โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยศิลปากร

ดัชนี มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

237 ความสัมพันธ์: บรรณพจน์ ดามาพงศ์ชลูด นิ่มเสมอชวัลกร วรรธนพิสิฐกุลชวน หลีกภัยชัยชาญ ถาวรเวชบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรชาญณรงค์ ขันฑีท้าวชิบ จิตนิยมชุมพล ศิลปอาชาชีววิทยาบีอีซี-เทโร มิวสิคชนกวนันท์ รักชีพช่วง มูลพินิจฟรีเพลย์พระบรมมหาราชวังพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพิฆเนศพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)พระราชบัญญัติพระราชวังสนามจันทร์พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณรายพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์พระตำหนักทับขวัญพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์พล นพวิชัยพิธีสำเร็จการศึกษาพูน เกษจำรัสพจมาน ณ ป้อมเพชรพนิตา กำภู ณ อยุธยากรมราชองครักษ์กรมศิลปากรกรมธนารักษ์กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกฤตธีรา อินพรวิจิตรกลิ่นสีและกาวแป้งการออกแบบการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยก้านกล้วยภาวดี คุ้มโชคไพศาล...ภาคตะวันตก (ประเทศไทย)ภูมิภาคของประเทศไทยมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยทักษิณมหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีมหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวทงมาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดารมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2551มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2552มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2553มิสไทยแลนด์เวิลด์มิสไทยแลนด์เวิลด์ 2556มิสเอเชียมติชนมนุษยศาสตร์มนตรี เจนอักษรยุทธเลิศ สิปปภาคราชกิจจานุเบกษารณภพ รากะรินทร์ฤทัย ใจจงรักลักษณ์นารา เปี้ยทาวรรณรท สนธิไชยวัชระ สุขชุมวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหารวัดร่องขุ่นวังท่าพระวิชญาณี เปียกลิ่นวิศวกรรมศาสตร์วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยงวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์สุขภาพวิทยาศาสตร์ธรรมชาติวนิดา พึ่งสุนทรศิลปศาสตร์ศิลปะศิลปินแห่งชาติศิลป์ พีระศรีศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)ศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากรสมาน ฟูตระกูลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสฤษดิ์ ธนะรัชต์สล็อตแมชชีน (วงดนตรี)สวัสดิ์ ตันติสุขสังคมศาสตร์สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนสุวรรณี สุคนธาสุทธิพงษ์ วัฒนจังสีเขียวสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีสครับบ์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากรอภิวัชร์ เอื้อถาวรสุขอมรินทร์ทีวีอรุณพงศ์ ชัยวินิตย์อักษรย่ออังคาร กัลยาณพงศ์อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยอาวุธ เงินชูกลิ่นอำเภอชะอำอำเภอเมืองนครปฐมอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2538อุดมศึกษาอดุล วิเชียรเจริญองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่นจรูญวิทย์ พัวพันวัฒนะจักรพันธุ์ โปษยกฤตจังหวัดราชบุรีจังหวัดนครปฐมจังหวัดเชียงรายจังหวัดเพชรบุรีจันจิตรกรรมจุมพล อดุลกิตติพรจีดีเอช ห้าห้าเก้าธมลวรรณ กอบลาภธนากูลธีร์ วณิชนันทธาดาธนิต อยู่โพธิ์ถวัลย์ ดัชนีถนอม กิตติขจรถนนหน้าพระลานทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 5ทวีศักดิ์ เสนาณรงค์ทวีปเอเชียทัศนศิลป์ท่าช้างวังหลวงขรรค์ชัย บุนปานดัชชี่บอยแอนด์เกิร์ลคอกโครัลลีไซมอนส์คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากรค็อกเทล (วงดนตรี)ตราแผ่นดินของไทยตีสิบต้นหน ตันติเวชกุลซานตาลูชีอาประยุทธ์ จันทร์โอชาประเวศ ลิมปรังษีประเทศอิตาลีประเทศตุรกีประเทศไทยปริญญาตรีปริญญาโทปริญญาเอกปุยฝ้ายนัฏฐา ลอยด์นายกรัฐมนตรีไทยนางสาวไทยนนทพร ธีระวัฒนสุขนนทรีย์ นิมิบุตรนนทิวรรธน์ จันทนะผะลินแบงแชนแนลแก้ว (พรรณไม้)แปลก พิบูลสงครามโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากรโลกโซนี่มิวสิกเอ็นเตอร์เทนเมนต์ไอรดา ศิริวุฒิไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ไทยซุปเปอร์โมเดลคอนเทสต์ไขศรี ศรีอรุณเกษม วัฒนชัยเกษม สุวรรณกุลเกาะรัตนโกสินทร์เสิร์ชเอนจินเสนีย์ วิลาวรรณเหมือนแพร พานะบุตรเอเชียวีกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เผ่าทอง ทองเจือเทยเที่ยวไทยเทคโนโลยีเทคโนโลยีสารสนเทศเทเลทับบีส์เดอะ พีชแบนด์เดอะมูสส์เดอะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 3เดอะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 5เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 2เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 4เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 5เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์เฉลียว ยาจันทร์เปรื่องปราชญ์ ประสาตร์สานเนเปิลส์ ขยายดัชนี (187 มากกว่า) »

บรรณพจน์ ดามาพงศ์

นายบรรณพจน์ ดามาพงศ์ บรรณพจน์ ดามาพงศ์ พี่ชายคนโตของคุณหญิงพจมาน ดามาพงศ์ เป็นบุตรบุญธรรมของครอบครัว พล.ต.ท.เสมอ ดามาพงศ์ และคุณหญิงพจนีย์ ณ ป้อมเพ็ชร์ สมรสกับนางบุษบา ดามาพงศ์ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากร และหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) จากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 9 และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการการศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ประจำปีการศึกษา 2549-2550 และกรรมการสถาบันพระปกเกล้า เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ศาลอาญาพิพากษาให้จำคุก นายบรรณพจน์ และคุณหญิงพจมาน คนละ 3 ปี ในคดีร่วมกันจงใจหลีกเลี่ยงภาษีหุ้น บริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด (มหาชน) มูลค่า 546 ล้านบาท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและบรรณพจน์ ดามาพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชลูด นิ่มเสมอ

ตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ เกิดเมื่อ 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและชลูด นิ่มเสมอ · ดูเพิ่มเติม »

ชวัลกร วรรธนพิสิฐกุล

วัลกร วรรธนพิสิฐกุล หรือ กระติ๊บ เกิดวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและชวัลกร วรรธนพิสิฐกุล · ดูเพิ่มเติม »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

ชัยชาญ ถาวรเวช

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช (Asst.) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรคนที่ 18 (13 มีนาคม พ.ศ. 2556 – 12 มีนาคม พ.ศ. 2560) สมรสกับนางรัชฎา ถาวรเวช (อดีตเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงบูคาเรสต์ ประเทศโรมาเนีย).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและชัยชาญ ถาวรเวช · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร (Graduate School, Silpakorn University) มีหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางในการบริหารการศึกษา และประสานงานการจัดการศึกษาระดับที่สูงขึ้น ตลอดจนวางแผน วางนโยบาย และควบคุมมาตรฐานการศึกษา การวิจัยประสานงาน สนับสนุน อำนวยความสะดวกในการจัดการศึกษาและวิจัยให้แก่คณะที่เปิดสอน ทำหน้าที่ประเมินและสรุปผลการศึกษาวิจัย ซึ่งจะเป็นการแบ่งเบาภาระงานของคณะ จะทำให้งานสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และได้มาตรฐานเท่าเทียมกันทุกสาขาวิชาที่เปิดสอนทั้ง 3 วิทยาเขต ปัจจุบัน บัณฑิตวิทยาลัยเปิดสอนระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต ปริญญามหาบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิต ทั้งหลักสูตรภาคปกติและหลักสูตรลักษณะโครงการพิเศษ เปิดสอนนอกเวลาราชการในบางสาขาว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

ชาญณรงค์ ขันฑีท้าว

ติ๊ก กลิ่นสี มีชื่อจริงว่า ชาญณรงค์ ขันฑีท้าว (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นนักแสดง เริ่มเป็นที่รู้จัก จากภาพยนตร์เรื่อง "กลิ่นสีและกาวแป้ง" (2531) จบการศึกษาจาก คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ต่อมาได้ร่วมหุ้นกับ "เกียรติ กิจเจริญ" (ซูโม่กิ๊ก) พิธีกรและดาวตลกชื่อดัง เปิดบริษัท ทริปเปิ้ล ทู จำกัด ผลิตรายการเกมโชว์ "แสบคูณสอง” ตั้งแต่ปี 2540 ตามมาด้วยรายการ "รักกันสนั่นเมือง", "เกมพันหน้า", "จิกะไบท์", "ยุทธการบันเทิง", วันวานยังหวานอยู่ และยังเป็นผู้จัดละครให้กับช่อง 7 สี โดยสร้างพล็อตเรื่องและกำกับการแสดงด้วยตนเอง ในละครเรื่อง "ตลาด โรงเจ ลิเก ความรัก" และตามด้วยเรื่อง "รักวันละนิด".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและชาญณรงค์ ขันฑีท้าว · ดูเพิ่มเติม »

ชิบ จิตนิยม

ตนิยม เป็นเจ้าของรายการ จับกระแสโลก รองจากคุณสุทธิชัย หยุ่น ทางสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี หลังจากนั้นก็ลาออกมาอยู่ที่ช่อง 7 ปัจจุบันเป็นผู้ประกาศข่าวร่วม ช่วง เป็นข่าวเพื่อนบ้านกับเอเชียคอนเน็ค ในข่าวชาวบ้าน วันจันทร์-วันอาทิตย์ ทางช่อง 3 เอสดี และ ผู้ประกาศข่าว ช่วง World Connect ใน Weekend Life วันเสาร์-วันอาทิตย์ ทาง ช่อง 3 แฟมิลี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและชิบ จิตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ชุมพล ศิลปอาชา

มพล ศิลปอาชา (6 มิถุนายน พ.ศ. 2483 — 21 มกราคม พ.ศ. 2556) เป็น รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายสมัย ตลอดจนตำแหน่งทางการเมืองอื่น ๆ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและชุมพล ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

ชีววิทยา

ีววิทยา (Biology) เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และสิ่งมีชีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสร้าง การทำงาน การเจริญเติบโต ถิ่นกำเนิด วิวัฒนาการ การกระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเป็นการศึกษาในทุก ๆ แง่มุมของสิ่งมีชีวิต โดยคำว่า ชีววิทยา (Biology) มาจากภาษากรีก คือคำว่า "bios" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ "logos" แปลว่า วิชา หรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและชีววิทยา · ดูเพิ่มเติม »

บีอีซี-เทโร มิวสิค

ริษัท บีอีซี-เทโร มิวสิค จำกัด บริษัทค่ายเพลงไทยในเครือ บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ มีพอล มนัสถาวร เป็นผู้จัดการทั่วไป บีอีซี-เทโร มิวสิค จดทะเบียนเมื่อ กรกฎาคม พ.ศ. 2556 เกิดจากการควบรวมกิจการกันของ โซนี่ มิวสิค เอ็นเตอร์เทนเมนท์ และ บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ ซึ่งก่อนหน้านั้นในปี พ.ศ. 2541 บีอีซี-เทโร เคยเข้ามาถือหุ้นในโซนี่ มิวสิค ประเทศไทยในชื่อว่า โซนี่ มิวสิค บีอีซี-เทโร โดยสำนักงานอยู่ที่ตึกคิวเฮ้าส์ ถนนเพลินจิต ก่อนจะย้ายไปตึกมาลีนนท์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและบีอีซี-เทโร มิวสิค · ดูเพิ่มเติม »

ชนกวนันท์ รักชีพ

นกวนัน รักชีพ เป็นนักแสดง และ นางแบบหญิงชาวไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและชนกวนันท์ รักชีพ · ดูเพิ่มเติม »

ช่วง มูลพินิจ

วง มูลพินิจ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี พ.ศ. 2556 เป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงชาวไทย มีผลงานปรากฏทั้งในด้านจิตรกรรมและประติมากรรมตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา งานของช่วงในระยะแรกเริ่มเป็นภาพลายเส้นประยุกต์ลายไทย ต่อมาจึงใช้เทคนิคสีน้ำ และสีน้ำมัน ผลงานส่วนใหญ่แสดงถึงเรื่องราวของดอกไม้ แมลง สัตว์ มนุษย์ ผนึกเรื่องราวทางอุดมคติกับธรรมชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและช่วง มูลพินิจ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีเพลย์

ฟรีเพลย์ (Freeplay) เป็นวงดนตรีแนว pop rock ที่ถูกคัดสรรโดย “อัลเบิร์ต ยูเอชที ” และทีมโปรดิวเซอร์ของแกรมมี่ อัลบั้มชุดแรกมีเพลงฮิตอย่าง "ชอบสั่ง" และอัลบั้มชุดที่ 2 ของพวกเขา “Play2”กับแนวดนตรี Pop Rock ตามแบบฉบับของ Freeplay.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและฟรีเพลย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพิฆเนศ

ระคเณศ (गणेश பிள்ளையார் Ganesha) ชาวไทยนิยมเรียกว่า พระพิฆเนศ (विघ्नेश) พระพิฆเณศวร พระพิฆเณศ หรือ พระคณปติ ทรงเป็นเทพในศาสนาฮินดู ทรงเป็นเทพแห่งความสำเร็จ ทั้งยังทรงเป็นเทพแห่งศิลปวิทยาการและการประพันธ์ ทรงเป็นหัวหน้านำคณะข้ามความขัดข้อง (ผู้เป็นใหญ่เหนือความขัดข้อง).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระพิฆเนศ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)

ตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน (14 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) นักปราชญ์และนักการศึกษาคนสำคัญของไทย ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมและเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลกชาวไทย ประจำปี พ.ศ. 2531 ขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตามปรกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ นอกจากรัฐธรรมนูญ ก่อนประกาศใช้บังคับ พระราชบัญญัติมีอยู่ชนิดเดียว แต่บัดนี้รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติให้มีพระราชบัญญัติขึ้นอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ” ซึ่งรัฐธรรมนูญฯ บังคับให้ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในกรณีบางเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2541 การตราพระราชบัญญัตินั้นจะทำได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ก็มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ คำว่า พระราชบัญญัติ เป็นชื่อเรียกกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้อนุญาต สำหรับประเทศอื่นที่พระมหากษัตริย์ไม่ใช่ผู้อนุญาต (เช่นประธานาธิบดี) จะเรียกว่า รัฐบัญญัติ หมวดหมู่:บ่อเกิดของกฎหมาย.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระราชบัญญัติ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังสนามจันทร์

ระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่ในตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ห่างจากพระปฐมเจดีย์ประมาณ 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากพระองค์สวรรคต พระราชวังสนามจันทร์ใช้เป็นที่ทำการของส่วนราชการต่าง ๆ ของจังหวัดนครปฐม รวมทั้งเป็นวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบัน พระราชวังสนามจันทร์อยู่ภายใต้การดูแลของสำนักพระราชวัง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระราชวังสนามจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย

ระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2381 — 22 มิถุนายน พ.ศ. 2457) มีพระนามเดิม หม่อมเจ้าแฉ่ ศิริวงศ์ เป็นพระธิดาในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ประสูติแต่หม่อมกิ่ม ศิริวงศ์ ณ อยุธยา ต่อมาได้รับพระราชทานพระนาม พรรณราย จากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเข้ารับราชการฝ่ายในเป็นพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา หม่อมเจ้าพรรณราย ขึ้นเป็น พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย ด้วยเป็นพระมาตุจฉาที่ทรงสนิทสนมคุ้นเคยมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณรายสิ้นพระชนม์ ณ ตำหนักที่ประทับในวังท่าพระ ซึ่งเป็นวังของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์พระโอรส ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์

ระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ เป็นพระตำหนักที่โดดเด่นที่สุดในหมู่พระตำหนักและพระที่นั่งในพระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสนามใหญ่ สร้างขึ้นราวปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์

ระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ เป็นพระตำหนัก 2 ชั้น สร้างด้วยไม้สักทอง ทาสีแดง มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิกของประเทศทางตะวันตก แต่ได้มีการปรับปรุงองค์ประกอบบางส่วน ให้เหมาะกับภูมิอากาศแบบเมืองร้อน พระตำหนักองค์นี้สร้างขึ้นคู่กับพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ โดยมีฉนวนทางเดินทำเป็นสะพานจากชั้นบนด้านหลังของพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ ข้ามคูน้ำเชื่อมกับชั้นบนด้านหน้าของพระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ สะพานดังกล่าวหลังคามุงกระเบื้องและติดหน้าต่างกระจกทั้งสองด้าน ตลอดความยาวของสะพานที่เชื่อมติดต่อถึงกัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักนี้ ในราวปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักทับขวัญ

ระตำหนักทับขวัญในพระราชวังสนามจันทร์ มีลักษณะแบบเรือนไทยภาคกลาง พระตำหนักทับขวัญ เป็นหมู่เรือนไทย มีชานเชื่อมต่อกันหมด เช่นหอนอน 2 หอ เรือนโถง เรือนครัว หอนกอยู่ที่มุมของเรือน ใช้วิธีเข้าไม้แบบโบราณ ฝาเรือนทำเป็นฝาไม้ปะกนกรอบลูกฟังเชิงชายและไม้ค้ำยันสลักสวยงาม ออกแบบโดยพระยาวิศุกรรมศิลปประสิทธิ์ (น้อย ศิลปี) เป็นนายช่างผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างรอบ ๆ เรือนปลูกไม้ไทย เช่น นางแย้ม นมแมว ต้นจัน และจำปี และพระตำหนักหลังนี้ได้รับการบูรณะเมื่อครั้งพระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อรักษาศิลปะบ้านไทยแบบโบราณ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีขึ้นพระตำหนักใหม่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระตำหนักทับขวัญ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์

ระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ (ประสูติ: 8 ตุลาคม พ.ศ. 2525) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กับนาวาอากาศเอก วีระยุทธ ดิษยะศริน เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พล นพวิชัย

ล นพวิชัย ชื่อเดิม ฉลองรัฐ นพวิชัย เกิด (29 มิถุนายน พ.ศ. 2529) ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักร้องที่ได้รับชื่อเสียงมาจากรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 2.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพล นพวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพิธีสำเร็จการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

พูน เกษจำรัส

ตราจารย์ พูน เกษจำรัส ศาสตราจารย์ พูน เกษจำรัส (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464 - 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) เป็นชาวเพชรบุรีโดยกำเนิด ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพถ่ายศิลปะ) เมื่อ ปี พ.ศ. 2531.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพูน เกษจำรัส · ดูเพิ่มเติม »

พจมาน ณ ป้อมเพชร

ณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร (สกุลเดิม: ดามาพงศ์; เกิด: 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499) เป็นอดีตภริยาของ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพจมาน ณ ป้อมเพชร · ดูเพิ่มเติม »

พนิตา กำภู ณ อยุธยา

นิตา กำภู ณ อยุธยา (สกุลเดิม อุตตะโมต) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่ายข้าราชการประจำ และอดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และได้รับพระกรุณาธิคุณแต่งตั้งเป็นผู้แทนพระองค์ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ไปปฏิบัติภารกิจของมูลนิธิมิราเคิล ออฟ ไลฟ์ อยู่เสมอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและพนิตา กำภู ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

กรมราชองครักษ์

ราชองครักษ์ สมัยรัชกาลที่ 6 กรมราชองครักษ์ (Royal Thai Aide-De-Camp Department) เป็นหน่วยงานส่วนราชการในพระองค์ สังกัดหน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ มีหน้าที่จัดราชองครักษ์ปฏิบัติหน้าที่ ถวายพระเกียรติ ถวายความปลอดภัย และ ถวายงานตามพระราชประสง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและกรมราชองครักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กรมธนารักษ์

กรมธนารักษ์ เป็นกรมในสังกัดของกระทรวงการคลัง มีหน้าที่เกี่ยวกับการทำเหรียญกษาปณ์ เหรียญที่ระลึก การดูแลที่ราชพัสดุตามอำนาจหน้าที่ การประเมินราคาทรัพย์สิน การรับจ่ายและรักษาพระราชทรัพย์ทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร และการจัดการเงินในพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเกี่ยวกับพระราชทรัพย์ของบรมวง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและกรมธนารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)

กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กฤตธีรา อินพรวิจิตร

กฤตธีรา อินพรวิจิตร (7 มกราคม 2513 —) มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรร่วมในรายการตีสิบ จึงนิยมเรียกเธอว่า เข็ม ตีสิบ ก่อนหน้านี้ เข็ม-กฤตธีรา อินพรวิจิตร ทำงานอยู่ในวงการโฆษณา เป็นฟรีแลนซ์ของโปรดักชั่นโฆษณาแห่งหนึ่ง เป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ ทำงานศิลปะ เขียนหนังสือ (เล่มหนึ่งที่วางตลาดแล้วคือ 'ฟุ้งซ่าน') ทางด้านผลงานภาพยนตร์ แสดงเรื่อง บอดี้ ศพ*19 (2550) และกุมภาพันธ์ (2546) เข็ม-กฤตธีรา ถือเป็นนักแสดงและพิธีกรที่มีรูปร่างสูงเข้าขั้นนางแบบอีกคนหนึ่ง คือ เธอมีส่วนสูง 172 เซนติเมตร ทางด้านชีวิตส่วนตัว หลังจากได้เลิกลากับ ร.ต.อ.วัชริศ พงษ์พานิช ก็ได้มีข่าวคราวดัง รักสามเส้า กับ หนุ่ม-กรรชัยและเมย์ เฟื่องอารม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและกฤตธีรา อินพรวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

กลิ่นสีและกาวแป้ง

กลิ่นสีและกาวแป้ง เป็นภาพยนตร์ไทย จากบทประพันธ์ของ พิษณุ ศุภนิมิตร เกี่ยวกับชีวิตนักศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร กำกับภาพยนตร์โดย เปี๊ยก โปสเตอร์ ออกฉายเมื่อวันที่ 2 เมษายน ปี พ.ศ. 2531 ปัจจุบันเรื่อง"กลิ่นสีและกาวแป้ง" เป็นหนังอีกหนึ่งเรื่องที่อยู่ในโปรเจกต์ The Legend Collection ที่รีมาสเตอร์ภายใต้การดูแลของบริษัท BKP.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและกลิ่นสีและกาวแป้ง · ดูเพิ่มเติม »

การออกแบบ

ตัวอย่างการออกแบบโครงสร้างและเพดาน การออกแบบ หมายถึง การถ่ายทอดรูปแบบจากความคิดออกมาเป็นผลงาน ที่ผู้อื่นสามารถมองเห็น รับรู้ หรือสัมผัสได้ เพื่อให้มีความเข้าใจในผลงานร่วมกัน แบบที่คิดออกมาอาจเป็นสิ่งที่เป็นไปได้จริง หรือแบบที่เป็นลักษณะเพื่อฝัน เป็นเพียงนามธรรมก็ได้ ผู้ที่ออกแบบจะเรียกว่า นักออกแบบ ซึ่งหมายถึงคนที่ทำงานวิชาชีพในสาขาการออกแบบที่แตกต่างกันไป เช่น นักออกแบบแฟชั่น, นักออกแบบแนวความคิด หรือนักออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบนั้นมีความจำเป็นที่ต้องพิจารณาด้าน สุนทรียศาสตร์ ประโยชน์ใช้สอย หลักเศรษฐศาสตร์ และมุมมองสังคมการเมือง ทั้งในสิ่งที่ออกแบบและขั้นตอนการออกแบบ การออกแบบอาจเกี่ยวข้องกับการค้นหาข้อมูล ความคิด การทำแบบจำลอง การปรับเปลี่ยนให้ทำงานร่วมกันได้ และอาจมีการออกแบบใหม่ ขณะที่ความหลายหลายของการออกแบบอาจรวมไปถึง เสื้อผ้า ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ตึกระฟ้า เอกลักษณ์กลุ่มบริษัท ขั้นตอนการทำธุรกิจ หรือแม้กระทั่งขั้นตอนการออกแบบเอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและการออกแบบ · ดูเพิ่มเติม »

การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา

การจัดอันดับสถานศึกษา การจัดอันดับ (ranking) หรือการให้คะแนน (rating) หลักสูตรหรือสถานศึกษานั้น มีขึ้นเพื่อเป็นชี้ถึงจุดเด่นจุดด้อยของสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ เช่น คุณภาพการศึกษา คุณภาพงานวิจัย การยอมรับของผู้จ้างงาน งบประมาณการศึกษา เครือข่ายศิษย์เก่า ความเป็นนานาชาติ สัดส่วนนักศึกษาต่อผับในเมือง จำนวนผู้ได้รับรางวัลโนเบล ฯลฯ การจัดอันดับของแต่ละสำนักนั้น จะให้น้ำหนักความสำคัญกับแต่ละตัวชี้วัดแตกต่างกันไปตามประเภทและวัตถุประสงค์ของการจัดอันดับ เช่น โดยทั่วไป ในการจัดอันดับหลักสูตรบริหารธุรกิจ (MBA) จะให้ความสำคัญกับเครือข่ายศิษย์เก่า มากกว่าในการจัดอันดับสถาบันเทคโนโลยี หรือ ในการจัดดับหลักสูตรระดับปริญญาตรี จะให้ความสำคัญกับชีวิตความเป็นอยู่ระหว่างศึกษา มากกว่าในการจัดอันดับหลักสูตรระดับปริญญาโทหรือเอก ตัวชี้วัดที่นำมาใช้ในการจัดอันดับนั้นสามารถแบ่งได้สองประเภทใหญ่คือ แบบอัตวิสัย (subjective) และแบบภววิสัย (objective) โดยแบบแรกนั้นเป็นลักษณะความคิดเห็น เช่น ชื่อเสียงวิชาการในหมู่เพื่อนร่วมอาชีพ ความพอใจของผู้จ้างงาน ส่วนแบบหลังนั้นเป็นข้อมูลที่วัดได้โดยตรง เช่น ขนาดแบนด์วิธอินเทอร์เน็ต จำนวนนักศึกษาต่ออาจารย์ ข้อมูลที่นำมาคำนวณหรือประมวลเป็นตัวชี้วัดนั้น ได้มาจากแหล่งข้อมูลหลายประเภท เช่น ทำการสำรวจ ค้นหาจากสิ่งตีพิมพ์/เว็บไซต์ หรือสอบถามโดยตรงกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานรับผิดชอบของแต่ละประเทศ โดยแหล่งข้อมูลแต่ประเภทก็จะใช้แรงงาน เวลา และค่าใช้จ่ายไม่เท่ากัน รวมถึงมีความครอบคลุมและความน่าเชื่อถือต่างกันไป และแหล่งข้อมูลบางประเภทอาจเหมาะกับตัวชี้วัดชนิดหนึ่งแต่ไม่เหมาะกับตัวชี้วัดอีกชนิดหนึ่ง เหล่านี้เป็นปัจจัยในการเลือกใช้แหล่งข้อมูลของสำนักจัดอันดับ และยังเป็นตัวชี้ว่า ผลการจัดอันดับนั้นน่าเชื่อถือเพียงใด การให้ความสำคัญของอันดับสถานศึกษานั้นแตกต่างกันไปตามประเทศ โดยในสหราชอาณาจักร หนังสือพิมพ์หลายฉบับมีการจัดอันดับสถานศึกษา โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรี มีการพิมพ์เป็นคู่มือจำนวนหลายร้อยหน้าทุก ๆ ปี ส่วนในระดับบัณฑิตศึกษา มีหน่วยงานรับผิดชอบของรัฐโดยเฉพาะในการให้คะแนนสถาบันอุดมศึกษาในด้านคุณภาพการศึกษาและคุณภาพการวิจัย ส่วนในสหรัฐอเมริกา อันดับสถานศึกษาส่งผลต่อการเลือกเข้าเรียนของนักเรียน ในขณะที่ในบางประเทศไม่มีการจัดอันดับสถานศึกษา ในประเทศไทย ได้ริเริ่มให้ 2 หน่วยงานจัดอันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย คือ หน่วยงานสม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Tourism Authority of Thailand, ชื่อย่อ: ททท., TAT) เป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ก้านกล้วย

ก้านกล้วย (พ.ศ. 2549) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติ สร้างโดยกันตนาแอนิเมชัน เป็นเรื่องราวที่ได้แรงบันดาลใจจากบางส่วนของพงศาวดาร ว่าลักษณะคชลักษณ์ของช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น จะมีหลังโค้งลาด คล้ายก้านกล้วย ชื่อตามพงศาวดารนั้นคือ เจ้าพระยาปราบหงสาวดีหรือเดิมชื่อ เจ้าพระยาไชยานุภาพ หรือ พลายภูเขาทอง โดยในเรื่องใช้ชื่อว่า ก้านกล้วย เป็นตัวเอก ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่ได้ คมภิญญ์ เข็มกำเนิด คนไทยที่ได้ไปศึกษาทางฟิล์มและวิดีโอที่เน้นด้านการทำแอนิเมชันที่สหรัฐ และได้เคยร่วมงานสร้างตัวละครและทำภาพเคลื่อนไหวที่เคยร่วมงานกับบริษัทวอลท์ดิสนีย์ และ บลูสกายสตูดิโออย่าง ทาร์ซาน (Tarzan), ไอซ์ เอจ (Ice Age) และ แอตแลนติส (Atlantis: The Lost Empire) มาเป็นผู้กำกับ พร้อมกลุ่มนักแอนิเมชันทั้งชาวไทยและต่างชาติกว่า 100 คน ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่ยังคงเอกลักษณ์ความเป็นไทย ไม่ว่าจะเป็นฉากที่เป็นภูมิทัศน์แบบไทย ต้นไม้ ไม้ดอก สภาพป่า และประเพณีไทย เช่น การคล้องช้าง การนำฉากหมู่บ้านทรงไทย แสดงพืชพรรณไม้ไทย เช่น ต้นราชพฤกษ์ ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำชาติ ในฤดูกาลต่างๆ รวมทั้งการออกดอกเหลืองอร่ามในหน้าแล้ง แสดงฉากประเพณีลอยกระทง เป็นต้น ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่สร้างด้วยเทคนิคคอมพิวเตอร์อีกเรื่องหนึ่งของไทย ซึ่งก่อนหน้านี้มีภาพยนตร์แอนิเมชันที่ใช้เทคนิคดังกล่าว คือ ปังปอนด์ และแอนิเมชันซึ่งถือเป็นเรื่องแรกของไทยคือ สุดสาคร ซึ่งเป็นแอนิเมชันสองมิติ ก้านกล้วยได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์การ์ตูนทางโทรทัศน์ทางช่อง 7 โดยใช้ชื่อว่า "ก้านกล้วย ผจญภัย" จัดฉายทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.00-17.30 น. โดยมีเนื้อหารายละเอียดมากขึ้น และใช้ตัวละครที่มีอยู่เดิม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและก้านกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

ภาวดี คุ้มโชคไพศาล

วดี คุ้มโชคไพศาล (เกิด 17 สิงหาคม พ.ศ. 2536) เป็นนักแสดงชาวไทย ผลงานที่ทำให้เธอเป็นที่รู้จักมากที่สุดก็คือเพลง “นักเลงคีย์บอร์ด” ของ “แสตมป์ อภิวัชร์” และซีรีส์มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร รับบท เป็น เมษา คำนึงวิทยา คู่กับ จุฑาวุฒิ ภัทรกำพล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและภาวดี คุ้มโชคไพศาล · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันตก (ประเทศไทย)

ตะวันตก เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศไทยในระบบการแบ่งแบบ 6 ภูมิภาคตามคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ และเป็นภูมิภาคย่อยของภาคกลางของระบบการแบ่งแบบ 4 ภูมิภาค (ซึ่งรวมภาคตะวันออก และภาคตะวันตก) ภาคตะวันตกมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าทางทิศตะวันตก ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคกลางทางทิศตะวันออก และติดต่อกับภาคใต้ทางทิศใต้ ภาคตะวันตกประกอบไปด้วยจังหวัดเพียง 5 จังหวัด แม้ว่าจะจัดรวมอยู่ในภาคตะวันตก แต่ในภูมิภาคนี้ยังมีความหลากหลาย ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ซึ่งแตกต่างกันค่อนข้างมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและภาคตะวันตก (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิภาคของประเทศไทย

ูมิภาค เป็นเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ซึ่งมีการแบ่งภูมิภาคที่แตกต่างกัน โดยมีการแบ่งอย่างเป็นทางการเป็น 6 ภูมิภาค ตามการแบ่งของคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสภาวิจัยแห่งชาติ และยังมีการแบ่งเป็น 4 ภูมิภาค ซึ่งสอดคล้องกับการแบ่งแบบมณฑลเทศาภิบาล เมื่อเปรียบเทียบกับการแบ่งแบบจังหวัดของประเทศไทย การแบ่งภูมิภาคนั้นไม่ได้มีผู้บริหารเหมือนการแบ่งแบบจังหวัด แต่จะใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางภูมิศาสตร์ สถิติ ธรณีวิทยา อุตุนิยมวิทยา และการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและภูมิภาคของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยทักษิณ

"มหาวิทยาลัยทักษิณ" เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา เดิมเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมาได้รับการยกวิทยฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อว่า "มหาวิทยาลัยทักษิณ" พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได้ผ่านกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขั้นตอน และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2539 มีผลบังคับใช้ในวันศุกร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยทักษิณ โดยชื่อ มหาวิทยาลัยทักษิณ สื่อถึง "มหาวิทยาลัยแห่งภาคใต้" มหาวิทยาลัยทักษิณ จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการผลิตบัณฑิต พร้อมพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม ได้รับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับดี โดยเฉพาะในด้านการบริการแก่สังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และด้านการประกันคุณภาพภายในที่ได้รับการประเมินในระดับดีมาก ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยทักษิณประกอบด้วย 2 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตสงขลา และวิทยาเขตพัทลุง รวมทั้งมีสำนักงานอยู่ในกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ครอบคลุมสาขาวิชาการทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาลตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงราย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตสวนหลวง เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (Kasem Bundit University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2530 ในชื่อ วิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ก่อตั้งโดยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ในปี พ.ศ. 2502 ภายใต้ชื่อ "โรงเรียนเทคนิคพระนครเหนือ" หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า "เทคนิคไทย-เยอรมัน" ก่อนจะยกฐานะในปี พ.ศ. 2507 เป็น "วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ" และเป็น "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตพระนครเหนือ" ในปี พ.ศ. 2514 ต่อมาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าทั้งสามวิทยาเขตได้รับการยกฐานะเป็น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ,สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในปี พ.ศ. 2529 โดยมีอำนาจบริหารอิสระจากกัน ซึ่งในปัจจุบันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือแบ่งออกเป็น 3 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตกรุงเทพมหานคร เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร, วิทยาเขตปราจีนบุรี อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี และวิทยาเขตระยอง อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง เปิดทำการเรียนการสอนทั้งหมด 13 คณะ 2 วิทยาลัย 2 บัณฑิตวิทยาลัย ตั้งแต่ระดับประกาศณียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปริญญาเอก ทั้งหลักสูตรภาษาไทย สองภาษา และนานาชาติ มีความโดดเด่นด้านวิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ: Suranaree University of Technology; อักษรย่อ: มทส.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 โดยได้มีการยกฐานะจาก "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ทำการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใน 7 สำนักวิชาและ 1 สถาบันสมทบ โดยมีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 32 หลักสูตร ปริญญาโท 34 หลักสูตร และปริญญาเอก 28 หลักสูตร (ข้อมูลในปีการศึกษา 2553) นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคณาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละสูงที่สุดในประเทศไทย (ร้อยละ 80.21) และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยต่อหัวคณาจารย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวทง

มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวทง (อักษรจีนตัวย่อ: 上海交通大学; อักษรจีนตัวเต็ม: 上海交通大學; พินอิน: Shànghǎi Jiāotōng Dàxué) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยรัฐที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศจีน ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2439 (ค.ศ. 1896) ในเมืองเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีนักศึกษากว่า 28,000 คน และมีคณาจารย์กว่า 1,400 คน มหาวิทยาลัยเป็นที่รู้จักส่วนหนึ่งจากการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยร่วมอยู่ในโครงการ สานสัมพันธ์สู่เอเชียด้วยการฝึกงานและแลกเปลี่ยนนักศึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวทง · ดูเพิ่มเติม »

มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร

มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร (‎My Safari Girl‬) เป็น ละครโทรทัศน์ ประเภทละครชุด ผลิตโดย จีทีเอช กำกับโดย ปัฏฐา ทองปาน ออกอากาศทางช่องโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียม จีทีเอชออนแอร์ เวลา 22.00 น.-23.00 น. และสถานีโทรทัศน์ จีเอ็มเอ็ม 25 เวลา 22.15 น.-23.15 น. วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 - 17 ตุลาคม พ.ศ. 2558 นำแสดงโดย มาดามมด, ภาวดี คุ้มโชคไพศาล, จุฑาวุฒิ ภัทรกำพล และ โอบนิธิ วิวรรธนวราง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร · ดูเพิ่มเติม »

มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2551

มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2551 เป็นการประกวด มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์สปีที่ 9 นับจากการจัดครั้งแรกในปี 2543 ที่สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบก ช่อง 7 ได้ดำเนินการจัดขึ้น เพื่อสรรหาสาวไทยที่มีความงาม มีกริยามารยาทที่งดงามแบบไทย มีความคิดอ่านเฉลียวฉลาด ทันสมัย มั่นใจในตนเอง และเหมาะสมที่จะรับหน้าที่ในนามตัวแทนประเทศไทย ไปสู่การประชาสัมพันธ์และสร้างชื่อเสียงเกียรติคุณอันดีงามให้กับประเทศ ทั้งนี้ทางฝ่ายจัดได้เลื่อนกำหนดการเดิมจากปกติทุกๆ ปี จะมีการประกวดในช่วงเดือนมีนาคม แต่ในปีนี้เลื่อนออกไปเป็นเดือนพฤษภาคม เพื่อรอให้พระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลครบ 100 วัน พระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้เสร็จสิ้นเสียก่อน และปีนี้ได้ย้ายสถานที่จัดการประกวด จากโรงแรมโซฟิเทล เซ็นทารา แกรนด์ กรุงเทพ เป็นโรงละครอักษรา คิง พาวเวอร์ คอมเพล็กซ์ ถนนรางน้ำ กรุงเทพมหานคร ซึ่งจะจัดในวันที่ 24 พฤษภาคม 2551 โดยผู้ได้รับตำแหน่งจะได้เป็นตัวแทนสาวไทย เดินทางไปประกวดนางงามจักรวาลหรือมิสยูนิเวิร์ส ปี 2008 ณ ประเทศเวียดนาม โดยมี ฟ้ารุ่ง ยุติธรรม มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2550 เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ กวินตรา โพธิจักร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2551 · ดูเพิ่มเติม »

มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2552

มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2552 เป็นการประกวดปีที่ 10 นับแต่ที่จัดขึ้นครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2543 โดย สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ได้ดำเนินการจัดขึ้น โดยทำการเก็บตัวเพื่อร่วมทำกิจกรรม ระหว่างการประกวด ที่ เกาะสมุย, จังหวัดสุราษฎร์ธานี และการประกวดรอบตัดสินในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2552 ณ ห้องบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทารา แกรนด์ กรุงเทพฯ (ลาดพร้าว) ผู้ได้รับตำแหน่งจะได้เป็นตัวแทนสาวไทย เดินทางไปประกวดนางงามจักรวาลหรือมิสยูนิเวิร์ส ปี 2009 ณ ประเทศบาฮามาส ช่วงเดือนสิงหาคมนี้ โดยรอบตัดสินมีสาวงามเข้าร่วมการประกวด 44 คน โดยมี กวินตรา โพธิจักร มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2551 เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ ชุติมา ดุรงค์เดช ก่อนหน้านี้ จังหวัดสมุทรสงครามได้เสนอขอเป็นสถานที่เก็บตัว เพื่อให้ผู้เข้าประกวดร่วมทำกิจกรรม ในช่วงประมาณเดือนมีนาคม แต่ทางจังหวัดได้ปฏิเสธการเสนอตัวดังกล่าวในภายหลัง เนื่องจากเห็นว่า ศักยภาพของพื้นที่จังหวัด ยังไม่มีความเหมาะสมเพียงพอ ทั้งในเรื่องของสถานที่พัก เวทีการประกวด และงบประมาณในการจัดประกว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2552 · ดูเพิ่มเติม »

มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2553

มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2553 จัดประกวดขึ้นเป็นปีที่ 11 นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 โดย สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยดำเนินการประกวด และทำกิจกรรมที่จังหวัด กำแพงเพชร และมีการจัดการประกวดรอบตัดสินขึ้นในวันที่ 20 มีนาคม 2553 ณ ห้องบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทารา แกรนด์ กรุงเทพฯ (ลาดพร้าว) ผู้ที่ได้ตำแหน่ง มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์สในปีนี้จะเป็นผู้ได้สิทธิ์ไปประกวดนางงามจักรวาล ปี 2553 ที่จะจัดขึ้นประมาณกลางปี 2553 นี้ โดยมี ชุติมา ดุรงค์เดช มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2552 เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ ฝนทิพย์ วัชรตระกูล ส่วนรองอันดับหนึ่งจะมีสิทธิ์ไปประกวดเวที มิสเอิร์ธ ที่ประเทศฟิลิปปินส์ ส่วนรองอันดับ 2 อีก 3 ตำแหน่ง จะได้สิทธิ์ไปประกวดเวที มิสทัวร์ลิซึมอินเตอร์เนชั่นแนล ที่ประเทศมาเลเซีย มิสอินเตอร์คอนทิเนทัล และเวทีอื่นๆ ตามลำดั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2553 · ดูเพิ่มเติม »

มิสไทยแลนด์เวิลด์

มิสไทยแลนด์เวิลด์ (Miss Thailand World) เป็นชื่อของเวทีการประกวดนางงามในประเทศไทย จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยบริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ผู้ดำเนินกิจการสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นตัวแทนประเทศไทย เข้าประกวดนางงามโลก (Miss World) ซึ่งมีคำขวัญประจำการประกวดว่า งามอย่างมีคุณค่า (Beauty with a Purpose) และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) รับโอนสิทธิในการเป็นผู้จัดประกวดจาก บจก.บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ แต่ผู้สนับสนุนการถ่ายทอดโทรทัศน์ ยังคงเป็นไทยทีวีสีช่อง 3 ตามเดิม นอกจากนี้ ยังมีการแต่ง เพลงนี้เพื่อผองเรา ขึ้นเป็นเพลงประจำการประกวดอีกด้วย นอกจากจะส่งผู้ชนะเลิศเข้าร่วมประกวดมิสเวิลด์แล้ว การประกวดมิสไทยแลนด์เวิลด์ยังได้รับสิทธิในการคัดเลือกสาวไทยเชื้อสายจีนที่เข้าร่วมประกวด เป็นตัวแทนสาวไทยในการเข้าร่วมประกวด มิสไชนิสอินเตอร์เนชั่นแนล อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมิสไทยแลนด์เวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสไทยแลนด์เวิลด์ 2556

มิสไทยแลนด์เวิลด์ 2556 2556 ตัดสินการประกวดในวันที่ 10 เมษายน 2556 โดยดำเนินงานถ่ายทอดสดโดย ช่อง 3 ผู้ชนะในปีนี้คือ กัญญาภัค โภคสมบูรณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมิสไทยแลนด์เวิลด์ 2556 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเอเชีย

มิสเอเชีย (Miss Asia Pageant) เป็นการประกวดสาวงามจากทุกส่วนของเอเชีย จัดขึ้นครั้งแรกใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมิสเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

มติชน

ริษัท มติชน จำกัด (มหาชน) (Matichon Public Company Limited) เป็นบริษัทแม่เพื่อประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่าย สิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ และเป็นผู้ริเริ่มกิจการสื่อสิ่งพิมพ์ ซึ่งนำเสนอเนื้อหาที่แตกต่างไปจากสื่อมวลชนไทยในวงการ เพื่อเติมเต็มข้อมูลให้แก่สังคมข่าวสาร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมติชน · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี เจนอักษร

มนตรี เจนอักษร (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 —) นักแสดง นักพากย์ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 จากบทอาโยะ ชาวเขาในภาพยนตร์เรื่อง คนภูเขา กำกับโดย วิจิตร คุณาวุฒิ ซึ่งได้รับรางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น ในงานวันภาษาไทยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และ ผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น รางวัล ราชบัณฑิตยสถานสรรเสริญ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและมนตรี เจนอักษร · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธเลิศ สิปปภาค

ทธเลิศ สิปปภาค (ชื่อเล่น: ต้อม) เป็น ผู้เขียนบทภาพยนตร์, ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและยุทธเลิศ สิปปภาค · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

รณภพ รากะรินทร์

รณภพ รากะรินทร์ (เกิด: 27 มิถุนายน พ.ศ. 2529) เคยเป็นผู้ประกาศข่าวสำนักข่าวไทย ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ นายแบบนิตยสาร พิธีกรรายการโทรทัศน์หรือกิจกรรมต่างๆ และอดีตนักร้อง จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะศึกษาศาสตร์ (จิตวิทยา) มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะมนุษยศาสตร์ (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและรณภพ รากะรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฤทัย ใจจงรัก

รองศาสตราจารย์ ฤทัย ใจจงรัก เกิดเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2478 เป็นสถาปนิกชาวไทย ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะสถาปัตยกรรม ประจำปีพุทธศักราช 2543.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและฤทัย ใจจงรัก · ดูเพิ่มเติม »

ลักษณ์นารา เปี้ยทา

ลักษณ์นารา เปี้ยทา เกิดเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 4 ขวบ เริ่มแรกได้งานถ่ายโฆษณา และต่อมาได้แสดงละครเป็นครั้งแรกจากการชักชวนของ ศุภชัย ศรีวิจิตร จากการเล่นโฆษณานมไทย เดนมาร์ก สูง173ซม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและลักษณ์นารา เปี้ยทา · ดูเพิ่มเติม »

วรรณรท สนธิไชย

วรรณรท สนธิไชย (ชื่อเล่น: วิว เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2532) เป็นนักแสดงชาวไทย สังกัดเอ็กแซ็กท์ ของ ถกลเกียรติ วีรวรรณ เริ่มเข้าวงการบันเทิงด้วยการถ่ายแบบในสมัยเด็ก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวรรณรท สนธิไชย · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ สุขชุม

วัชระ สุขชุม หรือที่รู้จักกันในชื่อ เจนนี่ ปาหนัน เป็นนักแสดง พิธีกร ฝ่ายสร้างสรรค์รายการ (ครีเอทีฟ) จากรายการยอดฮิต เทยเที่ยวไทย ผู้เป็นเจ้าของประโยคเด็ด “นุชาไม่กินปลา”.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวัชระ สุขชุม · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ที่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีจุดเด่นที่สำคัญคือ องค์พระปฐมเจดีย์ หรือ พระธมเจดีย์ ซึ่งเป็นเจดีย์ที่ใหญ่และสูงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย องค์พระปฐมเจดีย์ปัจจุบันนี้ เป็นพระเจดีย์ทรงลังกา แบบสุโขทัย สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งสร้างครอบเจดีย์เดิมถึงสององค์ ได้แก่ เจดีย์ทรงสถูปสาญจีตามแบบอินเดียยุคพระเจ้าอโศกมหาราช และเจดีย์ทรงขอมโบราณ นอกจากองค์พระปฐมเจดีย์แล้ว ในลานชั้นลดด้านทิศใต้องค์พระปฐมเจดีย์และพระอุโบสถมีพระประธาน พระพุทธรูปศิลาขาว ซึ่งเป็นสองในสี่พระพุทธรูปประทับนั่งห้อยพระบาท ปางแสดงธรรม ที่สร้างขึ้นในยุคทราวดี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดร่องขุ่น

วัดร่องขุ่น เป็นวัดพุทธ ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ออกแบบและก่อสร้างโดย เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 จนถึงปัจจุบัน โดยเฉลิมชัยคาดว่างานก่อสร้างวัดร่องขุ่นจะไม่เสร็จลงภายในช่วงชีวิตของตน วัดร่องขุ่นถอดแบบมาจากวัดมิ่งเมือง จังหวัดน่าน เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวัดร่องขุ่น · ดูเพิ่มเติม »

วังท่าพระ

วังท่าพระ หรือ วังล่าง ตั้งอยู่ข้างพระบรมมหาราชวัง ริมถนนหน้าพระลานทางด้านทิศตะวันตก ใกล้ท่าช้างวังหลวง แต่เดิมวังท่าพระนั้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระศรีศากยมุนี จากพระวิหารหลวงวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย มาประดิษฐานไว้ ณ วัดสุทัศนเทพวราราม เมื่อพระพุทธรูปมาถึงประตูท่าช้าง ปรากฏว่าอัญเชิญเข้ามาไม่ได้เนื่องจากองค์พระนั้นมีขนาดใหญ่เกินกว่าจะนำผ่านเข้ามาได้ จึงจำเป็นต้องรื้อทั้งประตูถอนทั้งกำแพงออก จึงได้เรียกขานอดีตท่าเรือนี้แทนว่าท่าพระ วังที่อยู่ใกล้กันนั้นจึงเรียกตามว่า "วังท่าพระ".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวังท่าพระ · ดูเพิ่มเติม »

วิชญาณี เปียกลิ่น

วิชญาณี เปียกลิ่น หรือที่รู้จักในนาม แก้ม เดอะสตาร์ หรือ แก้ม วิชญาณี เป็นนักร้อง นักแสดง พิธีกรชาวไทย สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ผู้ชนะรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 4 และเป็น "เดอะสตาร์หญิงคนแรกของเมืองไทย" แก้มได้ชื่อว่าเป็น "ศิลปินหญิงพลังเสียงคุณภาพ" หรือ "ดีวาสาวเสียงทรงพลัง" จากสื่อมวลชนหลายสำนัก และได้รับการกล่าวถึงในด้านเทคนิคการใช้เสียงและการถ่ายทอดอารมณ์เพลง แก้มได้รับรางวัลหลายประเภท อาทิ เยาวชนดีเด่นแห่งชาติ ลูกกตัญญู นักร้องหญิงยอดนิยมสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2008 ครั้งที่ 7 ผู้ขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทยเพชรในเพลง 2556 รวมทั้งเป็น "นักร้องเพลงไทยสากลหญิงที่ประชาชนชื่นชอบมากที่สุด" อันดับ 2 ของประเทศ จากผลสำรวจของสวนดุสิตโพลในปี 2560 เธอสามารถร้องเพลงได้หลายแนวและหลายภาษา ทั้งไทย อังกฤษ และเกาหลี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวิชญาณี เปียกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมศาสตร์

การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวิศวกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ ถือเป็นคลื่นลูกใหม่รุ่นเดียวกับ เป็นเอก รัตนเรือง, นนทรีย์ นิมิบุตร, อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล และ จิระ มะลิกุล สไตล์การกำกับภาพยนตร์ของวิศิษฎ์จะเป็นแนวจินตนาการเหนือจริงและใช้สีสันฉูดฉาด และในหลายฉากที่เขากำกับมักจะยกย่องความคลาสสิกของหนังไทยในยุคเก่าอยู่เสมอๆ อย่างเช่นในเรื่อง ฟ้าทะลายโจร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University International College; ชื่อย่อ: SUIC) จัดตั้งขึ้นเป็นคณะวิชาที่ 14 ในมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยมีจุดประสงค์ในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติเพื่อพัฒนาบัณฑิตซึ่งมีศักยภาพสู่ตลาดแรงงานซึ่งมีภาวะการแข่งขันสูงได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ วิทยาศาสตร์สุขภาพสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การศึกษา วิจัย และความรู้ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนที่ 2 คือ การนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสุขภาพ, รักษาโรค และทำความเข้าใจการทำงานของร่างกายมนุษย์และสัตว์ งานวิจัยด้านนี้วางอยู่บนฐานของชีววิทยา, เคมี และฟิสิกส์ รวมไปถึงความรู้ด้านสังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยาการแพท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวิทยาศาสตร์สุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (อังกฤษ: natural science) หมายถึงกลุ่มของสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ อย่างไรก็ตามการจัดให้สาขาใดสาขาหนึ่งอยู่ในวิทยาศาสตร์ธรรมชาตินั้น ขึ้นอยู่กับทั้งข้อตกลงในอดีตและความหมายสาขาในปัจจุบัน ตามธรรมเนียมดั้งเดิม ความหมายของ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วนิดา พึ่งสุนทร

วนิดา พึ่งสุนทร (5 ธันวาคม 2480 -) สถาปนิกหญิงแห่งชาติ ได้รับเกียรติคุณให้เป็นผู้อนุรักษ์มรดกไทยดีเด่นด้านสถาปัตยกรรม จากสำนักนายกรัฐมนตรี ศิลปินดีเด่น กรุงเทพมหานคร สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (แบบประเพณี) ประจำปี 2546 ท่านเป็นอาจารย์ที่เมตตา แนะนำและพร่ำสอนลูกศิษย์ ให้มีความรู้ ความสามารถ รักและเข้าใจในงานสถาปัตยกรรมไทย โดยมีเจตนารมณ์ที่ว่า "สถาปัตยกรรมไทยนั้นสามารถสืบสานและสร้างสรรค์ได้".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและวนิดา พึ่งสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปศาสตร์

ลปศาสตร์ทั้ง 7 – ภาพจาก Hortus deliciarum ของ Herrad von Landsberg (คริสต์ศตวรรษที่ 12) ศิลปศาสตร์ (Liberal arts) หมายถึง การศึกษาที่มุ่งจะให้ความรู้ทั่วไป และทักษาเชิงปัญญา มิใช่วิชาชีพเฉพาะด้าน หรือความทักษะเชิงช่าง เดิมนั้น คำว่า "ศิลปศาสตร์" เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต (ศิลฺป + ศาสฺตฺร) หมายถึง วิชาความรู้ทั้งปวง ในภายหลังใช้ในความหมายเดียวกับ Liberal Arts ในภาษาอังกฤษ ดังระบุคำนิยามไว้ข้างต้น ในประวัติศาสตร์การศึกษาของตะวันตกนั้น ศิลปศาสตร์ 7 อย่าง อาจจำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ไตรศิลปศาสตร์ (trivium) และ จตุรศิลปศาสตร์ (quadrivium) การศึกษาในกลุ่ม ไตรศิลปศาสตร์ ประกอบด้วย 3 สาขาวิชา ได้แก่ ไวยากรณ์ ตรรกศาสตร์ และวาทศาสตร์ (rhetoric) ส่วนการศึกษากลุ่ม จตุรศิลปศาสตร์ ประกอบด้วย 4 สาขาวิชา ได้แก่ เลขคณิต เรขาคณิต ดนตรี และดาราศาสตร์) ศิลปศาสตร์นั้นถือเป็นหลักสูตรแกนของมหาวิทยาลัยสมัยกลาง คำว่า liberal ในคำว่า liberal arts นั้น มาจากศัพท์ภาษาละตินว่า liberalis หมายถึง "เหมาะแก่เสรีชน" (ชนชั้นสูงด้านสังคมและการเมือง) ซึ่งตรงกันข้ามกันศิลปะการรับใช้หรือบริการ (servile arts) ในเบื้องต้นคำว่าศิลปศาสตร์ในแนวคิดของตะวันตก จึงเป็นตัวแทนของทักษะและความรู้ทั่วไป ที่จำเป็นต้องใช้ในหมู่ชนชั้นสูงในสังคม ขณะที่ศิลปะบริการนั้น เป็นตัวแทนของความรู้และทักษะของพ่อค้าผู้เชี่ยวชาญ ที่จำเป็นต้องรู้ในหมู่ผู้รับใช้ชนชั้นสูง หรือขุนนาง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและศิลปศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะ

ลปะ (शिल्प ศิลฺป) ทั่ว ๆ ไปแล้วจะหมายถึงการกระทำหรือขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานศิลปะโดยมนุษย์ คำแปลในภาษาอังกฤษที่ตรงที่สุดคือ Art ศิลปะเป็นคำที่มีความหมายกว้าง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีความหมายเกี่ยวกับการสร้างสรรค์, สุนทรียภาพ, หรือการสร้างอารมณ์ต่าง ๆ งานศิลปะ จะรวมถึงชิ้นงานหลาย ๆ ชนิดโดยผู้สร้างตั้งใจสร้างชิ้นงานเพื่อสื่อสาร, สื่ออารมณ์, หรือใช้สัญลักษณ์เพื่อให้ผู้ชมชิ้นงานตีความ ผู้สร้างงานศิลปะ มักเรียกรวม ๆ ว่า ศิลปิน ศิลปะอาจรวมไปถึงงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น งานเขียน บทกวี การเต้นรำ การแสดง ดนตรี งานปฏิมากรรม ภาพวาด-ภาพเขียน despacito หรือ อื่น ๆ อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่แล้วศิลปะจะหมายถึงงานทางทัศนศิลปะพวก ภาพวาด-ภาพเขียน งานประติมากรรม งานแกะสลัก รวมถึง conceptual art และ installation art ศิลปะนับว่าเป็นศาสตร์ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ตั้งแต่มีมนุษดขึ้น และนับว่าเป็นศาสตร์ของนักปราชญ์ที่เป็นที่ชื่นชม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและศิลปะ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและศิลป์ พีระศรี · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organisation)) เป็นศูนย์ข้อมูลความรู้ทางด้านมานุษยวิทยา โบราณคดี ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ วัฒนธรรมและความรู้ท้องถิ่นของประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำหน้าที่เก็บรวบรวมบันทึกความรู้ในรูปแบบต่างๆ สนับสนุนการสร้างความรู้ใหม่ และเผยแพร่ผลงานการค้นคว้าให้แก่ประชาชนทั่วไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร

ูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร (Sanskrit Studies Centre, Silpakorn University; ชื่อย่อ: SSC) เป็นหน่วยงานในมหาวิทยาลัยศิลปากร มีภารกิจหลักในการส่งเสริม ให้ความรู้ และจัดการเรียนการสอนภาษาสันสกฤตและวิชาที่เกี่ยวข้องให้แก่นักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

สมาน ฟูตระกูล

นายแพทย์สมาน ฟูตระกูล หรือมีชื่อเล่นว่า กบ เป็นนายแพทย์และข้าราชการที่มีผลงานที่ได้รับความสนใจในด้านสาธารณสุขและการพัฒนาสุขภาวะ เป็นผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กรมควบคุมโรค และยังเป็นหนึ่งในผู้นำโครงการเครือข่ายพัฒนาศักยภาพผู้นำการสร้างสุขภาวะ นายแพทย์สมานเป็นหนึ่งในผู้ผลักดัน.ร..ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสมาน ฟูตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) เป็นพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ก่อนที่สมเด็จพระบรมชนกนาถจะเสด็จสวรรคตในวันต่อมา พระนาม เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี นั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ในพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ โดยมีคำนำหน้าพระนามเป็นสมเด็จพระเจ้าภาติกาเธอ (ลูกสาวของพี่ชาย) ในรัชกาลที่ 7 และเป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และโดยพระชนมายุพระองค์จึงเคยเป็นพระกุลเชษฐ์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ หลังจากเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร พระองค์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจเพื่อแบ่งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอยู่เป็นนิจ จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 9 ทรงเจริญพระวัยและทรงสามารถแบ่งเบาพระราชกรณียกิจได้ กอปรกับพระองค์มีพระชนมายุสูงขึ้นจึงเสด็จออกทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารน้อยลง นอกจากนี้ พระองค์ทรงรับสถาบันและองค์กรต่างๆ ทั้งในส่วนที่สืบสานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และโดยส่วนพระองค์เองไว้ในพระอุปถัมภ์มากกว่า 30 แห่ง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์ด้วยพระอาการติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16.37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี โรงพยาบาลศิริราช สิริพระชนมายุ 85 พรรษา 8 เดือน 3 วัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สล็อตแมชชีน (วงดนตรี)

ล็อตแมชชีน เป็นวงดนตรีร็อกสัญชาติไทย สังกัดบีอีซี-เทโร มิวสิค เจ้าของบทเพลง "ผ่าน" ที่มีชื่อเสียง จนทำให้เพลงนี้คว้ารางวัลซองออฟเดอะเยียร์ (Song Of The Year) จากเวทีซี้ดอะวอดส์ที่จัดขึ้นเมื่อเดือนมกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสล็อตแมชชีน (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ ตันติสุข

วัสดิ์ ตันติสุข ศิลปินแห่งชาติ สวัสดิ์ ตันติสุข (24 เมษายน พ.ศ. 2468 - 4 สิงหาคม พ.ศ. 2552) ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสวัสดิ์ ตันติสุข · ดูเพิ่มเติม »

สังคมศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสังคมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. หรือ TRF) เป็นองค์การมหาชน ประเภทจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) หรือ "กรมอาชีวศึกษา" (เดิม) เป็นหนึ่งในห้าหน่วยงานหลักของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบกำกับดูแลงานการศึกษาในด้านการอาชีวศึกษา เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการอาชีวศึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นองค์กรเลขานุการและการบริหารงานของ "คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน" ซึ่งมีหน้าที่ในการกำกับดูแลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือน ภายใต้ "พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณี สุคนธา

วรรณี สุคนธา เป็นนามปากกาของ สุวรรณี สุคนธ์เที่ยง (1 มีนาคม พ.ศ. 2475 – 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) นักเขียนชาวไทย สุวรรณีเป็นบุตรของนายย้อยและนางแตงอ่อน มีพี่ชายหนึ่งคน สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนผดุงนารี-กวีพิทยา ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก แล้วมาต่อที่วิทยาลัยเพาะช่างสองปี และคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยสำเร็จการศึกษาและได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต แขนงจิตรกรรม เมื่อ พ.ศ. 2494 จากนั้นจึงเริ่มเป็นครูศิลปะที่โรงเรียนศิลปศึกษา กรุงเทพมหานคร อยู่สามปี แล้วไปเป็นอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยศิลปากร ระหว่างนั้นได้เริ่มเขียนเรื่องสั้น เรื่องแรกคือ "จดหมายถึงปุก" (พ.ศ. 2508) โดยตีพิมพ์ในสตรีสาร และใช้นามปากกาว่า "สุวรรณี" ต่อมานายประมูล อุณหธูป บรรณาธิการสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ได้ตั้งนามปากกาให้ใหม่ว่า "สุวรรณี สุคนธา" เมื่อได้ส่งเรื่องสั้นให้ตีพิมพ์ในสยามรัฐ ส่วนนวนิยายเรื่องแรกที่เขียนคือ "สายบ่หยุดเสน่ห์หาย" ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี เมื่องานเขียนเริ่มเป็นที่นิยมสุวรรณีจึงลาออกจากราชการ และปฏิบัติงานเขียนอย่างเต็มตัว จนถึง..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสุวรรณี สุคนธา · ดูเพิ่มเติม »

สุทธิพงษ์ วัฒนจัง

ทธิพงษ์ วัฒนจัง หรือ ชมพู ฟรุตตี้ เกิดวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นมือกีตาร์วงโฟค์ซอง นานา และนักร้องนำของวงฟรุตตี้ วงดนตรีสตริง และเป็นนักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์ชื่อดัง ของอาร์เอส มีผลงานควบคุมการผลิต หรือแต่งเพลงให้กับศิลปินในสังกัดมากมายเช่น เกิร์ลลีเบอร์รี, ทู, เดอะเน็กซ์, เรนโบว์, ไอน้ำ, เฟลม, ศิลปินค่ายกามิกาเซ่รุ่นแรก ฯลฯ โดยเฉพาะงานเพลงประกอบละครโทรทัศน์หลายเรื่อง ที่สร้างชื่อเสียงให้กับชมพูเป็นอย่างดีในฐานะนักแต่งเพลง เช่น กนกลายโบตั๋น,คู่กรรม,ดวงตาสวรรค์,หงษ์ทอง,มณีร้าว,สายโลหิต,ญาติกา,รัตนโกสินทร์ ฯลฯ การศึกษา ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ชมพูยังมีผลงานการแสดงละครและภาพยนตร์หลายเรื่อง ส่วนใหญ่ได้รับบทเป็นเพื่อนของพระเอกหรือตัวสร้างสีสันในเรื่อง และยังเป็นกรรมการการตัดสินของ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ตำแหน่งสูงสุดในบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) ของเขา คือ รองกรรมการผู้อำนวยการฝ่ายผลิตธุรกิจเพลงไทย ทั้งเป็นผู้ก่อตั้งและผู้บริหารค่ายกามิกาเซ่ ต่อมาจึงลาออก โดยดำรงตำแหน่งเป็นผู้บริหารอาวุโสฝ่ายดูแลคอนเทนท์ศิลปิน บริษัทโซนี่ มิวสิก (ไทยแลนด์) จำกัด ได้ผลิตศิลปินที่มีชื่อเสียงอย่างซิงกูล่า เป็นต้น ปัจจุบันเป็นผู้บริหารที่ บริษัท เจเอสแอล โกลบอล มีเดีย จำกัด ในตำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสุทธิพงษ์ วัฒนจัง · ดูเพิ่มเติม »

สีเขียว

ีเขียว เป็นสีสีหนึ่งบนคลื่นที่ตามองเห็น ตั้งอยู่ระหว่างสีน้ำเงินและสีเหลือง สีเขียวเกิดจากแสงที่ความยาวคลื่นประมาณ 495-570 นาโนเมตร สีเขียวในแม่สีเชิงลบที่ใช้สำหรับระบายสีและพิมพ์สีเกิดจากสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงิน หรือสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงินอมเขียว ในระบบสี RGB ที่พบในโทรทัศน์และจอคอมพิวเตอร์ เป็นสีที่มาจากแม่สีเชิงบวก ร่วมกับสีแดงและสีน้ำเงิน ซึ่งต่างก็ผสมกันจนกลายเป็นสีอื่น ๆ ได้ ในภาษาอังกฤษใหม่ คำว่า green (สีเขียว) มาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า grene จากรากศัพท์ภาษาเยอรมันเดียวกันกับคำว่าคำว่า "grass" และ "grow" สีเขียวเป็นสีของการปลูกหญ้าและใบไม้ ด้วยเหตุนี้สีเขียวจึงเป็นสีของฤดูใบไม้ผลิ ความเจริญเติบโต และธรรมชาติEva Heller, Psychologie de la couleur- effets et symboliques.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสีเขียว · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (Bunditpatanasilpa Institute; ชื่อย่อ: BPI) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นผู้พระราชทานนามสถาบัน ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" โดยมีหน้าที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านช่างศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ทั้งไทยและสากล รวมถึงศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร

ันการอาชีวศึกษาเกษตร เกิดจากการรวมตัวของ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยแบ่งจัดตั้งเป็น 4 แห่งใน 4 ภูมิภาค เดิมมีชื่อว่า วิทยาลัยเกษตรกรรม เป็นวิทยาลัยในสังกัดกรมอาชีวศึกษา เกี่ยวกับเกษตรกรรมของประเทศไทย ต่อมาจึงมีการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนเป็นหน่วยงานภายใน จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี และเปิดการสอนทางด้านเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจ ในระดับระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และปริญญาตรี (สายปฏิบัติการ) ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

้รับรางวัลโนเบลมาก แห่งหนึ่งในโลก สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ มหาวิทยาลัยรัฐ คือ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับอุดหนุนงบประมาณส่วนใหญ่จากรัฐ โดยผ่านรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลท้องถิ่น ในประเทศไทย หมายถึงสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (เดิมคือ ทบวงมหาวิทยาลัย) ประกอบด้วยทั้ง มหาวิทยาลัยจำกัดรับในระบบราชการ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ฯลฯ มหาวิทยาลัยจำกัดรับนอกระบบราชการ (สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล) เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยไม่จำกัดรับ ได้แก่ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสหรัฐอเมริกา วิธีการสมัครเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน ไม่แตกต่างกัน สิ่งที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือค่าเรียน ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐชั้นนำในสหรัฐอเมริกาคือ พับลิกไอวี โดยเปรียบเทียบกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำ ในสหราชอาณาจักร สถาบันอุดมศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ยกเว้นเพียงแห่งเดียว คือมหาวิทยาลัยบัคกิ้งแฮม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี

นีโทรทัศน์ทีไอทีวี (Thailand Independent Television ชื่อย่อ: TITV) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟที่อยู่ในการกำกับดูแลโดย กรมประชาสัมพันธ์ ผู้ได้รับมอบอำนาจการออกอากาศจากสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ในสถานะหน่วยงานรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit - SDU) ตั้งแต่เวลา 00.00 น. วันที่ 8 มีนาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

สครับบ์

รับบ์ (Scrubb) เป็นศิลปินคู่หูดูโอสัญชาติไทย จากสังกัดค่าย บีอีซี-เทโร มิวสิค อันประกอบด้วย บอล - ต่อพงศ์ จันทบุบผา และ เมื่อย - ธวัชพนธ์ วงศ์บุญศิร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและสครับบ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์

หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ (28 ธันวาคม พ.ศ. 2453 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539) เป็นพระโอรสลำดับที่ 7 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ลำดับที่ 3 อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพระเชษฐภคินี พระอนุชา และพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 5 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและหม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล

ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร

หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร ทรงเป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์กับหม่อมสุภาพ ประสูติเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2432 ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัยและโรงเรียนนายร้อยทหารบก หลังจากนั้นเสด็จไปศึกษาต่อที่โรงเรียน Harrow ที่ประเทศอังกฤษ แล้วจึงเสด็จเรียนวิชาสถาปัตยกรรมที่ École des Beaux-Arts ที่ประเทศฝรั่งเศส หลังจากจบการศึกษาจึงเข้ารับราชการที่กรมศิลปากรในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข

อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข (ชื่อเล่นว่า แสตมป์ (Stamp) แสตมป์ อภิวัชร์ เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 เป็นนักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลง แสตมป์ เป็นชาวกรุงเทพมหานคร สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขาให้ความสนใจด้านดนตรีตั้งแต่วัยเยาว์ โดยเล่นคีย์บอร์ดและกีตาร์ ในระหว่างการเรียนในมหาวิทยาลัย เขาได้มีโอกาสประพันธ์เพลงประกอบละคอนถาปัดเรื่องเดชไอด้วนร่วมกับเพื่อนตั้งเป็นวงดนตรี ซึ่งเป็นละคอนปีที่มีเพลงประกอบเพราะๆมากมาย และส่งไปทางสถานีวิทยุคลื่น 104.5 (แฟตเรดิโอ) เขาจึงพลิกผันเข้าสู่วงการดนตรีนับแต่นั้น และได้ร่วมวงกล้วยไทยวงแนวนูเมทัลในตำแหน่งมือกีต้าร์ และต่อมาได้ย้ายไปอยู่วงเซเว่นธ์ซีนในฐานะนักร้องนำสังกัดค่ายเลิฟอีส และออกอัลบั้มแรกในชื่อเดียวกับวง ในปี พ.ศ. 2548 นอกจากงานด้านการร้องเพลงและเล่นดนตรีแล้ว อภิวัชร์ยังมีความสามารถในด้านการแต่งเพลงโดยแต่งเพลงให้กับนักร้องและโฆษณาหลายรายการ และมีผลงานอัลบั้มเดี่ยวอัลบั้มแรกคือ มิลเลียนเวส์ทูไรท์พาร์ต 1 ออกจำหน่ายในปี พ.ศ. 2551 และได้จัดคอนเสิร์ต แสตมป์เกรียนเดย์ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข · ดูเพิ่มเติม »

อมรินทร์ทีวี

อมรินทร์ ทีวี (Amarin TV) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ความคมชัดสูงจากบริษัทอมรินทร์ ที่เสนอรายการวาไรตี้และข่าวสารและผู้ผลิตมืออาชีพ โดดเด่นด้วยรายการไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต เช่น การแต่งบ้าน ซ่อมแซมบ้าน จัดสวน ทำอาหาร รายการสำหรับแม่และเด็ก อนึ่ง อมรินทร์ทีวี มีชื่อเดิมคือ อมรินทร์ แอคทีฟ ทีวี (Amarin Activ TV) ซึ่งเริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2556 โดยออกอากาศเป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมมาก่อน แต่ในปลายเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 อมรินทร์ แอคทีฟ ทีวี ต้องหยุดการแพร่ภาพออกอากาศ เนื่องจากบริษัท อมรินทร์ เทเลวิชั่น จำกัด ในฐานะผู้ดำเนินกิจการสถานีฯ ต้องการปรับรูปแบบการออกอากาศของสถานีฯ ไปเป็นโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล หลังจากที่เป็นหนึ่งในผู้ชนะการประมูลช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาพความคมชัดสูง (เอชดีทีวี) และได้รับใบอนุญาตการออกอากาศช่องโทรทัศน์จาก กสทช. เป็นเวลา 15 ปี ทำให้ไม่มีการแพร่ภาพออกอากาศของสถานีฯแห่งนี้ ยาวนานเกือบ 4 เดือน อมรินทร์ ทีวี เตรียมทำการทดลองออกอากาศตามแผนที่กำหนดไว้ในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เวลา 11.00 น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอมรินทร์ทีวี · ดูเพิ่มเติม »

อรุณพงศ์ ชัยวินิตย์

อรุณพงศ์ ชัยวินิตย์ (ชื่อ-สกุลเดิม: พงศธร สุภิญโญ) หรือ ดิว เป็นนักร้องชาวไทย เป็นที่รู้จักจากการประกวดบนเวที เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 5 โดย ดิว เป็นผู้ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ จากเดอะสตาร์ 5 นอกจากนี้ดิวเคยเข้าประกวด True Academy Fantasia Season 4 แต่ต้องออกจากการแข่งขันในสัปดาห์ที่ 2 เนื่องจากเป็น 1 ใน 4 คนที่ได้รับคะแนนโหวตน้อยที่สุด ดิวเรียนจบระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนเมรี่อิมมาคุเลตคอนแวนต์ชลบุรี และชั้นมัธยมศึกษา ดิวเข้าศึกษาที่โรงเรียนชลราษฎรอำรุง จังหวัดชลบุรี สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จาก คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ดิวพูดถึงตัวเองว่า เป็นคนนิสัยตลก หากมีเวลาว่างจะชอบนอน และไปดูหนัง แนวเพลงที่ชอบคือ Soul, Rock, R&B, Blue สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบไปเที่ยวคือ น้ำตก ปาย ภูเขา อาหารจานโปรดคือแกงส้มมะรุม กีฬาที่ชอบ คือ ว่ายน้ำ ศิลปินคนโปรด คือ Jass stang / Keysha cole / Norah Jones นักแสดงที่ชื่นชอบ: ดราโกต้า เฟนนิ่ง, ฮีท เลทเจอร์ หากมีโอกาสก็อยากแสดงละครโดยบทบาทที่อยากแสดง คือ คนโรคจิต ติงต๊อง บ้าบอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอรุณพงศ์ ชัยวินิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรย่อ

อักษรย่อ หรือ คำย่อ หรือ รัสพจน์ เป็นการนำอักษรบางตัวในคำหนึ่งๆ ใช้เรียกแทนคำเต็ม โดยมากจะเป็นพยัญชนะ อาจใส่จุดหรือไม่ใส่หลังอักษรนั้นๆ นิยมนำอักษรต้นพยางค์ แต่บางครั้งก็มีการใช้อักษรท้ายพยางค์ก็มี และบางครั้งอักษรย่อก็สามารถอ่านได้เป็นพยางค์ใหม่ ในภาษาไทย เมื่ออักษรย่อมีตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะใส่จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว (ไม่ใส่ทีละอักษร) ยกเว้นบางตัวที่เคยมีใช้กันมาก่อนจนเป็นที่ยอมรับแล้ว เช่น น..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอักษรย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อังคาร กัลยาณพงศ์

อังคาร กัลยาณพงศ์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 — 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555) เป็นทั้งกวีและจิตรกร เกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ศึกษาระดับประถมที่ โรงเรียนวัดจันทาราม ต่อมาก็เรียนที่วัดใหญ่จนจบประถมสี่ แล้วย้ายไปเรียนที่โรงเรียนมัธยมประจำจังหวัด คือ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช ศึกษาศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่าง และที่คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อังคารเป็นผู้ได้รับการยอมรับในฐานะเป็นจิตรกรและกวี เป็นกวีที่มีความโดดเด่น ทั้งในด้านความคิดและรูปแบบ อีกทั้งยังเป็นกวีที่มีความคิดเป็นอิสระ ไม่ถูกร้อยรัดด้วยรูปแบบที่ตายตัว จึงนับเป็นกวีผู้บุกเบิกกวีนิพนธ์ยุคใหม่ ซึ่ง นิธิ เอียวศรีวงศ์ ได้กล่าวถึงผลงานกวีนิพนธ์ของอังคาร กัลยาณพงศ์ ว่ามีความโดดเด่นเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอังคาร กัลยาณพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ. 2549 นี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการจัดลำดับมหาวิทยาลัยรัฐในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย 2 หน่วยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) สำหรับในต่างประเทศได้มีการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกจากทั้ง นิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ นิตยสารเอเชียวีก บริษัท แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส จำกัด, CWTS, CWUR ฯลฯ รวมทั้งการจัดอันดับความเป็นอิเล็กทรอนิกส์และการเข้าถึงเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยจากเว็บไซต์เว็บโอเมตริกซ์ โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยบางส่วนได้ถูกเสนอชื่อเข้าไปในนั้น ในขณะที่บางลำดับเช่นจาก มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวถง ไม่มีรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยแต่อย่างใ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธ เงินชูกลิ่น

ลอากาศตรี ศาสตราภิชานอาวุธ เงินชูกลิ่น (22 มีนาคม พ.ศ. 2485 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) เป็นสถาปนิกชาวไทย อดีตอธิบดีกรมศิลปากร อาจารย์พิเศษในหลายมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้านออกแบบสถาปัตยกรรมไทย หัวหน้าผู้ออกแบบพระเมรุ ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพถึง 3 ครั้ง ได้แก่ พระเมรุ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ ท้องสนามหลวง พล.อ.ต.อาวุธ ยังได้ออกแบบงานสถาปัตยกรรมที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยในงานออกแบบถึง 2 งานหลักๆ ได้แก่ วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังเป็นผู้รับผิดชอบในการบูรณะปฏิสังขรณ์ โบราณสถานแห่งชาติที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็นงานงานบูรณะมณฑป โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร ในปี.ศ 2539 ให้เป็นมณฑปสีดำ หรือหุ้มด้วยทองแดง ยอดพระมหามณฑป วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร จนต่อมาได้รับการยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (ประยุกต์ศิลป์) สาขาย่อย สถาปัตยกรรม ประจำปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอาวุธ เงินชูกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชะอำ

อำ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัด ซึ่งมีหาดทรายขาว ยาว และยังเป็นแหล่งเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวที่สำคัญ ซึ่งเป็นรายได้ให้กับด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการค้าของที่ระลึก ร้านอาหาร การประมง เป็นต้น นอกจากนี้ชะอำยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมจากชาวไทยและชาวต่างประเทศในระดับต้น ๆ ของประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอำเภอชะอำ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนครปฐม

อำเภอเมืองนครปฐม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม เดิมชื่อ อำเภอพระปฐมเจดีย์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2456 จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นอำเภอเมืองนครปฐม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอำเภอเมืองนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2538

หตุการณ์ครั้งนี้ อุทกภัยในประเทศไท..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

อุดมศึกษา

อุดมศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษารองจากระดับมัธยมศึกษา คำว่า อุดมศึกษา มีรากศัพท์มาจากศัพท์ภาษาบาลี "อุตม" หมายถึง สูงสุด และศัพท์ภาษาสันสกฤต ศิกฺษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั้น คำว่า "อุดมศึกษา" จึงหมายถึง การเรียนขั้นสูง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

อดุล วิเชียรเจริญ

ตราจารย์ อดุล วิเชียรเจริญ อดีตประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก เกิดวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2469 เป็นชาวเพชรบุรี คณบดีคนแรกของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ้นจากตำแหน่งคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและอดุล วิเชียรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น

อร์โมนส์ วัยว้าวุ่น (Hormones) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทละครชุด ผลิตโดยจีทีเอชและนาดาวบางกอก สร้างเรื่องและเขียนบทโดยทรงยศ สุขมากอนันต์ โดยเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนนาดาวบางกอก ออกอากาศทางช่องโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียมและสถานีโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จรูญวิทย์ พัวพันวัฒนะ

รูญวิทย์ พัวพันวัฒนะ หรือ บิว จรูญวิทย์ หรือรู้จักกันในชื่อ บิว เดอะวอยซ์ ปัจจุบันอายุ ปี เป็นนักร้องที่เป็นที่รู้จักจากรายการ เดอะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 3 ทีมโค้ชโจอี้ บอย ในการแข่งขันสามารถผ่านไปได้ถึงรอบชิงชนะเลิศหรือ Final Round โดยได้รับตำแหน่งรองชนะเลิศอันดับที่ 2 จากการประกวด เนื่องจากมีลีลาท่าทางการร้องถูกใจผู้ชมทางบ้าน การบิดเกร็งของใบหน้าและลำคอ ปัจจุบันกำลังศึกษาในระดับชั้นปีที่ 4 เอกมานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร และมีผลงานเพลงในชื่อเพลง "อยู่อย่างเสือ" ซึ่งเป็นเพลงประกอบละครเรื่อง กระตุกหนวดเสือ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและจรูญวิทย์ พัวพันวัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพันธุ์ โปษยกฤต

อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต จักรพันธุ์ โปษยกฤต หรือที่รู้จักกันในนาม อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต เกิดเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและจักรพันธุ์ โปษยกฤต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จัน

ัน, จันอิน, จันโอ, จันขาว หรือ จันลูกหอม เป็นพืชวงศ์เดียวกับมะพลับและมะเกลือ เป็นพืชท้องถิ่นของประเทศไทย เปลือกต้นสีน้ำตาลอมดำ ใบเดี่ยว ดอกขนาดเล็ก สีขาวหรือเหลือง ผลกลมเมื่อสุก สีเหลืองรสหวาน ผลมีสองแบบคือ ผลที่มีรอยบุ๋มตรงกลาง เมล็ดลีบหรือไม่มีเมล็ด เรียกลูกจันอิน ส่วนผลที่ไม่มีรอยบุ๋ม มีเมล็ด 2-3 เมล็ดเรียกลูกจันโอ ผลมีกลิ่นหอมและมีรสฝาด ต้องคลึงผลให้ช้ำ รสฝาดจึงจะหายไปนิยมกินเป็นผลไม้สด และนิยมปลูกในวัด ผลสุกรับประทานได้ หรือนำไปแปรรูปเป็นของหวาน ผลช่วยแก้อาการนอนไม่หลับ กระสับกระส่าย เนื้อไม้มีรสขมปนหวาน เป็นยาบำรุงประสาท แก้ร้อนใน แก้ไข้ ขับพยาธิ แก่นใช้ต้มรวมกับสมุนไพรอื่น ใช้เป็นยาแก้ไข้ ผลดิบทางภาคอีสานนำไปตำส้มตำ โดยสับทั้งเปลือก ใช้แทนมะละกอ ปรุงรสเปรี้ยวด้วยมะยมและมะเฟือง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและจัน · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรม

มนาลิซา เป็นหนึ่งในภาพจิตรกรรมที่เป็นที่จดจำได้มากที่สุดในโลกตะวันตก โดย นายชัยยะนุช จิตรกรรม (painting) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น เพื่อให้เกิดภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ได้ให้ความหมายของจิตรกรรมไว้ว่า จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของสีลงบนพื้นระนาบรองรับ เป็นการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท์ อธิบายว่า เป็นการสร้างงานทัศนศิลป์บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ จิตรกรรมลงบนพื้นระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักอยู่ที่ถ้ำ Chauvet ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประวัติศาสตร์บางคนอ้างว่ามีอายุราว 32,000 ปีเป็นภาพที่สลักและระบายสีด้วยโคลนแดงและสีย้อมดำ แสดงรูปม้า แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษย์ ซึ่งมักจะกำลังล่าสัตว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

จุมพล อดุลกิตติพร

มพล อดุลกิตติพร ชื่อเล่น ออฟ พิธีกรและนักแสดงสังกัดจีเอ็มเอ็มทีวี แจ้งเกิดจากการเป็นพิธีกรรายการ Five Live Fresh ทางช่อง BANG Channel หลังจากนั้นออฟก็มีผลงานต่างๆในวงการบันเทิง โดยที่โดดเด่นคือได้เล่นซีรีส์ ROOM Alone โดยรับบทเป็น ปืน ต่อมา ออฟ จุมพล ได้มีผลงานซีรีส์เรื่อง รุ่นพี่ Secret love ตอน puppy honey โดย ออฟ รับบทเป็น ปิ๊ก (ปกรณ์ สิรินโชต) แสดงคู่กับ กัน อรรถพันธ์ พูลสวัสดิ์ ซึ่งรับบทเป็น โรม (ธนภัทร ภรณ์พรหม) เมื่อซีรีส์เรื่องนี้ออกอากาศก็ได้รับความนิยมและเสียงตอบรับเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะคู่ของปิ๊กและโรม (ออฟและกัน) ด้วยเคมีที่ลงตัวของทั้งสอง จึงเกิดกระแสเป็น คู่จิ้นคู่ใหม่ที่มีแฟนคลับชื่นชอบเป็นจำนวนมาก และด้วยการตอบรับที่ดีจากแฟนคลับ จึงทำให้บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ประเภทธุรกิจ ช่อง ช่องวัน สร้างภาคต่อของซีรีส์เรื่องนี้ ในชื่อว่า รุ่นพี่ Secret love ตอน puppy honey 2 สแกนหัวใจนายหมอหมา ซึ่งเมื่อซีรีส์เรื่องนี้ออกอากาศก็ได้รับความนิยมไม่แพ้ภาคแรก อีกทั้งยังเกิดเป็นกระแสโด่งดังใน social network ทำให้ tag #ปิ๊กโรม และ #ออฟกัน ติดชาร์จอันดับ 1 บนสื่อ twitter (ลักษณะการค้นหา:การค้นหาภายในประเทศ) และที่สำคัญยังมีแฟนคลับชาวต่างประเทศชื่นชอบคู่จิ้นออฟกันอีกเป็นจำนวนมาก จนทำให้ทาง GMMTV จัดงาน Fan-Meeting ของออฟและกันในหลายๆ ประเท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและจุมพล อดุลกิตติพร · ดูเพิ่มเติม »

จีดีเอช ห้าห้าเก้า

ีดีเอช ห้าห้าเก้า (Gross Domestic Happiness: GDH.) หรือที่นิยมเรียกตามชื่อย่อว่า จีดีเอช เป็นบริษัทผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย เกิดขึ้นหลังการปิดตัวของ จีเอ็มเอ็ม ไท หับ ในเดือนพฤศจิกายน 2558 จนกระทั่งเมื่อต้นเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและจีดีเอช ห้าห้าเก้า · ดูเพิ่มเติม »

ธมลวรรณ กอบลาภธนากูล

มลวรรณ กอบลาภธนากูล หรือ ไอซ์ ธมลวรรณ เป็นนักร้องหญิงที่โด่งดังมาจากการ Cover เพลงผ่านทางยูทูป ซึ่งมียอดเข้าชมมากถึง 100 ล้านวิว ปัจจุบันได้ออกซิงเกิลเดี่ยวภายใต้สังกัด ไอแอมมิวสิค และ ทรู แฟนเทเชีย เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและธมลวรรณ กอบลาภธนากูล · ดูเพิ่มเติม »

ธีร์ วณิชนันทธาดา

ีร์ วณิชนันทธาดา เกิดวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2528 เดิมชื่อ "ธรณธันย์ วณิชนันทธาดา" เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะศึกษาศาสตร์ เอกจิตวิทยา ม.ศิลปากร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและธีร์ วณิชนันทธาดา · ดูเพิ่มเติม »

ธนิต อยู่โพธิ์

นายธนิต อยู่โพธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและธนิต อยู่โพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ดัชนี

วัลย์ ดัชนี ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2544 สาขาจิตรกรรม ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและถวัลย์ ดัชนี · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหน้าพระลาน

ถนนหน้าพระลาน(ช่วงที่ผ่านมหาวิทยาลัยศิลปากร) ตึกแถวริมถนนหน้าพระลาน ถนนหน้าพระลาน (Thanon Na Phra Lan) เป็นถนนในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งต้นจากปลายถนนราชดำเนินในต่อถนนสนามไชยที่มุมป้อมเผด็จดัสกร ไปตามกำแพงพระบรมมหาราชวัง ตัดกับถนนมหาราช ไปสุดที่ท่าช้างวังหลวง ถนนหน้าพระลานเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น โดยขยายจากถนนเดิมที่มีอยู่ก่อนแล้วตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่เป็นถนนนูนดินสูง เหตุที่ชื่อถนนหน้าพระลานเพราะเป็นถนนที่อยู่หน้าพระลานพระบรมมหาราชวัง ỒỒ หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตพระนคร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและถนนหน้าพระลาน · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 5

ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 5 จัดระหว่างวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2551 เป็นฤดูกาลที่เปิดบ้านที่เร็วที่สุดนับตั้งแต่จัดการแข่งขันมา เพราะต้องจบฤดูกาลก่อนกีฬาโอลิมปิคจะเริ่มขึ้น (8 สิงหาคม พ.ศ. 2551) และยังต้องเลื่อนเวลาคอนเสิร์ตในวันเสาร์ในช่วงหนึ่งให้เร็วขึ้นครึ่งชั่วโมงเป็น 20.30 น. เป็นเวลา 3 สัปดาห์ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 4 ถึงสัปดาห์ที่ 6 เพื่อให้จบคอนเสิร์ตก่อนการถ่ายทอดฟุตบอลยูโร 2008 ฤดูกาลนี้ก็สร้างความแปลกใจอีกครั้งหนึ่งด้วยการมีนักล่าฝันถึง 16 คน โดยมาจากการ Walk Audition ทั้งหมด 12 คน และมาจากการ Online Audition ทั้งหมด 4 คน โดยในฤดูกาลนี้จะแบ่งการคัดเลือกเป็น Walk Audition กับ Online Audition อย่างชัดเจน จนกว่าจะได้ 12 คนสุดท้ายและจะเข้าสู่กติกาปกติ คอนเสริตสัปดาห์แรกเริ่มในวันที่ 17 พฤษภาคม 2551 ที่ ธันเดอร์โดม เมืองทองธานี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ทวีศักดิ์ เสนาณรงค์

ทวีศักดิ์ เสนาณรงค์ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 -) อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาเอกชน อดีตรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตอธิบดีกรมศิลปากร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและทวีศักดิ์ เสนาณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนศิลป์

ทัศนศิลป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและทัศนศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าช้างวังหลวง

ท่าช้างวังหลวง หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า ท่าช้าง เป็นท่าเรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บริเวณสุดถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและท่าช้างวังหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ขรรค์ชัย บุนปาน

นายขรรค์ชัย บุนปาน (ชื่อเล่น: ช้าง) หนึ่งในผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน, ประธานกรรมการ บริษัท มติชน จำกัด (มหาชน), นักหนังสือพิมพ์, คอลัมนิสต์, นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ประจำปี พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและขรรค์ชัย บุนปาน · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชี่บอยแอนด์เกิร์ล

ัชชี่บอยแอนด์เกิร์ล (Dutchie Boys & Girls) เป็นการประกวดหนุ่มสาวที่ประสบความสำเร็จชั้นแนวหน้าของเมืองไทย เริ่มจัดการประกวดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2539 โดยเป็นเวทีแห่งการค้นหา "ดาวดวงใหม่" โดยเปิดโอกาสให้เยาวชนทั้งชายและหญิงได้แสดงความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ โดยผู้ที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายจะได้รับการสนับสนุนจากบริษัทต่างๆ และสื่อมวลชน ให้มีโอกาสเข้าสู่วงการบันเทิงในสาขาอาชีพต่างๆ เช่น นักแสดง นักร้อง พิธีกร นายแบบ นางแบบ สำหรับผู้ชนะเลิศทั้งชายและหญิงจะได้เป็นพรีเซ็นเตอร์คนใหม่ของ โยเกิร์ตดัชชี่ ปัจจุบันยังคงดำเนินการจัดการประกวดอยู่ (ปี 2010 - 2011 งดการจัดประกวดโดยไม่ทราบสาเหตุ) ในปี 2012 ดัชชี่บอยแอนด์เกิร์ล กลับมาจัดประกวดอีกครั้งหลังจากห่างหายไม่ได้จัดประกวดมา 2 ปี เต็ม ปี 2557 ได้ปรับเปลี่ยนการรับสมัครและชื่อการประกวดเป็น Freshy Boy & Girl 2014 และ ปี 2558 เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น Beautylabo Cutie Contest Boy&Girl ถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและดัชชี่บอยแอนด์เกิร์ล · ดูเพิ่มเติม »

คอกโครัลลีไซมอนส์

อกโครัลลีไซมอนส์ (Quacquarelli Symonds) (QS) เป็นบริษัทเอกชนทำธุรกิจในด้านการศึกษาก่อตั้งใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคอกโครัลลีไซมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Engineering and Industrial Technology, Silpakorn University) ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Management Science, Silpakorn University) จัดตั้งขึ้นเป็นคณะวิชาที่ 12 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เริ่มจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2545 ณ วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี มีจุดมุ่งหมายที่จะผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาที่สามารถประกอบอาชีพอิสระได้ระดับหนึ่ง เป็นบุคลากรที่มีความสามารถทางธุรกิจขั้นพื้นฐาน รวมทั้งมีความสามารถในการร่วมปฏิบัติงานในหน่วยงานภาครัฐและธุรกิจเอกชนได้เป็นอย่างดี โดยคำนึงถึงการตอบสนองต่อความต้องการและความพึงพอใจของผู้รับบริการ คุณภาพชีวิต และคุณภาพของสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ คณะวิทยาการจัดการ มีความมุ่งมั่นที่จะเน้นให้นักศึกษาของคณะได้ฝึกฝนความรู้และทักษะในภาษาอังกฤษ และ/หรือภาษาต่างประเทศที่สอง รวมทั้งทักษะทางด้านเทคโนโลยีและการเป็นผู้ประกอบการ คณะยังสนับสนุนให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรง ทั้งจากการฝึกงาน การดูงาน การแข่งขันภายนอก และการทำโครงการต่าง ๆ ในทุกหลักสูตรของคณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Science, Silpakorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (Faculty of Applied Art and Architecture) เป็นคณะแรกของมหาวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนทางด้านศิลปะในหลักสูตรระดับปริญญาตรี และในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Education, Silpakorn University) ได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Animal Sciences and Agricultural Technology, Silpakorn University) จัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นหน่วยงานระดับคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยศรีปทุม ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2536 เพื่อทำหน้าที่จัดการเรียนการสอนด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ และเป็นไปตามปณิธานของ ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาบัยศรีปทุม ที่ให้ความสำคัญดับการพัฒนาคน ควบคู่ไปกับการพัฒนาบ้านเมือง คณะฯ มุ่งเน้นและพัฒนาการเรียนการสอน โดยการออกแบบ 1 หลักสูตรใหม่ ที่มีวิธีการสอนและกระบวนการเรียนรู้ที่แตกต่างจากสถาบันการศึกษาที่อื่น ที่เรียกว่าระบบ "House System" 2 กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้นักศึกษาเรียนรู้จากประสบการณ์จริง พื้นที่จริง และตัวจริง หรือ สำนักงานออกแบบที่มีชื่อเสียงและได้รับรางวัลระดับนานาชาติ ที่เรียกระบบนี้ว่า " Firm Base Learning" 3 สร้างและพัฒนาองค์ความรู้เฉพาะด้าน เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญเฉพาะกับอาจารย์ผู้สอน เพื่อส่งต่อให้กับนักศึกษา และสร้างจุดเด่นให้กับนักศึกษาที่จบไปนอกจากความรู้ทางด้านสถาปัตยกรรมที่เป็นพื้นฐาน รวมถึงการเรียนรู้บนพื้นที่จริงๆที่เรียนรู้ผ่านชุมชนและผู้ใช้ (users) ในชุมชนนั้นๆ ที่เรียกว่า "Area Base Learning" 4 สร้างกิจกรรมทางการศึกษาและกิจกรรมที่พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้กับนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นให้นักศึกษามีส่วนร่วมและเป็นส่วนหนึ่งของผู้ทำกิจกรรมนั้นๆ โดยดูได้จาก เว็.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Architecture, Silpakorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Architecture, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 14 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น และเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกในส่วนภูมิภาค รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 20.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2544 ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็น 1 ใน 7 คณะของสถาบัน มีทั้งสิ้น 3 กลุ่มวิชา ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามหอสมุดกลาง ติดกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มีเนื้อที่ 80 ไร่เศษ แต่เดิมเป็นโรงเรียนช่างบริการส่งเสริมอาชีวศึกษาก่อนที่ยกฐานะเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ถือเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ที่ใหญ่และมีพื้นที่การเรียนการสอนมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Arts, Silpakorn University) จัดตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University) มีรากฐานมาจากหลักสูตรจิตรกรรมและประติมากรรมของโรงเรียนศิลปากรแผนกช่าง ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร มีคณะจิตรกรรมประติมากรรมเป็นคณะวิชาเดียวของมหาวิทยาลัยศิลปากร จัดตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Music, Silpakorn University) จัดตั้งขึ้นเป็นคณะวิชาที่ 10 ในมหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Archaeology, Silpakorn University) ตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 3 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Pharmacy, Silpakorn University) ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Information and Communication Technology, Silpakorn University) เป็นคณะที่ 13 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนโดยผสานศาสตร์ทางศิลปะซึ่งเป็นศาสตร์แขนงที่มหาวิทยาลัยศิลปากรมีความเชี่ยวชาญ กับศาสตร์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขึ้น ในปีการศึกษา 2546 ครั้งแรกเปิดสอน 2 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ โดยการผสานศาสตร์ทางการบริหารจัดการกับศาสตร์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ โดยผสานศาสตร์ทางศิลปะกับศาสตร์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งแบ่งเป็น 3 วิชาเอก ได้แก่ วิชาเอกเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบแอนิเมชัน วิชาเอกเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบเกม และวิชาเอกเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบเว็บและสื่อโต้ตอบ ในปีการศึกษา 2550 ได้เปิดสอนสาขาวิชานิเทศศาสตร์ โดยบูรณาการศาสตร์ทางศิลปะกับศาสตร์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้กับนิเทศศาสตร์และการสื่อสารมวลชน ซึ่งมี 5 วิชาเอก ได้แก่ วิชาเอกการโฆษณา วิชาเอกการลูกค้าสัมพันธ์ วิชาเอกภาพยนตร์ วิชาเอกวารสารและหนังสือพิมพ์ และวิชาเอกวิทยุและโทรทัศน์ นอกจากงานด้านการเรียนการสอน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารยังได้ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนด้านการวิจัยและการให้บริการวิชาการ รวมทั้งร่วมมือและประสานงานกับหน่วยงานราชการ เอกชน สมาคม หรือองค์กรต่าง ๆ ในสาขาวิชาชีพเพื่อการเผยแพร่และส่งเสริมงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและสาขาที่เกี่ยวเนื่อง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

ค็อกเทล (วงดนตรี)

็อกเทล เป็นวงดนตรีร็อกจากกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในช่วงปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและค็อกเทล (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของไทย

ตราแผ่นดินของไทย คือตราพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ เทพพาหนะของพระนารายณ์ ใช้เป็นสัญลักษณ์ของพระราชอำนาจแห่งพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของชาติและเป็นองค์อวตารของพระนารายณ์ตามแนวคิดสมมุติเทพ โดยเริ่มใช้มาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่หลัง พ.ศ. 2436 เป็นต้นมา แต่มาใช้อย่างเต็มที่แทนตราแผ่นดินเดิมทั้งหมดเมื่อ พ.ศ. 2453 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ใช้ตราอาร์มเป็นตราแผ่นดินใน พ.ศ. 2416 ต่อมาพระองค์มีพระราชดำริว่า ตราอาร์มที่ใช้เป็นตราแผ่นดินในเวลานั้นเป็นอย่างฝรั่งเกินไป และทรงระลึกได้ว่า พระเจ้าแผ่นดินสมัยกรุงศรีอยุธยาเคยใช้ตราพระครุฑพ่าห์มาก่อน (ตราที่กล่าวถึงคือตราพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์องค์เดิม) จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงเขียนพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ขึ้นเป็นตราแผ่นดินเพื่อใช้แทนตราอาร์ม โดยครั้งแรกทรงเขียนเป็นรูปตราพระนารายณ์ทรงครุฑจับนาค ตรานี้ได้ใช้อยู่ระยะหนึ่งก็โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงเขียนตราครุฑขึ้นใหม่อีกครั้งเป็นตราวงกลม โดยยกรูปพระนารายณ์และนาคออกเสีย คงเหลือแต่รูปครุฑ ซึ่งเขียนเป็นรูปครุฑรำตามแบบครุฑขอม พื้นเป็นลายเปลวไฟ เมื่อนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายก็ชอบพระราชหฤทัย และมีพระราชประสงค์ที่จะให้ใช้ตรานี้เป็นตราแผ่นดินถาวรสืบไป จะได้ไม่ต้องสร้างขึ้นใหม่เมื่อเปลี่ยนรัชกาล ไฟล์:Emblem_of_Thailand_(ancient).png|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์องค์เดิม ไฟล์:Emblem_of_Thailand_(1893).png|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์องค์กลาง ฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ไฟล์:Garuda Seal of Thailand.svg|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ ฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไฟล์:Seal garuda thailand rama9.jpg|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ รัชกาลที่ 9 จำลองจากพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ รัชกาลที่ 5 ไฟล์:Royal Garuda Seal for HM King Vajiralongkorn.jpg|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ รัชกาลที่ 10 อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเทวาภินิมมิต (ฉาย เทียมศิลปชัย) เป็นผู้เขียนตราครุฑถวายใหม่ โดยยังคงใช้ตราครุฑเดิมแบบสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพียงแต่เพิ่มพระปรมาภิไธยตามขอบพระราชลัญจกร และเปลี่ยนพระปรมาภิไธยที่ขอบพระราชลัญจกรให้ตรงตามรัชกาล และให้ยึดถือเป็นแบบอย่างต่อมาจนถึงปัจจุบัน โดยพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ประจำรัชกาลจะสร้างขึ้นใหม่เมื่อพระมหากษัตริย์ได้รับการบรมราชาภิเษกแล้วเท่านั้น ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล จึงไม่มีการสร้างพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ประจำรัชกาลขึ้น เนื่องจากพระองค์มิได้กระทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษก คงมีแต่พระราชลัญจกรประจำรัชกาลเท่านั้น และเชิญพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์สมัยรัชกาลที่ 5 ออกประทับแทน แต่ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ปรากฏว่าได้มีการสร้างพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ตั้งแต่ยังไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก โดยมีพระปรมาภิไธยที่ขอบพระราชลัญจกรตามพระปรมาภิไธยของพระองค์ นับเป็นครั้งแรกที่มีการสร้างพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ก่อนการบรมราชาภิเษก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและตราแผ่นดินของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตีสิบ

ตีสิบ (At Ten) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทวาไรตี้ทอล์กโชว์ ออกอากาศทุกวันอังคาร เวลา 23.20-00.50 น. (เคยออกอากาศวันอังคารเวลา 22.30 - 00.30 น.) ทางไทยทีวีสีช่อง 3 โดยออกอากาศเป็นครั้งแรกเมื่อวันอังคารที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 โดยปัจจุบัน มีการบันทึกรายการ ที่ สหมงคลสตูดิโอ ลาดพร้าว 60 ผลิตโดย บริษัท ทเว็นตี้ ทเว็นตี้ เอ็นเทอร์เทนเมนต์ จำกัด ของนายวิทวัจน์ สุนทรวิเนตร์ อดีตผู้ดำเนินรายการสี่ทุ่มสแควร์ ทางช่อง 7 สี และวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ได้ย้ายวัน-เวลาออกอากาศเป็นทุกวันเสาร์ เวลา 15.30 น. - 17.00 น. และเวลา เวลา 14.45 น. - 16.15 น. โดยใช้ชื่อว่า ตีสิบเดย์ (At Ten Day) และพบกับเวลาใหม่ของรายการตีสิบเดย์ ในเวลา 15.00 - 16.15 น. เริ่มวันเสาร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2560.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและตีสิบ · ดูเพิ่มเติม »

ต้นหน ตันติเวชกุล

ต้นหน ตันติเวชกุล เป็นนายแบบและนักแสดงชาวไทย สังกัดจีทีเอชและ นาดาวบางกอก มีผลงานสร้างชื่อจากซีรีส์ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น โดยรับบทเป็นเภา ต้นหนสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายมัธยม) ปัจจุบันกำลังศึกษาที่คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เริ่มเข้าวงการครั้งแรกเมื่ออายุ 14 ปี เริ่มต้นด้วยการถ่ายแบบโฆษณา ตามด้วยแบบแฟชั่นต่าง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและต้นหน ตันติเวชกุล · ดูเพิ่มเติม »

ซานตาลูชีอา

ซานตาลูชีอา (Santa Lucia) เป็นเพลงพื้นเมืองภาษานาโปลี ซึ่งได้รับการแปลงเนื้อร้องเป็นภาษาอิตาลี โดยเตโอโดโร กอตตราอู (Teodoro Cottrau; 1827–1879) ในปี ค.ศ. 1849 ที่เมืองเนเปิลส์ เนื้อร้องบรรยายถึงทัศนียภาพอันงดงามในอ่าวเนเปิลส์ ด้านหน้าย่านชุมชนบอร์โกซานตาลูชีอา คนเรือเชื้อเชิญให้ผู้คนลงเรือเพื่อชมความงามของท้องทะเลยามพระอาทิตย์ตก เพลงนี้ถูกนำไปขับร้องในภาษาต่าง ๆ มากมาย เช่นที่ขับร้องโดยเอนริโก คารูโซ, มาริโอ แลนซา และเอลวิส เพรสลีย์ ในสหรัฐอเมริกา เป็นเพลงขับร้องสรรเสริญในเทศกาลนักบุญลูซีอา (Saint Lucy) ในสวีเดน เดนมาร์ก และนอร์เว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและซานตาลูชีอา · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเวศ ลิมปรังษี

ประเวศ ลิมปรังษี ประเวศ ลิมปรังษี (17 กันยายน พ.ศ. 2473 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) เป็นสถาปนิกชาวไทย เกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช รับราชการจนดำรงตำแหน่ง ผู้ราชการจนดำรงตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษ (สถาปนิก 9) ด้านบูรณปฏิสังขรณ์ กรมศิลปากรในปัจจุบัน กรมศิลปากร มีผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมยาวนานกว่า 30 ปี ทั้งการออกแบบผูกลายไทย มีผลงานทั้งในและต่างประเทศ เช่น การออกแบบพระอุโบสถวัดพุทธประทีป ณ มหานครลอนดอน พลับพลาพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบรมมหากษัตริยาธิราช ณ ท้องสนามหลวงพระเมรุมาศพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี และบูรณะพระธาตุพนม เป็นต้น ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและประเวศ ลิมปรังษี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและประเทศตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญาตรี

ปริญญาตรี หรือ ปริญญาบัณฑิต เป็นระดับการศึกษาย่อยในการอุดมศึกษา ต่อเนื่องจากชั้นมัธยมศึกษา คำว่า ตรี หมายถึง ชั้นที่สาม (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่า โท สูงกว่า จัตวา) ระดับปริญญาตรี โดยทั่วไปเวลาสี่ปี แต่สามารถช่วง 2-6 ปีขึ้นอยู่กับภูมิภาคของโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและปริญญาตรี · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญาโท

ปริญญาโท (master's degree) เป็นปริญญาที่ให้แก่บุคคลซึ่งผ่านการศึกษาซึ่งแสดงความชำนาญหรือภาพรวมระดับสูง (high-order overview) ของสาขาการศึกษาหรือแขนงการประกอบวิชาชีพเฉพาะ ในขอบเขตที่ศึกษา ผู้ได้รับปริญญาโทถือว่ามีความรู้สูงในหัวข้อทฤษฎีและประยุกต์กลุ่มชำนัญพิเศษ ทักษะการวิเคราะห์ การประเมินเชิงวิจารณ์หรือการประยุกต์ทางวิชาชีพระดับสูง และความสามารถแก้ไขปัญหาซับซ้อนและคิดอย่างเคร่งครัดและเป็นอิสระ หมวดหมู่:ระดับปริญญา หมวดหมู่:ปริญญาโท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและปริญญาโท · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญาเอก

ปริญญาเอก (doctorate) เป็นปริญญาวิชาการหรือวิชาชีพซึ่งในประเทศส่วนใหญ่ให้ผู้ถือมีคุณสมบัติสอนในระดับมหาวิทยาลัยในสาขาเฉพาะของปริญญานั้น หรือทำงานในวิชาชีพเฉพาะ ในบางประเทศ ปริญญาสูงสุดในสาขาหนึ่ง ๆ เรียก ปริญญาสูงสุด (terminal degree) คำว่า "doctorate" มาจากภาษาละติน docere หมายถึง "สอน".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและปริญญาเอก · ดูเพิ่มเติม »

ปุยฝ้าย

ปุยฝ้าย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและปุยฝ้าย · ดูเพิ่มเติม »

นัฏฐา ลอยด์

นัฏฐา ลอยด์ เป็นพิธีกร นักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและนัฏฐา ลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวไทย

นางสาวไทย เป็นการประกวดนางงามรายการที่ 2 ของประเทศไทย ต่อจากนางสาวสยาม โดยในยุคแรกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมส่งเสริมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาจัดขึ้นเพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นผู้แทนประเทศไทย ไปประกวดนางงามจักรวาล และในปัจจุบันจัดขึ้นเพื่อให้เป็นทูตวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและนางสาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

นนทพร ธีระวัฒนสุข

นนทพร ธีระวัฒนสุข ชื่อเล่นหญิงแย้ เกิดเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2530 เป็นชาวจังหวัดนครปฐมตั้งแต่กำเนิด นนทพรเป็นสาวที่มีความมั่นใจในตัวเองมากเพราะเธอสูง 168 เซนติเมตร หนัก 47 กิโลกรัม สัดส่วน 32-23-33 เธอจึงเริ่มเข้าวงการจากการถ่ายโฆษณา TVC SmoothE White Baby Face Cream 2007 จนได้ก้าวเข้าสู่การประกวด มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2552 โดยทำได้ดีที่สุดคือผ่านรอบ 44 คนสุดท้าย แล้วผันตัวไปเป็นพริตตี้เงินล้าน เธอเป็นที่รู้จักกันในโลกโซเชียลมีเดีย ด้วยความสวยของเธอทำให้ขึ้นแท่นเป็นเน็ตไอดอลรุ่นแรก ๆ แล้วเธอเริ่มมีชื่อเสียงมากเมื่อมีรายการทีวีสัมภาษณ์เธอเรื่องศัลยกรรมทำให้เธอเป็นที่รู้จักกันในวงกว้างมากขี้น จนทำให้มีงานถ่ายแบบ โฆษณา และงานแสดงติดต่อเข้ามาเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและนนทพร ธีระวัฒนสุข · ดูเพิ่มเติม »

นนทรีย์ นิมิบุตร

นนทรีย์ นิมิบุตร ชื่อเล่นชื่อ อุ๋ย (เกิด 18 ธันวาคม พ.ศ. 2505 ที่จังหวัดนนทบุรี) เป็นทั้งผู้กำกับภาพยนตร์, ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ นับได้ว่าเป็นผู้บุกเบิกวงการภาพยนตร์ยุคใหม่ของไทย ตั้งแต่ที่ได้กำกับเรื่อง 2499 อันธพาลครองเมือง ออกฉายเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและนนทรีย์ นิมิบุตร · ดูเพิ่มเติม »

นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน

นนทิวรรธน์ จันทะนะผลิน นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน (เกิด 16 ตุลาคม พ.ศ. 2489 เสียชีวิต 21 มกราคม พ.ศ. 2560) ประติมากร อาจารย์และศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (วิจิตรศิลป์) สาขาย่อยประติมากรรม เกิดที่กรุงเทพมหานคร สำเร็จการศึกษามหาบัณฑิตสาขาประติมากรรมจากมหาวิทยาลัยศิลปากร นนทิวรรธน์ได้รับรางวัลจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 19-22 และ 24 รางวัลการประกวดออกแบบพระพุทธรูปที่วัดทองศาลางาม ฯลฯ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน · ดูเพิ่มเติม »

แบงแชนแนล

แบง แชนแนล (BANG CHANNEL) เป็นช่องรายการเพลงและวาไรตี้ของแกรมมี่ ที่ออกอากาศทางดาวเทียมและเคเบิลทีวี เป็นช่องที่นำเสนอเกี่ยวกับเพลงในแนว Music & Variety โดยที่ผู้ชมมีสิทธิที่จะขอเพลง หรือ Chat ผ่าน SMS กันทางทีวี ตลอด 24 ชั่วโมง ตามคำขวัญในอดีตว่า "แบง แชนแนล ที่เดียวอยู่ ช่องเดียวจบ" เป็นคำขวัญในปัจจุบัน "แบง แชนแนล ช่องของคุณใจรุ่น Generation" และล่าสุดคำขวัญในปัจจุบันคือ "We bang the music" เป็นรายการเพลงที่สามารถให้ผู้ชมมีส่วนร่วมในการจัดรายการ ทั้งเลือกเพลง เล่นเกม และวาไรตี้ได้อย่างเต็มที่ อย่างไรก็ตาม มติที่ประชุมคณะกรรมการของ จีเอ็มเอ็มทีวี มีการลงเสียงเด็ดขาดว่า จะให้บริษัทยุติบทบาทในการเป็นผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมลง และจะเน้นการผลิตรายการเพื่อช่องวันและจีเอ็มเอ็ม 25 แทน มีผลทำให้ช่อง แบง แชนแนล ต้องยุติการออกอากาศตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและแบงแชนแนล · ดูเพิ่มเติม »

แก้ว (พรรณไม้)

แก้ว (Orange Jessamine, Satin-wood, Cosmetic Bark Tree) เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ใบออกเป็นช่อเป็นแผงออกใบเรียงสลับกันช่อหนึ่งประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 4-8 ใบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ชื่อพื้นเมืองอื่น: กะมูนิง (มลายู ปัตตานี) แก้วขาว (กลาง) แก้วขี้ไก่ (ยะลา) แก้วพริก (เหนือ) แก้วลาย (สระบุรี) จ๊าพริก (ลำปาง) และ ตะไหลแก้ว (เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและแก้ว (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร

(The Demonstration School of Silpakorn University; ชื่อย่อ: สาธิต มศก. – DSU) เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษา อยู่ในกำกับความดูแลของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

โลก

"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและโลก · ดูเพิ่มเติม »

โซนี่มิวสิกเอ็นเตอร์เทนเมนต์

ซนี่ มิวสิค เอ็นเตอร์เทนเมนท์ หรือ โซนี่ มิวสิค เป็นหนึ่งในสี่ค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ของโลกภายใต้การควบคุมของบริษัทโซนี่ สหรัฐอเมริกา การควบรวมธุรกิจของโซนี่ที่ได้ซื้อหุ้นอีก 50% จากบริษัทเบอร์เทลสแมนในโซนี่ บีเอ็มจีที่ได้ลงทุนร่วมกันกลายเป็นของโซนี่ทั้งหมด จึงได้เปลี่ยนชื่อกลับเป็น โซนี่ มิวสิค เช่นเดิมในปลายปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและโซนี่มิวสิกเอ็นเตอร์เทนเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอรดา ศิริวุฒิ

อรดา ศิริวุฒิ ชื่อเล่น ไอด้า (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2531) เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย เข้าวงการจากการถ่ายนิตยสารวัยรุ่น โฆษณาและมิวสิกวีดิโอ ก่อนที่จะเป็นนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่อง สามมิติ และ เลิฟ จุลินทรีย์ รักมันใหญ่มาก ปัจจุบันเป็นนางแบบ ดีเจ และพิธีกรรายการไนซ์แชนเนล (Nice Channel).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและไอรดา ศิริวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์

ทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไทมส์ไฮเออร์ (Times Higher Education) เป็นหนังสือพิมพ์จากลอนดอน ที่มีการรายงานอันดับสถาบันอุดมศึกษาทุกปี บรรณาธิการคือจอห์น โอ'เลรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยซุปเปอร์โมเดลคอนเทสต์

ทยซุปเปอร์โมเดลคอนเทสต์ (Thai Supermodel Contest) เป็นการประกวดนางแบบโดยสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 โดย สุรางค์ เปรมปรีดิ์ จัดประกวดเพื่อเฟ้นหาสาวไทยหุ่นดี ที่มีความมั่นใจในตัวเอง และมีความเหมาะสมกับตำแหน่งไทยซุปเปอร์โมเดล พร้อมกับการก้าวขึ้นเป็นนางแบบอาชีพต่อไป แต่ส่วนใหญ่ก็เป็นนักแสดงสังกัดสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและไทยซุปเปอร์โมเดลคอนเทสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไขศรี ศรีอรุณ

ตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิง ไขศรี ศรีอรุณ (29 มกราคม 2480 -ปัจจุบัน) นายกสภามหาวิทยาลัยพะเยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และอีกทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร และนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและไขศรี ศรีอรุณ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม วัฒนชัย

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี,ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช, นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในอดีตได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร สมรสกับคุณหญิง รัชนีวรรณ วัฒนชั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเกษม วัฒนชัย · ดูเพิ่มเติม »

เกษม สุวรรณกุล

ตราจารย์กิตติคุณ เกษม สุวรรณกุล กรรมการกฤษฎีกา เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเกษม สุวรรณกุล · ดูเพิ่มเติม »

เกาะรัตนโกสินทร์

แผนที่เกาะรัตนโกสินทร์ เกาะรัตนโกสินทร์ เป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ในเขตพระนครในกรุงเทพมหานคร อยู่ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา มีความสำคัญทางประวัติศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเกาะรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสิร์ชเอนจิน

ร์ชเอนจิน (search engine) หรือ โปรแกรมค้นหา คือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเสิร์ชเอนจิน · ดูเพิ่มเติม »

เสนีย์ วิลาวรรณ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยเอก เสนีย์ วิลาวรรณ ปูชนียบุคคลด้านภาษาไทย ประจำปีพุทธศักราช 2554 เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเสนีย์ วิลาวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เหมือนแพร พานะบุตร

หมือนแพร พานะบุตร เกิดวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2531 ปัจจุบันกิ่งจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เอก Voice Jazz พร้อมกับ วิชญาณี เปียกลิ่น หรือ แก้ม เดอะสตาร์ นอกจากนี้ กิ่งยังเป็นผู้เข้ารอบ 8 คนสุดท้ายและได้อันดับที่ 4 ในการประกวดรายการ The Star ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 5 ปัจจุบันเป็นศิลปินในสังกัด มิวสิคครีม ในเครือ จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ เป็นเจ้าของเพลงดังอย่าง ผิดเพราะรัก ฉันว่างงานหรือเธอเหงา ถามตัวเองได้ไหม และยังเป็นเจ้าของอัลบั้มเดี่ยว อะ ลิตเติ้ล บิ๊ก ธิง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเหมือนแพร พานะบุตร · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียวีก

อเชียวีก เอเชียวีก (Asiaweek) นิตยสารรายสัปดาห์ภายใต้บริษัทไทม์วอร์เนอร์ เอเชียวีกมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ ฮ่องกง โดยเริ่มตีพิมพ์นิตยสารตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 และปิดตัวลงเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2544 ไทม์ได้ซื้อ เอเชียวีกมาจากบริษัท Yazhou Zhoukan (亞洲週刊).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเอเชียวีก · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าทอง ทองเจือ

ผ่าทอง ทองเจือ หรือที่รู้จักในนาม อาจารย์เผ่าทอง ทองเจือ เกิดเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ท่านเป็นบุตรของ นายพานทอง ทองเจือ กับ นางไพบูลย์บุญ ทองเจือ สกุลเดิม: เนติกุล อาจารย์เผ่าทองจึงมีศักดิ์เป็นหลานปู่ พระยาไพชยนต์เทพ (ทองเจือ ทองเจือ) ท่านเป็นต้นสกุล "ทองเจือ" และ ท้าวอนงค์รักษา (พร้อง ทองเจือ) อาจารย์เผ่าทองเป็นนักประวัติศาสตร์ไทย นักโบราณคดี พิธีกรและวิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ไทย ท่านมีชื่อเล่นว่า "แพน" เป็นน้องชายคนละแม่กับ ภิญโญ ทองเจือ อดีตนักแสดงละครโทรทัศน์ และ ปรางค์ทิพย์ ทวีพาณิชย์ เผ่าทองจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ระดับอุดมศึกษาจากคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ด้วยความชอบในเรื่องโบราณคดีมาแต่เด็ก ๆ ขณะที่ศึกษาอยู่นั้นถืออาจารย์เผ่าทองเป็นบุคคลคณะแรก ๆ ที่ได้เข้าไปขุดค้นในแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ที่จังหวัดอุดรธานีด้วย ในทางวิชาการเคยเป็นอาจารย์ในคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอาจารย์ในคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จนกระทั่งอาจารย์เผ่าทองได้เป็นคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นอาจารย์พิเศษตามสถาบันต่าง ๆ เช่น โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนจิตรลดา เป็นต้น ก่อนอาจารย์เผ่าทองจะเกษียณตัวเองออกมาก่อนอายุครบ 60 ปี ในแวดวงบันเทิงเคยเป็นนายแบบ พิธีกรและวิทยากรที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมของไทยหลายรายการ อาทิ คุณพระช่วย ทางช่อง 9,มิติลี้ลับ ทางช่อง 7 อาจารย์เผ่าทองเคยเป็นตัวประกอบในละครโทรทัศน์เรื่อง ศิลามณี ทางช่อง 7 ในปี พ.ศ. 2551 อาจารย์เผ่าทองได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ฉันผู้ชายนะยะ ในปี พ.ศ. 2530 อาจารย์เผ่าทองได้เป็นผู้ติดต่อประสานงานและเป็นนักแสดงประกอบในภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด เรื่อง Anna and the King ที่ได้เข้าไปถ่ายทำในประเทศมาเลเซีย เมื่อปี พ.ศ. 2542 และ รอยไหม ในปี พ.ศ. 2554 กับช่อง 3 ด้วย ชีวิตส่วนตัว เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องผ้าไทยและเป็นเจ้าของ ห้องเสื้อเผ่าทอง ทองเจือ หรือ Paothong's PRIVATE COLLECTION ที่จังหวัดเชียงใหม่ รวมไปถึงห้างสรรพสินค้าชั้นนำ และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งนิทรรศน์รัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงความเป็นมาของกรุงเทพมหานคร ที่ถนนราชดำเนิน ปัจจุบันอาจารย์เผ่าทองท่านมีปัญหาด้านสุขภาพ คือ เป็นโรคมะเร็งและมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ ลูคิเมีย โดยท่านเป็นมาตั้งแต่อายุ 37 ปี ที่เกือบจะเอาชีวิตไม่รอดจากโรคที่เป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเผ่าทอง ทองเจือ · ดูเพิ่มเติม »

เทยเที่ยวไทย

ทยเที่ยวไทย เป็นรายการท่องเที่ยวในรูปแบบไลฟ์สไตล์ของกะเทย ปัจจุบันออกอากาศทุกวันเสาร์ 23.15 น. ทางช่องวัน และอัปโหลดวิดีโอลงยูทูบทางช่อง GMMTV และ LINE TV ดำเนินรายการโดย กอล์ฟ-กิตติพัทธ์ ชลารักษ์ ก๊อตจิ-ทัชชกร บุญลัภยานันท์ และ เจนนี่ ปาหนัน ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเทยเที่ยวไทย · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยี

นาโนเทคโนโลยีเป็นที่สนใจในศตวรรษปัจจุบัน เทคโนโลยี หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (information technology: IT) คือการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และจัดดำเนินการข้อมูล ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับธุรกิจหนึ่งหรือองค์การอื่น ๆ ศัพท์นี้โดยปกติก็ใช้แทนความหมายของเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และยังรวมไปถึงเทคโนโลยีการกระจายสารสนเทศอย่างอื่นด้วย เช่นโทรทัศน์และโทรศัพท์ อุตสาหกรรมหลายอย่างเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์กึ่งตัวนำ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์โทรคมนาคม การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการทางคอมพิวเตอร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเทคโนโลยีสารสนเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เทเลทับบีส์

ทเลทับบีส์ คือ ซีรีส์โทรทัศน์สำหรับเด็ก ๆ ของอังกฤษ โดยมีเป้าหมายผู้ชมอยู่ที่ผู้ชมวัยก่อนเข้าเรียน ออกอากาศ ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 1997 ถึง 16 กุมภาพันธ์ 2001 ผลิตรายการโดยผู้อำนวยการฝ่ายสร้างสรรค์ของ แร็กดอลล์ โปรดักชัน แอนน์ วูด และแอนดรูว์ ดาเวนพอร์ท ซึ่งเป็นคนเขียนบทให้เทเลทับบีส์ทั้งหมด 365 ตอน เทเลทับบีส์ออกอากาศผ่านสถานีโทรทัศน์ ตั้งแต่วันที่ 6 เมษายน 1998 ถึง 15 มิถุนายน 2005 และฉายซ้ำจนถึงวันที่ 29 สิงหาคม 2008 หลังจากนั้นก็ถูกดึงออกจากตารางกการออกอากาศ จนกระทั่งปี 2002 ฝ่ายการผลิตได้ออกมาประกาศยกเลิกการผลิตและจะไม่มีตอนใหม่ ๆ ถูกผลิตขึ้นมมาอีกแล้ว โดยตอนสุดท้ายออกอากาศเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2001 เทเลทับบีส์ได้รับรางวัลบาฟต้า จากสถานีโทรทัศน์ BBC ในกลุ่มรายการสำหรับเด็กเล็ก โดยมีตัวละครหลักคือ ทิงกีวิงกี (ม่วง), ดิปซี (เขียว), ลาล่า (เหลือง) และโพ (แดง) เทเลทับบีส์ทั้งสี่สีเล่นอย่างครื้นเครงและสนุกสนานในเทเลทับบีแลนด์ (Teletubbyland) พวกเขาทำในสิ่งที่เด็กเล็กอยากจะทำ เช่นกลิ้งไปมาบนพื้น, หัวเราะ, วิ่งไปรอบๆ และดูเด็กมนุษย์บนโทรทัศน์ที่หน้าท้อง กังหันลมลึกลับและโทรศัพท์ก็มักจะปรากฏออกมาจากทุ่งหญ้าเพื่อบ่งถึงกิจกรรมในแต่ละวัน พระอาทิตย์ที่มีหน้าเด็กทารก มักจะทำเสียงทารกระหว่างรายการ และจะขึ้นและตกในช่วงเปิดและปิดรายการ ปัจจุบัน สถานที่ใช้ถ่ายทำรายการ โดยสมมติว่าเป็นบ้านของเทเลทับบีส์ทั้ง 4 ได้ถูกรื้อถอนเพื่อสร้างเป็นบ้านพักของมารีโอ บาโลเตลลี นักฟุตบอลชาวอิตาเลียน ในสังกัดลิเวอร์พูล ส่วนการออกอากาศในประเทศไทย เริ่มออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกเป็นสถานีแรก เมื่อช่วงปี พ.ศ. 2542 หลังจากนั้นได้ถูกนำมาออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2545 - 2548 หลังจากนั้นก็ได้นำมาออกอากาศทางช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ในช่วงปี พ.ศ. 2557 - 2558 และล่าสุดได้นำมาออกอากาศทางช่อง 3 แฟมิลี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเทเลทับบีส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ พีชแบนด์

อะ พีชแบนด์ (The Peach Band) ศิลปินกลุ่มดูโอ ที่เกิดจากการรวมตัวกันของ วิริยาภา จันทร์สุวงศ์ (นุ้ย) นักศึกษาหญิง จากคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งเข้าเรียนในหลักสูตรแต่งเพลง ในสถาบันเจนเอกซ์อะคาเดมี่ และได้พบกับผู้ช่วยสอนอย่าง รักษ์พล รักขนาม (พีช) ที่นั่น ก่อนจบหลักสูตร นุ้ยได้แต่งเนื้อเพลง "ท่องราตรี" ส่งในการสอบ และลองส่งเพลงไปเปิดทางสถานีวิทยุ แฟตเรดิโอ ในนาม "เดอะ พีชแบนด์" และสามารถขึ้นไปถึงอันดับ 2 ในชาร์ตของคลื่นได้ในที่สุด หลังจากที่ส่งเพลง "ท่องราตรี" ไปแล้ว พีช ก็มีความคิดจะทำเพลงใหม่โดยชวน "วุฒิกานต์ คมขำ (เอ๊กซ์)" นักเรียนหลักสูตร Logic ในสถาบันเจนเอกซ์อะคาเดมี่ ซึ่งเป็นนักศึกษาเอกดนตรีสากล มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มาช่วยอัดกีต้าร์ให้ในเพลง "เก็บรัก" ในวันที่อัดเสียง "วีระวงศ์ วรรณวิจิตร (ม๊อค)" ได้มาเป็นเพื่อนด้วยและได้ช่วยอัดเบสให้ในเพลงนี้ด้วยเช่นกัน จากนั้นได้ทำเพลงที่ 3 คือเพลง Let's โดยมี "วีระวงศ์ วรรณวิจิตร (ม๊อค)" อัดเบสให้อีกครั้ง และหลังจากที่เสร็จทั้งสามเพลงไปแล้ว จึงได้รับการติดต่อจากทาง Black sheep ให้เข้าเป็นศิลปินในสังกัด และได้เริ่มทำอัลบั้มแรก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเดอะ พีชแบนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะมูสส์

อะมูสส์ เป็นกลุ่มดนตรีสัญชาติไทย ค่าย จีนี่เรคอร์ดส สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีสมาชิกทั้งหมด 3 คน คือ แอร์ (ร้องนำ), จ๊ะ (กีต้าร์), ต๋า (กลอง) หลังจากห่างหายไปนานหลายปี วงเดอะมูสส์ วงดนตรีที่ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 5 คน คือ แอร์ (ร้องนำ), จ๊ะ (กีต้าร์), บาส (เบส), ต๋า (กลอง) และ ริน (คีย์บอร์ด) ก็กลับมาอีกครั้งกับซิงเกิ้ลใหม่ล่าสุด “ความจริง” ที่บอกเล่าถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นบนโลกแห่งความเป็นจริง กับความฝันที่อยากจะให้มันเป็นไป เพลงนี้นำเสนอความเป็นเดอะมูสส์ ที่เติบโตขึ้นด้วยประสบการณ์ที่สั่งสมมาจากระยะเวลาที่หายไปถึง 2 ปี จึงทำให้ลุคและดนตรีดูเข้มข้นและแข็งแรงมากขึ้นจากซิงเกิ้ลก่อนๆ ที่ผ่านมา โลโก้ใหม่ของวงยังเป็นอีกสิ่งที่ตอบความเป็นวงเดอะมูสส์ ได้เป็นอย่างดี ด้วยรูปเลขาคณิตสามเหลี่ยมที่โชว์ความแข็งแรงและความมุ่งมั่น กับนกฮัมมิ่งเบิร์ดขาวดำที่เปรียบเสมือนหยิง&หยาง แสดงถึงพลังที่สมดุลในตัวของมันเอง ส่วนที่ใช้นกฮัมมิ่งเบิร์ดเป็นสัญญลักษณ์ของวง เพราะนกฮัมมิ่งเบิร์ดเป็นนกตัวเล็กๆที่แข็งแรง มีลีลาการบินที่ตื่นเต้นและเป็นนักสู้ เปรียบได้ดั่งวง The Mousses เองที่จะสู้ต่อไปในสายนักดนตรี ด้านดนตรีของเพลง “ความจริง” เป็นเพลงในสไตล์ เดอะมูสส์ ที่นำเสนอในด้านมิติของซาวน์และเนื้อหา ที่ทางวงไม่เคยทำมาก่อนในอัลบั้มแรก แต่ยังคงไว้ซึ่งลายเซ็นของเดอะมูสส์ อย่างชัดเจนกับความรู้สึกที่ว่า ถ้าวันนี้เราต้องเผชิญกับ “ความจริง” ที่เจ็บปวดเกินทน การเลือกที่จะอยู่ใน “ความฝัน” จะทำให้เราก้าวข้ามผ่านความเจ็บปวดนั้นได้หรือไม่ ต่อมาในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเดอะมูสส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 3

อะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 3 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ประกวดร้องเพลงโดยทรู มิวสิก ผลิตรายการโดยบริษัท ใจอั้น ที่ซื้อลิขสิทธิ์รูปแบบรายการมาจากบริษัท ทาลพา ของเนเธอร์แลนด์ เจ้าของรายการเดอะวอยซ์ (The Voice) และเดอะวอยซ์ออฟฮอลแลนด์ (The Voice of Holland) โดยใช้โค้ชร้องเพลงและผู้คัดเลือกผู้เข้าประกวด 4 คน คือ เจนนิเฟอร์ คิ้ม สหรัถ สังคปรีชา โจอี้ บอย อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข โดยรูปแบบของเวทีในทุกๆ รอบในฤดูกาลนี้ใช้แม่แบบจาก The Voice สหรัฐอเมริกา ฤดูกาลที่ 6 นอกจากนี้ยังเป็นซีซั่นแรกที่มีการเปิดเผยสัดส่วนคะแนนโหวตของผู้เข้าแข่งขันหลังการประกาศผลในรอบถ่ายทอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเดอะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

เดอะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 5

อะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 5 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ประกวดร้องเพลงโดยทรู มิวสิก ผลิตรายการโดยบริษัท ใจอั้น ที่ซื้อลิขสิทธิ์รูปแบบรายการมาจากบริษัท ทาลพา ของเนเธอร์แลนด์ เจ้าของรายการเดอะวอยซ์ (The Voice) และเดอะวอยซ์ออฟฮอลแลนด์ (The Voice of Holland) โดยใช้โค้ชร้องเพลงและผู้คัดเลือกผู้เข้าประกวด 4 คน คือ สหรัถ สังคปรีชา โจอี้ บอย สิงโต นำโชค ดา เอ็นโดรฟิน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเดอะวอยซ์ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 2

อะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 2 เป็นการแข่งขันเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 2 จัดขึ้นในปี พ.ศ. 2547 โดยผู้ชนะเลิศคือ เอ็ม - อรรถพล ประกอบของ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 2 · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 4

อะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 4 เป็นการแข่งขันเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 4 จัดขึ้นในปี พ.ศ. 2551 โดยผู้ชนะเลิศคือ แก้ม- วิชญาณี เปียกลิ่น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 4 · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 5

อะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 5 เป็นการแข่งขันเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปีที่ 5 โดยเริ่มรับสมัครผู้เข้าแข่งขันตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 และออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ทาง โมเดิร์นไนน์ทีวี ในปีนี้มีผู้เข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 19,276 คน ทั่วประเทศ ซึ่งทำลายสถิติของปีก่อนหน้ามีผู้เข้าแข่งขัน 16,927 คน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 5 · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์

วัดร่องขุ่น ผลงานสร้างและออกแบบโดย เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (เกิด 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) เป็นจิตรกรไทยมีผลงานจิตรกรรมไทยหลายผลงาน เช่น ภาพจิตรกรรมไทยในอุโบสถวัดพุทธประทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ, เขียนภาพประกอบบทพระราชนิพนธ์ พระมหาชนก และผลงานศิลปะที่ วัดร่องขุ่น ซึ่งมีทั้งงานสถาปัตถยกรรม, ประติมากรรมปูนปั้น และงานจิตรกรรมไทย ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียว ยาจันทร์

ร.เฉลียว ยาจันทร์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบางบัวทอง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเฉลียว ยาจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เปรื่องปราชญ์ ประสาตร์สาน

ปรื่องปราชญ์ ประสาตร์สาน (ชื่อเล่น: ปั๊ป) เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2526 เป็นนักร้องชาวไทย สังกัดGenome Records ในเครืออาร์เอส มีผลานเพลงที่โด่งดังและเป็นที่รู้จักคือเพลง "ฉันมาบอกเขา" ด้านการศึกษาจบปริญญาตรีที่ คณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเปรื่องปราชญ์ ประสาตร์สาน · ดูเพิ่มเติม »

เนเปิลส์

นเปิลส์ (Naples), นาโปลี (Napoli) หรือ นาปูเล (เนเปิลส์: Napule) เป็นเมืองหลักของแคว้นคัมปาเนียและจังหวัดเนเปิลส์ในอิตาลี มีชื่อเสียงในด้านความร่ำรวยทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี และศาสตร์การทำอาหาร เป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญในคาบสมุทรอิตาลีมาตลอด 2,800 ปีนับแต่ก่อตั้งเมืองขึ้นมา ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของอิตาลีติดกับอ่าวเนเปิลส์ กึ่งกลางระหว่างพื้นที่ภูเขาไฟสองแห่ง คือ ภูเขาไฟวิสุเวียสและกัมปีเฟลเกรย์ เนเปิลส์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 800-900 ปีก่อนคริสตกาล ในฐานะอาณานิคมกรีก จึงจัดว่าเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แรกเริ่มนั้นมีชื่อว่า Παρθενόπη Parthenope ต่อมาถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Νεάπολις Neápolis (เมืองใหม่) จัดเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญในพื้นที่ Magna Graecia โดยมีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดวัฒนธรรมกรีกไปสู่สังคมโรมัน ต่อมาได้กลายเป็นศูนย์กลางหลักทางวัฒนธรรมของสาธารณรัฐโรมัน โดยเวอร์จิล กวีภาษาละตินที่มีชื่อเสียง ก็ได้เคยศึกษาวิชาที่เนเปิลส์และต่อมาก็ได้อาศัยอยู่ที่บริเวณชานเมือง ตลอดระยะเวลาในประวัติศาสตร์ เนเปิลส์ได้รับสืบทอดอิทธิพลทางศิลปะและสถาปัตยกรรมจากอารยธรรมต่าง ๆ มากมาย รูปแบบสถาปัตยกรรมที่เด่นชัดที่สุดที่ยังคงพบได้ในปัจจุบันถือกำเนิดมาจากยุคกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และสมัยบาโรก ใจกลางเนเปิลส์เป็นศูนย์กลางเมืองทางประวัติศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป (1,700 เฮกตาร์ หรือ 17 ตารางกิโลเมตร) และได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเมือง เนเปิลส์เคยมีฐานะเป็นเมืองหลวงของ Duchy และอาณาจักรต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งเคยเป็นเมืองหลวงของ Crown of Aragon และยังเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญ (โดยเฉพาะในสมัยของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ และตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ถึง 19) อิทธิพลของเมืองได้แผ่ขยายครอบคลุมพื้นที่หลายส่วนในยุโรปไปจนถึงนอกทวีป และรอบเมืองก็เป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญต่าง ๆ (เช่น พระราชวังกาแซร์ตา ปอมเปอี และเฮอร์คิวเลเนียม) ซึ่งล้วนแต่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดต่อเนเปิลส์ในด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ และสถาปัตยกรรม เนเปิลส์เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรเนเปิลส์ตั้งแต่ พ.ศ. 1825 ถึง พ.ศ. 2349 ต่อมาได้ถูกผนวกอาณาจักรเข้ากับราชอาณาจักรซิซิลี และกลายเป็นเมืองหลวงของ Kingdom of Two Sicilies จนกระทั่งอาณาจักรต่าง ๆ บนคาบสมุทรถูกผนวกรวมเป็นประเทศอิตาลีเมื่อ พ.ศ. 2404 ซึ่งหลังสงคราม Neapolitan ฝ่ายเนเปิลส์ก็ได้สนับสนุนการรวมประเทศนี้อย่างเต็มที่ ภายในอาณาเขตการปกครองของเนเปิลส์มีประชากรประมาณ 1 ล้านคน แต่จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ระบุว่าเขตมหานครของเนเปิลส์มีประชากรมากเป็นอันดับสอง (รองจากมหานครมิลาน ซึ่ง Svimez Data ระบุว่ามีผู้อยู่อาศัย 4,434,136 คน ขณะที่สถาบัน Censis ระบุว่ามี 4,996,084 คน)) หรือสาม (ตามข้อมูลขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา มีผู้อยู่อาศัย 3.1 ล้านคน) ของอิตาลี นอกจากนี้ยังเป็นมหานครที่มีประชากรหนาแน่นมากที่สุดในอิตาลี เนเปิลส์ถูกจัดให้เป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจที่เข้มแข็งมากเป็นอันดับสี่ในอิตาลี รองจากมิลาน โรม และตูริน และถูกจัดให้เป็นเมืองที่ร่ำรวยเป็นอันดับที่ 91 ของโลกโดยวัดจากกำลังซื้อของประชากร และมีผลิตภัณฑ์มวลรวมอยู่ที่ 43,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเหนือกว่าเศรษฐกิจของบูดาเปสต์และซูริก ท่าเรือเนเปิลส์เป็นท่าเรือที่มีความสำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรป (มีผู้โดยสารคับคั่งมากเป็นอันดับสองของโลกรองจากท่าเรือฮ่องกง) เมื่อไม่นานมานี้เศรษฐกิจของเนเปิลส์ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว และอัตราการว่างงานของประชากรในเมืองและบริเวณโดยรอบก็ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 2542 กระนั้นก็ยังคงเต็มไปด้วยการทุจริตทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งเป็นแหล่งตลาดมืดที่เฟื่องฟู ในตัวเมืองเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของบริษัทขนาดใหญ่สัญชาติอิตาลีหลายแห่ง เช่น MSC-Cruises และเป็นที่ตั้งของ Center Rai of Naples (สื่อ) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2501 ขณะที่ในเขตบัญโญลีเป็นที่ตั้งของสำนักงานขนาดใหญ่ขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ และยังมี SRM institution for economic research และบริษัทและศูนย์การศึกษา OPE ที่ตั้งอยู่ในตัวเมืองเช่นกัน เนเปิลส์เป็นสมาชิกเต็มของเครือข่าย Eurocities นอกจากนี้ ยังได้รับเลือกให้เป็นศูนย์กลางของ Acp/Ue และได้รับการยกย่องจาก Creative Cities Network ในสังกัดขององค์การยูเนสโกให้เป็นเมืองแห่งวรรณกรรม ในเขตโปซิลลีโปของเมืองเป็นที่ตั้งของ Vill Rosebery ซึ่งเป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการหนึ่งในสามแห่งของประธานาธิบดีอิตาลี ในศตวรรษที่ 20 เนเปิลส์ตกอยู่ภายใต้การปกครองของลัทธิฟาสซิสต์ และในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองก็เป็นเมืองที่ถูกทิ้งระเบิดมากที่สุดในอิตาลี ภายหลังสงครามสงบได้มีการบูรณะเมืองซึ่งได้ขยายตัวเมืองออกไปยังพื้นที่รอบนอก ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมานี้ ได้มีการสร้างย่านธุรกิจ (เชนโตรดีเรซีโอนาเล) ที่มีอาคารระฟ้าและโครงสร้างพื้นฐานแบบ TGV ในโรม รวมถึงการขยายเส้นทางรถไฟใต้ดินที่จะครอบคลุมพื้นที่ครึ่งหนึ่งของภูมิภาค และเนเปิลส์จะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม International Astronautical Congress ใน พ.ศ. 2555 และ Universal Forum of Cultures ใน พ.ศ. 2556 เนเปิลส์เป็นเมืองที่เริ่มมีการทำพิซซาขึ้นเป็นครั้งแรก โดยในขณะนั้นจะใช้การทอดก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นการอบในภายหลัง นอกจากนี้วัฒนธรรม Neapolitan ยังมีอิทธิพลด้านดนตรีอย่างแพร่หลาย อย่างเช่นการประดิษฐ์ Romantic guitar และแมนโดลิน รวมทั้งอุปรากรและเพลงท้องถิ่น บุคคลที่เป็นสัญลักษณ์ของเนเปิลส์คือนักบุญ Januarius ผู้ปกป้องคุ้มครองเมือง ส่วนตัวละครจากเรื่องแต่งที่ถือว่าเป็นสัญลักษณ์คือ พูลชิเนลลา และไซเรน สิ่งมีชีวิตจากมหากาพย์โอดิสซีของกรีก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยศิลปากรและเนเปิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ม.ศิลปากรมศก.มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรีศิลปากร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »