โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รอเบิร์ต พีล

ดัชนี รอเบิร์ต พีล

ซอร์ รอเบิร์ต พีล (Sir Robert Peel) เป็นนักการเมืองแห่งสหราชอาณาจักรในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีถึงสองสมัย ในปี..

35 ความสัมพันธ์: ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรการค้าเสรีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดรอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูลรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรลอนดอนวิกวิลเลียม แกลดสตันวิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2สภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักรสภาขุนนางสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสหราชอาณาจักรสแลงอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตันองค์การการค้าโลกจอร์จ แฮมิลตัน-กอร์ดอน เอิร์ลที่ 4 แห่งแอเบอร์ดีนจอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1คริสตจักรแห่งอังกฤษคลาสสิกคณิตศาสตร์ตำรวจนครบาลประเทศอังกฤษประเทศไอร์แลนด์นายกรัฐมนตรีแลงคาเชอร์เบลฟาสต์เบนจามิน ดิสราเอลีเวสต์มินสเตอร์เอ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลที่ 14 แห่งดาร์บีย์เฮนรี จอห์น เทมเพิล ไวเคานต์พาลเมอร์สตันที่ 3เดอะไรต์ออนะระเบิล

ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2

ลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2 (Charles Grey, 2nd Earl Grey) หรือฐานันดรเดิมคือ ไวเคานต์ฮอวิก เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษจากพรรควิก เขาเคยดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร, ผู้นำสภาขุนนาง, ผู้นำสภาสามัญชน, รัฐมนตรียุติธรรม, และรัฐมนตรีต่างประเทศ เขาผลักดันการปฏิรูปการเมืองให้ไปสู่ระบบการเลือกตั้งในอังกฤษและเวลส์โดยได้รับแรงสนับสนุนจากพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 และยังออกกฎหมายการเลิกทาสทั่วจักรวรรดิอังกฤษในปี 1833 นอกจากนี้เขายังเป็นผู้เผยแพร่ชาเอิร์ลเกรย์ให้เป็นที่รู้จัก.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)

รรคอนุรักษนิยม (Conservative Party) หรือชื่อเดิมว่า พรรคอนุรักษนิยมและสหภาพนิยม คือพรรคการเมืองกลาง-ขวาในสหราชอาณาจักรที่ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของลัทธิอนุรักษนิยมและลัทธิการรวมชาติบริเตน ซึ่งเป็นพรรคที่ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักรโดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในรัฐสภาจำนวน 330 คน สมาชิกสภาท้องถิ่นทั่วประเทศ 9,391 คน และเป็นพรรคการเมืองจากสหราชอาณาจักรที่มีที่นั่งในรัฐสภายุโรปมากที่สุดจำนวน 25 ที่นั่ง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นรัฐบาลเสียงข้างมากในสภาสามัญชนโดยมีหัวหน้าพรรคคือนางเทเรซา เมย์ เป็นนายกรัฐมนตรี พรรคมักถูกเรียกขานว่า พรรคขุนนาง (Tory Party) หรือ พวกขุนนาง (Tories) พรรคอนุรักษนิยมก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและพรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าวิลเลียมที่ 4 (William IV) (21 สิงหาคม ค.ศ. 1765 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1837) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรฮันโนเวอร์ สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ แห่งระหว่างปี..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

การค้าเสรี

การค้าเสรี (Free Trade) คือแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ที่หมายถึงการซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศโดยไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร และการกีดกันทางการค้าอื่นๆ รวมไปถึงการเคลื่อนย้ายแรงงานและทุนข้ามเขตแดนระหว่างประเทศโดยอิสระ การค้าเสรีคือสภาวะที่ไม่มีการกีดกันใดๆ โดยรัฐบาลกับการค้าระหว่างปัจเจกบุคคลหรือบริษัท ที่อยู่คนละประเทศ โดยทั่วไปแล้ว การค้าระหว่างประเทศมักถูกจำกัดด้วยภาษี, ค่าธรรมเนียมในการนำเข้าและส่งออกสินค้า, และกฎเกณฑ์ที่ไม่เกี่ยวกับภาษีอากรในการนำเข้า ในทางทฤษฎีแล้วการค้าเสรีนั้นต้องการยกเลิกข้อจำกัดเหล่านี้ทั้งหมด อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริงแล้ว ในข้อตกลงทางการค้าที่เรียกว่า "การค้าเสรี" นั้น อาจสร้างข้อกีดกันบางอย่างขึ้นมาก็ได้ นักวิจารณ์มองว่าการกระทำดังกล่าวเกิดขึ้นเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของบริษัท บางกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป ได้เปิดให้มีการค้าเสรีรูปแบบหนึ่ง ระหว่างประเทศสมาชิก อย่างไรก็ตาม ยังมีการโต้เถียงกันอยู่ว่า การค้าเสรีนั้น จะช่วยประเทศโลกที่สามได้หรือไม่ และการค้าเสรีนั้น เป็นประโยชน์ต่อประเทศกำลังพัฒนาจริงหรือไม.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและการค้าเสรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ประเทศไทย)

ษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นภาษีทางตรงซึ่งที่จัดเก็บตามบทบัญญัติประมวลกฎหมายรัษฎากร จัดเก็บจากเงินได้ทุกประเภท ตามหลักเกณฑ์เงินสด หากเงินได้ประเภทใดที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีนั้น จะต้องบัญญัติไว้โดยกฎหมายว่าเงินได้ประเภทนั้นได้รับการยกเว้น หน่วยงานรัฐบาลที่มีหน้าที่จัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ กรมสรรพากร.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล

รอเบิร์ต แบงก์ส เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล (Robert Banks Jenkinson, 2nd Earl of Liverpool) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ เขาเป็นนายกรัฐมนตรีที่อายุน้อยที่สุดและดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดของอังกฤษ ในช่วงที่เป็นนายกรัฐมนตรี เขาใช้มาตรการอดกลั้นที่สุดในการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศในช่วงการจลาจลในปี 1819 เขาร่วมมืออย่างละมุนละม่อมกับเจ้าชายจอร์จ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระเจ้าจอร์จที่ 3 ที่ไม่สามารถออกว่าราชการ ในการประคับประคองสถานการณ์ในประเทศให้ผ่านพ้นไปได้ เหตุการณ์สำคัญในช่วงที่เขาเป็นนายกรัฐมนตรี คือการทำสงครามกับสหรัฐอเมริกา ในปี 1812, สงครามประสานมิตรครั้งที่หกและครั้งที่เจ็ดเพื่อต่อต้านการเรืองอำนาจของจักรวรรดิฝรั่งเศส การแถลงสรุปผลสงครามนโปเลียนในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา, การออกกฎหมายข้าวโพด, การสังหารหมู่ที่ปีเตอร์ลู และเริ่มการเลิกกีดกันชาวคาทอลิก เขาเกิดในตระกูลขุนนาง เป็นบุตรของชาลล์ เจ็นคินสัน (ต่อมาได้เป็นเอิร์ลแห่งลิเวอร์พูล) ที่ปรึกษาในพระเจ้าจอร์จที่ 3 มารดาของเขาคือ อเมเลีย วัตต์ บุตรสาวของวิลเลียม วัตต์ เจ้าหน้าที่อาวุโสในบริษัทอินเดียตะวันออก มารดาของเขาตายหลังเขาเกิดได้หนึ่งเดือน.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและรอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

วิก

วิก อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและวิก · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม แกลดสตัน

วิลเลียม อีเวิร์ต แกลดสตัน (William Ewart Gladstone) เป็นรัฐบุรุษของพรรคลิเบอรัล และเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสี่สมัยในรัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร สมัยแรกระหว่างวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 1868 ถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1874; สมัยที่สองระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1880 ถึงวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1885; สมัยที่สามระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1886 ถึงวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1886 และสมัยสุดท้ายระหว่างวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1892 ถึงวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1894 นอกจากนั้นก็ยังเป็นสมุหพระคลังอยู่ระยะหนึ่งและเป็นผู้สนับสนุนร่างพระราชบัญญัติการก่อตั้งรัฐบาลปกครองตนเอง (Home Rule Bill) ซึ่งเป็นร่างพระราชบัญญัติที่ร้องขอการก่อตั้งรัฐบาลในการปกครองตนเองในไอร์แลนด์ภายในสหราชอาณาจักร แกลดสตันมีชื่อเสียงว่าเป็นคู่อริคนสำคัญของเบนจามิน ดิสราเอลีผู้นำของพรรคคอนเซอร์เวทีฟ ความเป็นอริมิได้จำกัดแต่เพียงทางการเมืองแต่ในทางส่วนตัวด้วย เมื่อดิสราเอลีถึงแก่อสัญกรรมแกลดสตันเสนอให้มีงานศพอย่างเป็นทางการ แต่พินัยกรรมของดิสราเอลีระบุให้ฝังร่างไว้ข้างเคียงกับภรรยาที่แกลดสตันโต้ว่า "As Disraeli lived, so he died — all display, without reality or genuineness." สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียก็ไม่โปรดแกลดสตันตลอดเวลาที่เป็นนายกรัฐมนตรี และทรงเปรยครั้งหนึ่งว่าแกลดสตันพูดกับพระองค์ราวกับกล่าวปราศัยในการประชุมสาธารณชน แต่แกลดสตันเป็นที่รู้จักกันในบรรดาผู้สนับสนุนว่า “แกลดสตันขวัญใจประชาชน” หรือ “G.O.M.” (Grand Old Man) หรือโดยดิสราเอลี “God's Only Mistake” (ความผิดอย่างเดียวของพระเจ้า) แต่วินสตัน เชอร์ชิลล์ถือว่าแกลดสตันเป็นแรงบันดาลใ.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและวิลเลียม แกลดสตัน · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2

วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2 (William Lamb, 2nd Viscount Melbourne) หรือนามเรียกขานคือ ท่านลอร์ดเมลเบิร์น เป็นรัฐบุรุษของอังกฤษจากพรรควิก ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย เขายังเป็นผู้อบรมสั่งสอนสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียในสมัยที่พระนางทรงพระเยาว์ ด้วยเหตุนี้พระนางจึงทรงนับถือเขาเป็นเสมือนบิดา ทำให้ลอร์ดเมลเบิร์นค่อนข้างมีอิทธิพลทางการเมืองครอบงำพระนาง แต่เขาก็ได้รับการบันทึกไว้ว่าเป็นคนดี ซื่อตรง และไม่เห็นแก่ตน ในปี 1834 เขาถูกให้ออกจากตำแหน่งโดยพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายของสหราชอาณาจักรที่ถูกให้ออกจากตำแหน่งโดยราชสำนัก.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและวิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร

มัญชน (House of Commons) เป็นสภาล่างในรัฐสภาแห่งอังกฤษ ประกอบไปด้วยสมาชิกสภาสามัญชน หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อันมาจากการเลือกตั้งทุกห้าปี ในปัจจุบันมีสมาชิกสภาจำนวน 650 ที่นั่ง จากการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2558 โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี การประชุมสภาร่วมฯ จัดขึ้นที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ปัจจุบันสภาสามัญชนมีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเทียบกับสภาขุนนาง (House of Lords) อันเป็นสภาสูง ซึ่งมีบทบาทน้อยลงเมื่อเทียบกับอดีต โดยบทบาทของสภาสามัญชนนั้นเพิ่มขึ้นอย่างเป็นรูปเป็นร่างครั้งแรกเมื่อปี 1911 จากการตรา "พระราชบัญญัติรั..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สภาขุนนาง

นนาง (House of Lords) เป็น สภาสูงในรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยขุนนางมีบรรดาศักดิ์จำนวนเจ็ดถึงแปดร้อยคน ทุกคนมาจากการแต่งตั้งและสืบตระกูล ทำหน้าที่ร่วมกับกับสภาสามัญชนซึ่งเป็นสภาล่างซึ่งมีสมาชิกทั้งหมดจากการเลือกตั้ง สภาขุนนางจะแยกเป็นอิสระจากสภาสามัญชน โดยมีอำนาจถ่วงดุลและตรวจสอบการทำงานของรัฐสภา โดยเฉพาะการพิจารณาเพื่อผ่านร่างกฎหมาย โดยสภาขุนนางมีอำนาจที่จะระงับการบังคับใช้กฎหมายได้ในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้รัฐบาล สภาสามัญชน และประชาชนร่วมกันพิจารณาถึงความจำเป็นของร่างกฎหมายนั้นๆอย่างรอบคอบ สภาขุนนางยังมีหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ และป้องกันมิให้มีกฎหมายใดขัดต่อรัฐธรรมนูญ และสิทธิมนุษยชน ซึ่งในประเทศอื่นๆ จะมีศาลรัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่แทน สภาชิกสภาขุนนางแบ่งเป็นสี่ประเภท คือ.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและสภาขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สแลง

แลง (slang) คือ ถ้อยคำหรือสำนวนที่ใช้เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มหรือชั่วระยะเวลาหนึ่ง ไม่ใช่ภาษาที่ยอมรับกันว่าถูกต้อง.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและสแลง · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน

อมพล อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน (Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington) เป็นทหารและรัฐบุรุษ และเป็นหนึ่งในผู้กำหนดนโยบายทางการทหารและการเมืองของอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เขาสามารถมีชัยเหนือนโปเลียนแห่งฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี 1815 ซึ่งทำให้เขากลายเป็นวีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกองทัพอังกฤษ และมีสมญานามว่า ดยุกเหล็ก ทั้งนี้ ในปี 2002 ชื่อของเขาอยู่ในอันดับ 15 ของชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ เกิดที่ดับลินในไอร์แลนด์ เริ่มจากการเป็นนายธงในกองทัพอังกฤษในปี 1787 โดยประจำการในไอร์แลนด์ในฐานะทหารคนสนิทของข้าหลวงใหญ่แห่งไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาสามัญชน (สภาล่าง) ของไอร์แลนด์ และดำรงยศเป็นพันเอกในปี 1796 โดยเข้าร่วมราชการสงครามในเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง และในอินเดียในช่วงสงครามอังกฤษ-ไมซอร์ครั้งที่สี่ และจึงได้รับแต่งตั้งเป็นข้าหลวงประจำศรีรังคปัฏนาและไมซอร์ในปี 1799 และต่อมาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นพลตรีภายหลังชัยชนะเหนือจักรวรรดิมราฐาในปี 1803 เวลสลีย์เป็นผู้บัญชาการศึกคาบสมุทรในสงครามนโปเลียน และได้รับการเลื่อนขึ้นขึ้นเป็นจอมพลภายหลังสามารถนำกองทัพพันธมิตรมีชัยเหนือฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วิกตอเรียในปี 1813 ซึ่งตามมาด้วยการเนรเทศนโปเลียนในปีต่อมา เวลสลีย์เข้ารับตำแหน่งเป็นราชทูตประจำฝรั่งเศส และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุก ต่อมาระหว่างสมัยร้อยวันในปี 1815 กองทัพพันธมิตรของเขาร่วมกับกองทัพปรัสเซียที่นำโดยพลโทบลือเชอร์ มีชัยเหนือนโปเลียนในยุทธการที่วอเตอร์ลู ชีวิตทหารของเขานั้นเป็นที่น่ายกย่องอย่างยิ่ง จากรายงานราชการสงคราม ตลอดชีวิตทหารของเขาได้ผ่านศึกสงครามมากว่า 60 ครั้ง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการปรับตัวและใช้กลยุทธ์ในการตั้งรับข้าศึกจนสามารถมีชัยนับครั้งไม่ถ้วนเหนือข้าศึกที่มีกำลังเหนือกว่า ในขณะที่ตัวเขาเองก็ได้รับบาดเจ็บน้อยมาก เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้บัญชาฝ่ายตั้งรับตลอดกาล กลยุทธ์และแผนการรบของเขาจำนวนมากถูกนำไปสอนในวิทยาลัยการทหารชั้นนำของโลก ภายหลังออกจากราชการทหาร เขาก็กลับคืนสู่งานการเมือง โดยได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัยโดยสังกัดพรรคทอรี ระหว่างปี 1828 ถึง 1830 และอีกครั้งเป็นช่วงเวลาไม่ถึงเดือนในปี 1834 ต่อมาเขาได้ดำรงตำแหน่งผู้นำในสภาขุนนาง จนกระทั่งเกษียณอายุแต่ยังคงเป็นผู้บัญชาการกองทัพอังกฤษจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการค้าโลก

องค์การการค้าโลก (World Trade Organization, WTO) เป็นองค์การนานาชาติสังกัดองค์การสหประชาชาติ (UN) ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงทางด้านการค้าระหว่างชาติ เป็นเวทีสำหรับการเจรจาต่อรอง ตกลงและขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางการค้าและการบริการระหว่างประเทศสมาชิก องค์การการค้าโลกจัดตั้งขึ้นแทนความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและภาษีศุลกากร เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2538 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมีสมาชิก 164 ประเทศและดินแดน องค์การการค้าโลกมีงบประมาณปี..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและองค์การการค้าโลก · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ แฮมิลตัน-กอร์ดอน เอิร์ลที่ 4 แห่งแอเบอร์ดีน

อร์จ แฮมมิลตัน-กอร์ดอน เอิร์ลที่ 4 แห่งแอเบอร์ดีน (George Hamilton-Gordon, 4th Earl of Aberdeen) เป็นนักการเมืองและนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและจอร์จ แฮมิลตัน-กอร์ดอน เอิร์ลที่ 4 แห่งแอเบอร์ดีน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1

อห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1 (John Russell, First Earl Russell) เป็นนักการเมืองแห่งสหราชอาณาจักรในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีถึงสองสมัย ในปี..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและจอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรแห่งอังกฤษ

ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและคริสตจักรแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

คลาสสิก

ลาสสิก (classic) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

คณิตศาสตร์

ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity. Therefore, Euclid's depiction in works of art depends on the artist's imagination (see ''Euclid''). คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้าง, การเปลี่ยนแปลง และปริภูมิ กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์ ในอดีตผู้คนจะใช้สิ่งของแทนจำนวนที่จะนับยิ่งนานเข้าจำนวนประชากรยิ่งมีมากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มคิดที่จะประดิษฐ์ตัวเลขขึ้นมาแทนการนับที่ใช้สิ่งของนับแทนจากนั้นก็มีการบวก ลบคูณ และหาร จากนั้นก็ก่อให้เกิดคณิตศาสตร์ คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตำรวจนครบาล

รถตำรวจนครบาล ในกรุงลอนดอน ตำรวจนครบาล (Metropolitan police) เป็นเจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเมืองของประเทศต่างๆ รับผิดชอบในการบังคับใช้กฎหมาย,ป้องกันเหตุร้าย,ประสานงานตามเมือง,ตำรวจนครบาลจะมีในประเทศ ต่อไปนี้ ไทย, สหราชอาณาจักร, ญี่ปุ่น, สหรัฐอเมริกา เป็นต้น หมวดหมู่:ตำรวจ.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและตำรวจนครบาล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

แลงคาเชอร์

แลงคาสเชอร์ (ภาษาอังกฤษ: Lancashire) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของสหราชอาณาจักร ด้านตะวันตกติดกับทะเลไอริช ชื่อของมณฑลมาจากชื่อเมืองแลงคาสเตอร์ หรือบางที่เรียกว่า “เคานตี้แห่งแลงคาสเตอร์” - Lancashire และถือว่าเป็นเมืองศูนย์กลางการปกครอง แลงคาสเชอร์เรียกสั้นๆ ว่า “Lancs” แลงคาสเชอร์มีประชาชนรวมทั้งสิ้นประมาณ 1,451,500 คน ในเนื้อที่ 3079 ตารางกิโลเมตร ผู้ที่อาศัยอยู่ในแลงคาสเชอร์เรียกว่า “แลงคาสเตรียน” แลงคาสเชอร์แบ่งการปกครองเป็นสิบสี่แขวง: เวสต์แลงคาสเชอร์, คอร์ลีย์, เซาท์ริบเบิล, ฟิลด์, เพรสตัน, ไวร์, นครแลงคาสเตอร์, ริบเบิลแวลลีย์, เพนเดิล, เบิร์นลีย์, รอสเซ็นเดล, ฮินด์เบิร์น, แบล็คพูล, และ แบล็คเบิร์นและดาร์เวน โดยมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่ เพรสตัน ประวัติศาสตร์แลงคาสเชอร์อาจจะเริ่มราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในบันทึกทะเบียนราษฎรดูมสเดย์ (Domesday Book) ที่ทำในปี..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและแลงคาเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบลฟาสต์

มืองเบลฟาสต์ เบลฟาสต์ (Belfast; Béal Feirste) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในนอร์เทิร์นไอร์แลนด์ มีประชากร 276,459 คนในเขตเมือง และ 579,554 ในเขตปริมณฑล (พ.ศ. 2544).

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและเบลฟาสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เบนจามิน ดิสราเอลี

นจามิน ดิสราเอลี หรือ เบนจามิน ดิสราเอลี เอิร์ลแห่งเบคอนสฟิลด์ (Benjamin Disraeli, 1st Earl of Beaconsfield) (21 ธันวาคม ค.ศ. 1804 – 19 เมษายน ค.ศ. 1881) เป็นรัฐบุรุษของพรรคคอนเซอร์เวทีฟ เบนจามิน ดิสราเอลีเป็นเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย สมัยแรกระหว่างวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1874 ถึงวันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 1880 ในรัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และ สมัยที่สองระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1868 ถึงวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1868 ในรัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรเช่นกัน เมื่อยังเป็นวัยรุ่นดิสราเอลีเปลี่ยนจากการนับถือศาสนายูดายไปนับถือคริสต์ศาสนานิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ แต่อย่างไรก็ตามดิสราเอลีก็ถือว่าเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนเดียวที่มีเชื้อสายยิว ดิสราเอลีมีบทบาทสำคัญในการสร้างพรรคคอนเซอร์เวทีฟใหม่หลังจากความแตกแยกของกฎหมายข้าวโพด ในปีค.ศ. 1846.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและเบนจามิน ดิสราเอลี · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์มินสเตอร์

วสต์มินสเตอร์ (ภาษาอังกฤษ: Westminster) เป็นบริเวณในใจกลางลอนดอน (Central London) ภายในนครเวสต์มินสเตอร์ ที่ตั้งอยู่เหนือของฝั่งแม่น้ำเทมส์ทางตะวันตกเฉียงใต้ของนครหลวงลอนดอน และ 1 กิโลเมตรจากชาริงครอสส์ เวสต์มินสเตอร์เป็นบริเวณที่มีสิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์และสิ่งที่น่าสนใจสำหรับนักท่องเที่ยวที่มาชมลอนดอนรวมทั้งพระราชวังบัคคิงแฮม, แอบบีเวสต์มินสเตอร์ และบริเวณเวสต์เอ็นด์ของลอนดอน (West End of London) เวสต์มินสเตอร์เดิมเป็นส่วนหนึ่งของมิดเดิลเซ็กซ์ที่เป็นมลฑลในประวัติศาสตร์ของอังกฤษ (Historic counties of England) คำว่า “เวสต์มินสเตอร์” เป็นคำบรรยายโบราณของบริเวณรอบแอบบีเวสต์มินสเตอร์ –– “เวสต์” + “มินสเตอร์” (บริเวณทางตะวันตกของมหาวิหาร) เวสต์มินสเตอร์เป็นที่ตั้งของ รัฐบาลแห่งอังกฤษมาร่วมหนึ่งพันปี ตั้งแต่การก่อตั้งในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เวสต์มินสเตอร์ก็เป็นที่ตั้งของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ซึ่งเป็นมรดกโลกและเป็นที่ตั้งของรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและเวสต์มินสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลที่ 14 แห่งดาร์บีย์

อ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลแห่งดาร์บีย์ ที่ 14 (Edward Smith-Stanley, 14th Earl of Derby) เป็นนักการเมืองแห่งสหราชอาณาจักรและดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีสามสมัยในกลางคริสต์ศตวรรษที่สิบเก้า เขาถือเป็นผู้นำพรรคอนุรักษนิยมที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด และเป็นหนึ่งในผู้ผลักดันการแก้ไขระบบการเลือกตั้งในอังกฤษครั้งที่ 2 ในปี 2410 ซึ่งเป็นการให้สิทธิชนชั้นกรรมกรในการเลือกตั้งเป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและเอ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลที่ 14 แห่งดาร์บีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี จอห์น เทมเพิล ไวเคานต์พาลเมอร์สตันที่ 3

นรี จอห์น เทมเพิล ไวเคานต์พาลเมอร์สตันที่ 3 (Henry John Temple, 3rd Viscount Palmerston) เป็นรัฐบุรุษและนักการเมืองชาวอังกฤษผู้ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองสมัยในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 และยังเคยเป็นรัฐมนตรีการสงคราม, รัฐมนตรีต่างประเทศ ตลอดจนรัฐมนตรีปิตุภูมิ เขามักถูกเรียกโดยชื่อเล่นว่า "แพม" หรือ "พังพอน" เขาทำงานอยู่ในรัฐบาลเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 58 ปี ตั้งแต..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและเฮนรี จอห์น เทมเพิล ไวเคานต์พาลเมอร์สตันที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

เดอะไรต์ออนะระเบิล

เดอะไรต์ออนะระเบิล (The Right Honourable; ย่อว่า "The Rt Hon." หรือ "Rt Hon.") แปลว่า ผู้ทรงเกียรติอย่างยิ่ง เป็นคำเรียกขานตามประเพณีสำหรับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลบางจำพวกในสหราชอาณาจักร แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และราชอาณาจักรบางแห่งในเครือจักรภพ ตลอดจนประเทศแถบแคริบเบียนที่ใช้ภาษาอังกฤษ มอริเชียส และประเทศอื่นในบางโอกาส คำเรียกขานนี้สำหรับผู้ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น ไม่ใช้แก่ผู้วายชนม์ หมวดหมู่:คำเรียกขาน.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและเดอะไรต์ออนะระเบิล · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

PeelRobert PeelSir Robert Peelพีลโรเบิร์ต พีลเซอร์ โรเบิร์ต พีล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »