โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุทธการที่ยะมะซะกิ

ดัชนี ยุทธการที่ยะมะซะกิ

ทธการยะมะซะกิ สงครามการรบที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม..

8 ความสัมพันธ์: การล้อมฮนโนจิวัดฮนโนอะเกะชิ มิสึฮิเดะจังหวัดเกียวโตตระกูลโมะริโอดะ โนบูนางะโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิเซ็ปปุกุ

การล้อมฮนโนจิ

การล้อมฮนโนจิ หรือ กบฏที่วัดฮนโน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1582 ที่วัดฮนโน เมื่ออะเกะชิ มิสึฮิเดะ หนึ่งในขุนศึกของโอะดะ โนะบุนะงะ ระหว่างที่ต้องนำทัพออกรบเขาเกิดทรยศโนะบุนะงะและนำทัพกลับมาล้อมโนะบุนะงะที่ปราสาทเพื่อแก้แค้นโนะบุนะงะที่ทำให้เขาเสียหน้าต่อหน้าขุนศึกคนอื่นแต่โนะบุนะงะไม่อยู่เพราะเขาไปอยู่ที่วัดฮนโนะมิสึฮิเดะจึงนำกำลังไปล้อมที่นั่นและเริ่มโจมตีทำให้ขุนศึกคู่ใจโนะบุนะงะอย่างรันมะรุและโนฮิเมะ ภริยาของโนะบุนะงะตายในศึกครั้งนี้ด้วยเมื่อเห็นว่าตัวเองกำลังจะพ่ายแพ้แล้วโนะบุนะงะจึงฆ่าตัวตายด้วยการเซ็ปปุกุในกองเพลิงหลังจากนั้นมิสึฮิเดะจึงนำกำลังไปล้อมและโจมตีปราสาทของโอะดะ โนะบุตะดะ บุตรชายคนโตและสังหารโนะบุตะดะได้ในที่สุด ไม่ถึงสิบวัน โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ ที่มีธุระอยู่ที่ภูมิภาคชูโงะกุก็ทราบข่าวการกบฏจึงรีบยกทัพกลับเคียวโตะซึ่งระหว่างทางก็ได้รับเอาทหารของโนะบุนะงะที่รอดชีวิตเข้าร่วมกองทัพของตนตลอดเส้นทางและได้พบกับขุนพล นิวะ นะงะฮิเดะ และ โอะดะ โนะบุตะกะในเมืองซะไก ทั้งหมดยกทัพเข้าเคียวโตะและปราบมิสึฮิเดะลงได้ในยุทธการยะมะซะกิ ตัวมิสึฮิเดะถูกสังหารระหว่างกำลังหนีกลับไปตั้งมั่นที่ปราสาท.

ใหม่!!: ยุทธการที่ยะมะซะกิและการล้อมฮนโนจิ · ดูเพิ่มเติม »

วัดฮนโน

ประตูทางเข้าหลักของวัดฮนโน วิหารของวัดฮนโน วัดฮนโน วัดในพระพุทธศาสนานิกาย นิชิเร็น ซึ่งเป็นนิกายย่อยของนิกาย มหายาน ตั้งอยู่ในเมือง เคียวโตะ วัดฮนโนเป็นที่รู้จักจากเหตุการณ์ที่เรียกว่า การล้อมฮนโนจิ หรือ กบฏวัดฮนโน เนื่องจาก โอะดะ โนะบุนะงะ ขุนศึกผู้ทรงอำนาจและอิทธิพลแห่ง ยุคอะซุชิโมะโมะยะมะ ได้มาพำนักที่นี่ก่อนจะถูกโจมตีจากทางฝั่งตะวันตกในช่วงเช้ามืดของวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: ยุทธการที่ยะมะซะกิและวัดฮนโน · ดูเพิ่มเติม »

อะเกะชิ มิสึฮิเดะ

อะเกะชิ มิสึฮิเดะ เป็นขุนพลคนสำคัญของ โอะดะ โนะบุนะงะ ในยุคเซ็งโงะก.

ใหม่!!: ยุทธการที่ยะมะซะกิและอะเกะชิ มิสึฮิเดะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเกียวโต

ังหวัดเกียวโต เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่บนเกาะฮนชู มีเมืองหลักชื่อเดียวกันคือเมืองเกียวโต มีความสำคัญเคยเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น มีโบราณวัตถุมากมาย มีชื่อในการทำผ้าไหมและแพร.

ใหม่!!: ยุทธการที่ยะมะซะกิและจังหวัดเกียวโต · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลโมะริ

ตระกูลโมะริ (Mori Clan,Mori-shi) เป็นตระกูลไดเมียวที่ได้ปกครอง แคว้นโจชู ตั้งแต่ปี 1600-1871 โดยที่ตระกูลโมะริสืบเชื้อสายจาก โอะเอะ โนะ ฮิโระโมะโตะ ขุนนางผู้วางรากฐานการปกครองของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และตระกูลโมะริก็เป็นแกนนำสำคัญในการโค่นล้ม รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ หมวดหมู่:ยุคเอโดะ.

ใหม่!!: ยุทธการที่ยะมะซะกิและตระกูลโมะริ · ดูเพิ่มเติม »

โอดะ โนบูนางะ

อดะ โนบุนางะ เป็นไดเมียว และหนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคเซงโงกุ เป็นหนึ่งในสามผู้รวบรวมญี่ปุ่นจากความแตกแยกในยุคเซงโงก.

ใหม่!!: ยุทธการที่ยะมะซะกิและโอดะ โนบูนางะ · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.

ใหม่!!: ยุทธการที่ยะมะซะกิและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็ปปุกุ

ีกรรมฮาราคีรี เซ็ปปุกุ หรือ ฮาราคีรี เป็นการฆ่าตัวตายโดยการคว้านท้อง ในยุคซามูไร ของประเทศญี่ปุ่น โดยใช้มีดสั้นแทงที่หน้าท้องใต้เอวขวา แล้วกรีดมาทางซ้ายแล้ว ดึงมีดขึ้นข้างบน ซึ่งเป็นการเปิดเยื่อบุช่องท้องแล้วตัดลำไส้ให้ขาด หลังจากนั้นซามูไรอีกคนหนึ่งจะใช้ดาบซามูไรตัดศีรษะจนขาด การตายด้วยวิธีนี้ เชื่อว่าเป็นการตายอย่างมีเกียรติแล้ว ส่วนใหญ่ผู้ทำเซ็ปปุกุทำตามหลักศาสนาชินโตที่จารึกไว้ในคัมภีร์โคะจิคิ เพราะแสดงความกล้าหาญและพิสูจน์ให้เห็นถึงความสามารถในการบังคับจิตใจของตนเอง การคว้านท้องถูกนำมาใช้โดยสมัครใจที่จะตายกับซามูไรที่มีเกียรติแทนที่จะตกอยู่ในมือของศัตรูของพวกเขา (และน่าจะถูกทรมาน) เป็นรูปแบบของโทษประหารชีวิตสำหรับซามูไรที่มีการกระทำผิดร้ายแรงหรือดำเนินการ เหตุผลอื่น ๆ ที่ได้นำความอัปยศแก่พวกเขา การฆ่าตัวตายโดยการจำยอมจึงถือเป็นพิธีซึ่งโดยปกติจะเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมซับซ้อนมากขึ้นและการดำเนินการในฐานะที่ต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจในการต้องการในการรักษาเกียรติของพวกเขาจึงควรมีผู้คนมาชมขณะทำเซ็ปปุกุด้วย ในญี่ปุ่น คำว่า "ฮาราคีรี" ถือเป็นคำหยาบและไม่เคารพต่อผู้กระทำเซ็ปปุกุ และการเขียนตัวอักษรคันจิของสองคำนี้เขียนเหมือนกันโดยสลับตัวอักษรหน้าหลัง.

ใหม่!!: ยุทธการที่ยะมะซะกิและเซ็ปปุกุ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ยุทธการยะมะซะกิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »