โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มะซารีชะรีฟ

ดัชนี มะซารีชะรีฟ

มะซารีชะรีฟ (Mazar-i-Sharif หรือ Mazar-e-Sharif; เปอร์เซีย/พัชโต: مزارِ شریف) เป็นนครที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศอัฟกานิสถาน มีประชากร 693,000 คน (ค.ศ. 2015) เป็นเมืองเอกของจังหวัดบัลข์ เชื่อมต่อโดยทางด่วนกับเมืองคันดุซทางทิศตะวันออก คาบูลทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เฮราตทางทิศตะวันตกและประเทศอุซเบกิสถานทางทิศเหนือ เมืองมะซารีชะรีฟรวมกับเฮราต จะลาลาบาดทางทิศตะวันออกและกันดะฮาร์ทางทิศใต้ ถือเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของอัฟกานิสถานในเอเชีย เมืองเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการท่องเที่ยวเพราะมีชื่อเสียงจากการมีมัสยิดที่มีชื่อเสียง เช่นเดียวกับเป็นสถานที่สำคัญด้านโบราณสถานในสมัยเฮลเลนิสติก ในปี..

12 ความสัมพันธ์: กันดะฮาร์ภาษาพัชโตภาษาเปอร์เซียราชวงศ์ตีมูร์ราชวงศ์ซัฟฟาริดสมัยเฮลเลนิสต์จะลาลาบาดจังหวัดบัลข์คาบูลประเทศอัฟกานิสถานประเทศอุซเบกิสถานประเทศทาจิกิสถาน

กันดะฮาร์

กันดะฮาร์ (Kandahar; کندهار) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของอัฟกานิสถาน รองจากกรุงคาบูล ข้อมูลประชากรปี 2011 ทั้งหมด 512,200 คน ตั้งอยู่ในจังหวัดกันดะฮาร์ สูง 1,005 เมตรจากระดับน้ำทะเล แม่น้ำที่สำคัญได้แก่ แม่น้ำอาร์กันดั.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและกันดะฮาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพัชโต

ษาพัชโต (Pashto, Pashtoe, Pushto, Pukhto; پښتو, pax̌tō) หรือ ภาษาปุกโต หรือเรียกในเชิงประวัติศาสตร์ว่า ภาษาอัฟกัน (Afghani; افغاني, afğānī) และ ภาษาปาทาน (Pathani) เป็นภาษาแม่ของชาวปาทาน (Pashtun) ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศอัฟกานิสถานและแคว้นทางตะวันตกของประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและภาษาพัชโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตีมูร์

ราชวงศ์ตีมูร์ หรือ จักรวรรดิตีมูร์ (Timurid dynasty, تیموریان ตั้งตนเป็นGurkānī, گوركانى) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เชียของซุนนีย์มุสลิมในเอเชียกลางที่เดิมมาจากผู้สืบเชื้อสายจากราชวงศ์เติร์ก-มองโกล (Turko-Mongol)Encyclopædia Britannica, "", Online Academic Edition, 2007.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและราชวงศ์ตีมูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซัฟฟาริด

ราชวงศ์ซาฟฟาริยะห์ (سلسله صفاریان, Saffarid dynasty) เป็นจักรวรรดิเปอร์เชีย ที่ปกครองในซิสถาน (Sistan) ระหว่างปี ค.ศ. 861 และรุ่งเรืองมาจนกระทั่งปี ค.ศ. 1003 ในบริเวณประวัติศาสตร์ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของอิหร่าน และทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของอัฟกานิสถาน โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ซารันจ์ (Zaranj) ราชวงศ์ซาฟฟาริยะห์ก่อตั้งโดย และได้ชื่อมาจากยะอกูป อิบนุ ลัยษ อัส-ซาฟฟาร์ (یعقوب لیث صفاری - Ya'qub bin Laith as-Saffar) ผู้มาจากชนชั้นรองในสังคมที่เริ่มจากการเป็นช่างทองแดง และค่อยสร้างฐานะจนกลายเป็นขุนศึก (warlord) ยะอกูปยึดอำนาจในบริเวณซิสถาน และยึดอัฟกานิสถานได้ทั้งหมด, อิหร่านปัจจุบัน และบางส่วนของปากีสถาน และมาใช้ซารันจ์เป็นฐานในการขยายดินแดนครั้งใหญ่ไปทางตะวันออกและตะวันตก ต่อมายะอกูปก็โค่นราชวงศ์ทาฮิริยะห์ (Tahirid dynasty) และผนวกบริเวณเกรตเตอร์โคราซาน (greater Khorasan) ในปี ค.ศ. 873 เมื่อเสียชีวิตยะอกูปก็พิชิตดินแดนต่างๆ ได้มากมายที่รวมทั้งหุบเขาคาบูล (Kabulistan) สินธ์, ตอคาริสถาน (Tocharistan), มาครัน (บาโบคิสถาน), เคอร์มัน, ฟาร์ส, โคราสถาน จนเกือบถึงแบกแดด แต่ก็มาได้รับความพ่ายแพ้ จักรวรรดิซาฟฟาริยะห์รุ่งเรืองอยู่เพียงระยะเวลาอันสั้นหลังจากการเสียชีวิตของยะอกูป อัมร บิน ลัยษ (عمرو لیث صفاری - Amr bin Laith) ผู้เป็นผู้นำต่อจากพี่ชายพ่ายแพ้ต่อราชวงศ์ซามานิยะห์ (Samanids) ในปี ค.ศ. 900 อัมรจึงจำต้องยกดินแดนทั้งหมดให้แก่ผู้ชนะคนใหม่ ต่อมาอาณาบริเวณของซาฟฟาริยะห์ก็จำกัดอยู่แต่ในบริเวณใจกลางของซิสถานและต้องลดฐานะลงเป็นเพียงรัฐบริวารของราชวงศ์ซามานิยะห์และผู้มีอำนาจต่อม.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและราชวงศ์ซัฟฟาริด · ดูเพิ่มเติม »

สมัยเฮลเลนิสต์

มัยเฮลเลนิสต์ (Hellenistic period) เป็นสมัยที่เริ่มขึ้นหลังจากอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซิดอนได้รับชัยชนะต่อจักรวรรดิเปอร์เชีย ในช่วงนี้อารยธรรมของกรีกก็ขึ้นถึงจุดสูงสุดทั้งในยุโรปและเอเชีย มักจะถือกันว่าเป็นสมัยคาบเกี่ยว (transition) หรือบางครั้งก็เกือบจะถือว่าเป็นสมัยของความเสื่อมโทรมหรือสมัยของการใช้ชีวิตอันเกินเลย (decadence) ระหว่างความรุ่งเรืองของสมัยกรีกคลาสสิก (Classical Greece) กับการเริ่มก่อตัวของจักรวรรดิโรมัน สมัยเฮลเลนิสต์ถือกันว่าเริ่มขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของอเล็กซานเดอร์มหาราชในปี 323 ก่อนคริสต์ศตวรรษ จนมาสิ้นสุดลงราวปี 146 ก่อนคริสต์ศตวรรษซึ่งเป็นปีที่สาธารณรัฐโรมันได้รับชัยชนะต่อดินแดนสำคัญของกรีซ หรืออาจจะดำเนินต่อมาถึงปี 30 ก่อนคริสต์ศตวรรษเมื่อมาเสียราชอาณาจักรทอเลมีในอียิปต์แก่จักรวรรดิโรมันซึ่งเป็นดินแดนสุดท้ายที่ยังคงรักษาอารยธรรมเฮลเลนิสต์ สมัยเฮลเลนิสต์เป็นสมัยทีเป็นการก่อตั้งราชอาณาจักร และเมืองต่าง ๆ ของกรีกในเอเชียและแอฟริก.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและสมัยเฮลเลนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

จะลาลาบาด

ลาลาบาด (พาชตู/เปอร์เซีย: جلال آباد) หรือเดิมชื่อว่า อะดีนะปูร์ (آدينه پور) เป็นเมืองทางตะวันออกของประเทศอัฟกานิสถาน ทางตะวันตกของช่องเขาไคเบอร์ บริเวณแม่น้ำคาบูลและแม่น้ำคูนาร์ตัดกัน จะลาลาบาดเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของอัฟกานิสถานตะวันออก เป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจ มีอุตสาหกรรมทำกระดาษ สินค้าเกษตร เช่น ส้ม ข้าว และอ้อย และยังเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางการค้ากับประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและจะลาลาบาด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบัลข์

มัสยิดสีฟ้าในจังหวัดบัลข์ จังหวัดบัลข์ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและจังหวัดบัลข์ · ดูเพิ่มเติม »

คาบูล

ูล (Kabul): Kâb'l, ภาษาเปอร์เซีย: کابل) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของอัฟกานิสถาน มีประชากรที่มีการประมาณการณ์ระหว่าง 2 - 4 ล้านคน เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม มีตั้งทางยุทธศาสตร์ในหุบเขาแคบ ๆ บนแม่น้ำคาบูล, ในภูเขาสูง ๆ ก่อนถึงช่องเขาไคเบอร์ คาบูลติดต่อกับพรมแดนทาจิกิสถานผ่านทางอุโมงค์ใต้เทือกเขาฮินดู คูช อยู่เหนือระดับน้ำทะเลประมาณ 1,800 เมตร (5,900 ฟุต) ผลิตภัณฑ์หลัก ๆ ของคาบูล คือ ปืนใหญ่ ผ้า เฟอร์นิเจอร์ และน้ำตาลบีท อย่างไรก็ดี สงครามที่มีมาต่อเนื่องตั้งแต่พ.ศ. 2522 ได้จำกัดผลผลิตทางเศรษฐกิจของเมือง คาบูลเป็นหนึ่งในเมืองที่มีการวางระเบิดไว้มากที่สุดในโลก ประชากรของคาบูลมีหลากหลายวัฒนธรรม และหลากหลายชนชาติ สะท้อนถึงความหลากหลายของอัฟกานิสถาน โดยที่ชนชาติพาชตุน ทาจิก และฮาซารา ประกอบเป็นประชากรของคาบูลส่วนใหญ่ คาบูลยังคงกำลังก่อสร้างใหม่ หลังจากที่เกิดสงครามมาหลายทศวรรษ ทำให้การสำรวจประชากรที่แม่นยำยาก จึงมีเฉพาะค่าประมาณ.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและคาบูล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอัฟกานิสถาน

อัฟกานิสถาน (Afghanistan; افغانستان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันตกจรดประเทศอิหร่าน ทางทิศใต้และตะวันออกติดปากีสถาน ทางทิศเหนือติดเติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน และทาจิกิสถาน ส่วนทางทิศตะวันออกสุดติดประเทศจีน อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ระหว่างการล้มตอลิบานโดยการรุกรานอัฟกานิสถานของสหรัฐอเมริกา และความสำเร็จของโลยา จีร์กา ในปี พ.ศ. 2546 ชาวตะวันตกเรียกอัฟกานิสถานว่า Transitional Islamic State of Afghanistan อย่างไรก็ดี ภายใต้รัฐธรรมนูญของอัฟกานิสถานฉบับปัจจุบัน ประเทศนี้เรียกว่า สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน ในปัจจุบันเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศทาจิกิสถาน

ทาจิกิสถาน (Tajikistan; Тоҷикистон) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐทาจิกิสถาน (Republic of Tajikistan; Ҷумҳурии Тоҷикистон) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคเอเชียกลาง มีอาณาเขตติดต่อกับอัฟกานิสถาน จีน คีร์กีซสถาน และอุซเบกิสถาน ทาจิกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: มะซารีชะรีฟและประเทศทาจิกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Mazar-i-Sharif

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »