เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ยุน ว็อน-ฮย็อง

ดัชนี ยุน ว็อน-ฮย็อง

น ว็อน-ฮย็อง(윤원형,ค.ศ. 1509-ค.ศ. 1565) เป็นพระอนุชาของพระนางมุนจ็อง เป็นขุนนางคนสำคัญในรัชสมัยพระเจ้าจุงจง และเป็นแกนนำฝ่ายยุนเล็ก.

สารบัญ

  1. 11 ความสัมพันธ์: ชองนานจองพ.ศ. 2052พระสนมคย็องบินพระนางมุนจ็องพระเจ้ามย็องจงพระเจ้าจุงจงฝ่ายยุนเล็กยิม แบยองยุนอิมอาซันคิม อันโล

ชองนานจอง

ชอง นานจอง(정난정,?-พ.ศ. 2108) เป็นอนุภรรยาคนโปรดของ ยุน วอนฮย็อง พระเชษฐาของ พระมเหสีมุนจอง ชองนานจอง เกิดเมื่อใดไม่มีหลักฐานแน่ชัดแต่ในพระราชพงศาวดารของโชซอนได้บันทึกถึงผู้หญิงคนนี้ไว้ว่าเป็นธิดาของ องค์ชายปานึง พระเจ้าอาของ พระเจ้าจุงจง ทำให้นางมีศักดิ์เป็นเชื้อพระวงศ์คนหนึ่งแต่เนื่องจากการลี้ภัยทางการเมืองขององค์ชายปานึงทำให้นางต้องกลายเป็นลูกบุญธรรมของใต้เท้า ชองยุนคยอม แม่ทัพเมืองหลวงในต้นรัชกาลพระเจ้าจุงจง อุปนิสัยของนางเป็นผู้หญิงที่ทะเยอทะยานทำให้ในที่สุดนางก็ได้เป็นอนุภรรยาของ ยุน วอนฮย็อง พระอนุชาของพระมเหสีมุนจองและเหตุการณ์สำคัญในรัชกาลพระเจ้าจุงจงหลายครั้งมักจะมีนานจองมาเกี่ยวข้อง นานจอง ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อปี ค.ศ.

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและชองนานจอง

พ.ศ. 2052

ทธศักราช 2052 ใกล้เคียงกั.

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและพ.ศ. 2052

พระสนมคย็องบิน

พระสนมเอกคย็องบิน ตระกูลปาร์ค (2035-2076) เป็นพระสนมเอกในพระเจ้าจุงจง ทรงเป็นธิดาบุญธรรมของใต้เท้าพัก ว็อน-จง และเข้าวังมาในปีเพียวอิน หลังจากเข้าวังมาพระนางได้ให้การประสูติองค์ชายพกซอง ซึ่งเป็นโอรสองค์โตของพระเจ้าจุงจง หลังจากนั้นพระนางก็ทรงรวบรวมอำนาจจากบรรดาเหล่าขุนนาง ได้แก่ใต้เท้านัมคุนและใต้เท้าฮาชอง นับว่าพระนางทรงเป็นผู้ที่มีอิทธิพลในวังเป็นอย่างมากในยุคนั้น ซ้ำยังเป็นสนมเอกที่กล้าท้าทายอำนาจของ พระมเหสีมุนจอง อย่างไม่เกรงกลัว ภายหลังใต้เท้านัมคุนได้ขึ้นเป็นมหาเสนาบดี พระนางก็ทรงมีอำนาจในวังมากขึ้น แต่สุดท้ายในปีที่ 22 ในรัชสมัยของพระเจ้าจุงจง พระนางถูกใส่ร้ายด้วยเรื่องคดีหนูตายที่สาปแช่งรัชทายาทในวันครบรอบวันประสูติจนเป็นเหตุให้ต้องถูกปลดเป็นสามัญชนรวมทั้งองค์ชายพกซองและถูกขับออกจากวังหลวง หลังจากนั้นก็มีคดีหน้ากากข่มขวัญขึ้นซึ่งมียุนนิมเป็นคนสนับสนุนให้พระสนมฮีพินนำหน้ากากไปแขวนไว้ในวังหลวง ผู้คนจึงเชื่อกันว่ายังมีผู้ที่จงรักภักดีต่อนางที่ทำเรื่องเช่นนี้ขึ้น เหล่าขุนนาง-พระมเหสี-พระพันปีและเหล่าสนมเอกจึงช่วยทูลขอให้พระเจ้าจุงจงทรงประหารพระสนมยองพินและองค์ชายพกซองถึง 19 ครั้งแต่ยังไม่ทรงประหาร แต่สุดท้ายก็ถูกประหารด้วยยาพิษ หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โชซ็อน หมวดหมู่:ตัวละครในบัลลังก์จอมนาง.

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและพระสนมคย็องบิน

พระนางมุนจ็อง

ระนางมุนจ็อง (문정왕후, 文定王后) (2 ธันวาคม พ.ศ. 2044–5 พฤษภาคม พ.ศ. 2108) เป็นพระมเหสีองค์ที่ 3 ของพระเจ้าจุงจงแห่งราชวงศ์โชซ็อน พระนางมุนจ็องเป็นธิดา ของใต้เท้า ยุน จี เม แห่งตระกูล ยุน (ฝ่ายเล็ก) พระนางมุนจ็องเป็นผู้สำเร็จราชการแทน หรือ ว่าราชการหลังม่านให้กับโอรส คือพระเจ้ามย็องจงแห่งโชซ็อน เมื่อพระเจ้ามย็องจงยังทรงพระเยาว์ในการปกครองบ้านเมืองด้วยตนเองจนถึงปี..

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและพระนางมุนจ็อง

พระเจ้ามย็องจง

ระเจ้าเมียงจง (Myeongjong) สามารถหมายถึง.

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและพระเจ้ามย็องจง

พระเจ้าจุงจง

ระเจ้าจุงจง (ค.ศ. 1488 - ค.ศ. 1544) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 11 ของ อาณาจักรโชซ็อน (ค.ศ. 1506 - ค.ศ. 1544).

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและพระเจ้าจุงจง

ฝ่ายยุนเล็ก

ฝ่ายยุนเล็ก (ค.ศ. 1534 — 1565) เป็นกลุ่มขุนนางที่ทรงอำนาจระหว่างรัชกาล พระเจ้าจุงจง - พระเจ้าเมียงจง ฝ่ายยุนเล็ก ถูกตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและฝ่ายยุนเล็ก

ยิม แบยอง

ยิม แบยอง (?-?) เป็นขุนนางคนสำคัญในรัชกาล พระเจ้าจุงจง และเป็นแกนนำ ฝ่ายยุนเล็ก มีฉายาว่า เคมา ตายเพราะม้าซึ่งเกี่ยวข้องกับฉายา ยิม แบยอง เกิดเมื่อใดไม่ปรากฏเป็น ยังบัน หรือ บัณฑิต จากเมือง แฮอัน ได้เดินทางมายัง ฮันยาง เพื่อเข้าสอบเป็นขุนนางเพราะชื่นชอบอุดมการณ์ของ โชวกวางโจ ขุนนางคนสำคัญในต้นรัชกาลพระเจ้าจุงจงที่ต้องการกำจัดพวกขุนนางที่เอาแต่ผลประโยชน์ใส่ตัวแต่เมื่อยิม แบยองมาสอบปรากฏว่าไม่ผ่านหลังจากนั้นก็เข้าสอบเรื่อยๆ ก็ไม่ผ่านอีกจนครั้งสุดท้ายปรากฏว่าเขาสอบผ่านเป็น จอหงวน ได้เป็นขุนนางสมใจจากนั้นเขาก็ได้ร่วมมือกับ ยุน วอนฮย็อง และ ยุน วอนโล ตั้ง ฝ่ายยุนเล็ก ขึ้นและในเหตุการณ์ที่เรียกว่า เหตุการณ์การกวาดล้างปีอึยซา ยิม แบยองผู้นี้ก็ได้หยิบดาบขึ้นไล่ฟันเหล่าขุนนางและบัณฑิต ฝ่ายยุนใหญ่ ล้มตายจำนวนมากแสดงให้เห็นว่าขุนนางผู้นี้แท้จริงแล้วก็เป็นพวกทะเยอทะยานมักใหญ่ใฝู่สูงนั่นเอง หลังจากเหตุการณ์นี้ได้ไม่นานก็ถึงช่วงวาระสุดท้ายในชีวิตของยิม แบยองเมื่อพระเจ้าจุงจงได้ให้เขาเป็นทูตไปยัง ต้าหมิง แต่ยังไม่ทันได้ไปก็พลาดท่าตกม้าตายซึ่งสมกับฉายาของเขาว่า เคมา ที่แปลว่า เสนาบดีตกม้า และนักษัตรในปีนั้นก็คือ มะเมีย ที่มีม้าเป็นสัญลักษณ์ หมวดหมู่:ขุนนางเกาหลี หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โชซ็อน หมวดหมู่:ตัวละครในบัลลังก์จอมนาง.

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและยิม แบยอง

ยุนอิม

นอิม (윤임; ค.ศ. 1487 — ค.ศ. 1545) เป็นขุนนางคนสำคัญในรัชสมัยพระเจ้าจุงจง และเป็นพี่ชายของพระนางพระชังกย็อง ซึ่งมาจากตระกูลยุนจึงมีศักดิ์เป็นพระมาตุลา (ลุง) ขององค์ชายรัชทายาทอีโฮ เมื่อพระนางชังกย็องสิ้นพระชนม์และพระเจ้าจุงจงได้แต่งตั้งพระนางมุนจ็องเป็นพระราชินีองค์ใหม่ ซึ่งมาจากตระกูลยุนเช่นกัน ยุนอิมกลัวว่าตัวเองจะหมดอำนาจลงเขาจึงไปร่วมมือกับคิม อัน-โลขุนนางชั้นผู้ใหญ่ผู้ทรงอิทธิพลเพื่อรักษาฐานอำนาจ ในยุคสมัยนี้แบ่งเป็นยุนใหญ่และยุนเล็กคือยุนอิมและคิม อัน-โลเป็นยุนใหญ่ส่วนยุน ว็อนฮังและยุน ว็อลโล พี่ชายของพระนางมุนจ็องเป็นยุนเล็ก ต่อมาเมื่อคิม อัน-โลถูกประหาร ยุนอิมจึงต้องต่อสู้แบบโดดเดี่ยวเพื่อรักษาฐานอำนาจกับสองพี่น้องจากตระกูลยุนเล็กแต่แล้วยุนอิมก็ถูกประหารในที่สุดเมื่อปี ค.ศ.

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและยุนอิม

อาซัน

อาซัน (Asan) เป็นเมืองในจังหวัดชุงช็องใต้ ประเทศเกาหลีใต้ ตั้งอยู่พิกัดที่ มีขอบเขตติดกับนครพิเศษโซลทางตอนเหนือ เมืองอาซันมีประชากรโดยประมาณ 250,000 คน อาซันมีชื่อเสียงเรื่องบ่อน้ำร้อนและเป็นเมืองแห่งสปา เมืองอาซันนั้นได้ขยายขอบเขตไปยังหมู่บ้านรอบข้างคือ อนยัง-ดง ซึ่งมีชื่อเสียงเรื่องบ่อน้ำร้อนเช่นกัน เมืองอาซันนี้มีชื่อคล้ายกับเมืองอันซันที่อยู่ในจังหวัดคย็องกี.

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและอาซัน

คิม อันโล

มอันโล (1481-1537) เป็นขุนนางผู้ใหญ่ในรัชกาล พระเจ้าจุงจง เป็นแกนนำฝ่ายยุนใหญ่ที่ครองอำนาจในราชสำนักร่วมกับ ยุนนิม และเป็นพ่อพระสวามีของ องค์หญิงฮโยฮเย พระราชธิดาองค์ใหญ่ของพระเจ้าจุงจง.

ดู ยุน ว็อน-ฮย็องและคิม อันโล

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ยุน วอนฮยองยุนวอนฮัง