เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มหาสมุทรแปซิฟิกและโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มหาสมุทรแปซิฟิกและโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ

มหาสมุทรแปซิฟิก vs. โครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก. รงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ (ASTP) (Экспериментальный полёт «Союз» — «Аполлон», Eksperimantalniy polyot Soyuz-Apollon ตามตัวอักษร "เที่ยวบินทดสอบโซยุซ-อะพอลโล") เป็นโครงการเที่ยวบินอวกาศที่ร่วมมือกันครั้งแรกระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียต และเป็นเที่ยวบินสุดท้ายของยานอวกาศอะพอลโล วัตถุประสงค์หลักคือเป็นสัญลักษณ์แห่งนโยบายยุคแห่งการผ่อนคลายความตึงเครียดที่ทั้งสองมหาอำนาจกำลังดำเนินในเวลานั้น และเป็นการสิ้นสุดการแข่งขันอวกาศระหว่างสองประเทศที่เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1957 ภารกิจดังกล่าวมีทั้งการทดลองวิทยาศาสตร์ร่วมและแยกกัน และการทดลองทางวิศวกรรมที่เป็นประโยชน์แก่การบินอวกาศร่วมสหรัฐ-รัสเซียในอนาคต เช่น โครงการกระสวยอวกาศ–มีร์ และสถานีอวกาศนานาชาติ ภารกิจดังกล่าวเป็นภารกิจอวกาศสุดท้ายที่มีคนบังคับของสหรัฐกระทั่งเที่ยวบินแรกของสเปซชัทเทิลในเดือนเมษายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มหาสมุทรแปซิฟิกและโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ

มหาสมุทรแปซิฟิกและโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มหาสมุทรแปซิฟิกและโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ

มหาสมุทรแปซิฟิก มี 97 ความสัมพันธ์ขณะที่ โครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (97 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มหาสมุทรแปซิฟิกและโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: