที่สี่รถไฟฟ้าบีทีเอสตัวเก็บประจุยิ่งยวดแหนบรับไฟไฟฟ้ากระแสตรง

ชิงกันเซ็ง

งกันเซ็งต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันออก ค.ศ. 2012 ชิงกันเซ็งรุ่นต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันตก ค.ศ. 2008 ชิงกันเซ็ง (แปล: สายทางไกลสายใหม่) เป็นชื่อเรียกเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่นซึ่งดำเนินงานโดย 4 กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น สายแรกที่เปิดใช้งานคือ โทไกโดชิงกันเซ็ง (515.4 กม.) ในปี..

ใหม่!!: ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟและชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

มอเตอร์แนวราบ

มอเตอร์เชิงเส้น (Linear Motor) คือมอเตอร์ไฟฟ้าที่ถูกผ่ากลางแล้วแผ่ออกในแนวราบ ซึ่ง rotor แทนที่จะหมุน มันกลับเคลื่อนที่ไปในแนวราบ ตามสูตรของแรงที่ใส่เข้าไปมีสัดส่วนโดยตรงกับกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก นั่นคือ (\vec F.

ใหม่!!: ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟและมอเตอร์แนวราบ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว

ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัวในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือศีรษะ เป็นระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟประเภทหนึ่ง ประกอบด้วยสายลวดตัวนำเปลือย แขวนไว้กับลูกถ้วยฉนวนซึ่งยึดตรึงที่เสา กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านขารับกระแสไฟฟ้าเหนือศีรษะที่เรียกว่า แหนบรับไฟ เข้าสู่ระบบขับเคลื่อนขบวนรถ เพื่อให้ครบวงจรไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านรางรถไฟหรือราวเหล็กเส้นที่สี่ซึ่งต่อสายดินไว้ ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือศีรษะมักต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าแรงสูง เพื่อลดการสูญเสียจากการส่งไฟฟ้าเป็นระยะทางไกล ๆ ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือศีรษะ มีชื่อเรียกอื่นดังนี้.

ใหม่!!: ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟและระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว · ดูเพิ่มเติม »

รางที่สาม

รางที่สามที่สถานีใกล้กรุงวอชิงตัน ดีซี มีแรงดันที่ 750V DC รางที่สามอยู่บนสุดของภาพมีกันสาดสีขาว สองรางล่างเป็นรางวิ่งทั่วไป กระแสจากรางที่สามวิ่งกลับสถานีจ่ายไฟด้วยรางวิ่งนี้ รางที่สาม เป็นรางตัวนำลักษณะกึ่งแข็งที่มีกระแสไฟฟ้าเพื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับขบวนรถไฟอย่างต่อเนื่อง รางนี้จะถูกวางที่ด้านข้างหรือระหว่างรางวิ่งของรถไฟ โดยทั่วไปมันมักจะถูกใช้ในระบบขนส่งมวลชนหรือระบบรถไฟฟ้าขนส่งความเร็วสูง ส่วนใหญ่รางที่สามจะจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ระบบรถไฟฟ้ามหานครกรุงเทพ ใช้ไฟ 750 VDC ระบบรางที่สามของการจ่ายไฟฟ้าโดยทั่วไปไม่มีความเกี่ยวข้องกับระบบรางที่สามที่ใช้ในการรถไฟ.

ใหม่!!: ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟและรางที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

รางที่สี่

รางที่สี่ หรือ Fourth Rail เป็นรางตัวนำไฟฟ้าอีกรางหนึ่งที่ใช้ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับการเดินรถระบบราง โดยเป็น return path ของรางที่สาม รางที่สี่นี้ปกติถูกวางไว้ระหว่างรางวิ่งทั้งสอง โดยทั่วไปของการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้การเดินรถระบบราง กระแสไหลกลับจะวิ่งผ่านทางรางวิ่งทั้งสอง.

ใหม่!!: ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟและรางที่สี่ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟและรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเก็บประจุยิ่งยวด

thumb ตัวเก็บประจุยิ่งยวด เป็นตัวเก็บประจุไฟฟ้าจำนวนมากๆ บางตัวทำงานโดยไม่ใช้ปฏิกิริยาทางเคมี คาดว่าจะถูกนำมาใช้แทน แบตเตอรีในอนาคต.

ใหม่!!: ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟและตัวเก็บประจุยิ่งยวด · ดูเพิ่มเติม »

แหนบรับไฟ

แหนบรับไฟแบบมีแขนลักษณะรูปเพชร ของทางรถไฟในสวิสเซอร์แลนด์ แหนบรับไฟ (Pantograph) หรือศัพท์เก่าคือ สาลี่ เป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนหลังคาของตู้รถไฟ, รถราง หรือยานพาหนะไฟฟ้า มีแปรงถ่านแกรไฟต์ซึ่งมีคุณสมบัตินำไฟฟ้า เพื่อใช้แตะกับสายส่งไฟฟ้าในระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว แหนบรับไฟถูกคิดค้นขึ้นในปี..

ใหม่!!: ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟและแหนบรับไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ไฟฟ้ากระแสตรง

ัญลักษณ์แทนไฟฟ้ากระแสตรง พบได้บนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายชนิดที่ผลิตหรือต้องการไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสตรง (direct) แสดงเป็นเส้นตรงสีแดง แกนตั้งคือปริมาณกระแส (i) หรือความต่างศักย์ (v) และแกนนอนคือเวลา (t)pulsating — ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดเป็นจังหวะvariable — ไฟฟ้ากระแสแปรผันalternating — ไฟฟ้ากระแสสลับ ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดต่าง ๆ(บน) ชนิดสมบูรณ์(กลางและล่าง) ชนิดเป็นจังหวะเกิดจากการเรียงกระแส ไฟฟ้ากระแสตรง (direct current, อักษรย่อ: DC) เป็นไฟฟ้ากระแสที่มีทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าไปในทิศทางเดียวกันเป็นวงจร ในอดีตไฟฟ้ากระแสตรงเคยถูกเรียกว่า กระแสกัลวานิก (galvanic current) อุปกรณ์ที่สามารถผลิตไฟฟ้ากระแสตรงได้ เช่น เซลล์แสงอาทิตย์ แบตเตอรี่ ทั้งชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้และชนิดใช้แล้วทิ้ง และเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสตรงสามารถไหลผ่านตัวนำไฟฟ้า เช่น สายไฟ สารกึ่งตัวนำ ฉนวนไฟฟ้า หรือแม้กระทั่งเคลื่อนที่ในภาวะสุญญากาศในรูปของลำอิเล็กตรอนหรือลำไอออน เราสามารถใช้ตัวเรียงกระแส เปลี่ยนไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรงได้ โดยส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ภายในตัวเรียงกระแสจะบังคับให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ในทิศทางเดียว นอกจากนี้ยังสามารถเปลี่ยนไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับได้โดยใช้อินเวอร์เตอร์หรือชุดไดนามอเตอร์ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าประเภทที่หนึ่งคือ -แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ และโอห์มมิเตอร์ เป็นเครื่องวัดทางไฟฟ้า เพื่อใช้วัดปริมาณต่างๆ ทางไฟฟ้าเครื่องวัดทางไฟฟ้าต่างๆนี้สามารถสร้างขึ้นโดยดัดแปลงมาจาก แกลแวนอมิเตอร์ (Galvanometer) ชนิดขดลวดเคลื่อนที่ ซึ่งประกอบด้วยขดลวดวางระหว่างขั้วแม่เหล็กและประเภทที่สองคือ-แกลแวนอมิเตอร์ (Galvanometer) คือ เครื่องมือวัดพื้นฐานทางไฟฟ้าที่สามารถวัดได้ทั้งกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า แต่จะวัดได้ปริมาณน้อยๆ ดังนั้นจึงนิยมนำไปดัดแปลงใช้วัดกระแสไฟฟ้าความต่างศักย์ไฟฟ้าและความต้านทาน.

ใหม่!!: ระบบการจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟและไฟฟ้ากระแสตรง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การจ่ายไฟฟ้าให้ระบบราง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »