โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยนเรศวร

ดัชนี มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

199 ความสัมพันธ์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวรชาติชาย ชุณหะวัณพ.ศ. 2497พ.ศ. 2510พ.ศ. 2517พ.ศ. 2520พ.ศ. 2524พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2542พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561พรรณสิริ กุลนาถศิริพรรคประชาธิปัตย์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระพุทธชินราชพระราชบัญญัติพลังงานลมพลังงานทดแทนพลังงานน้ำพลังงานแสงอาทิตย์พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรพนัส หันนาคินทร์กรกฎาคมกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระแส ชนะวงศ์กรุงเทพมหานครกลุ่มสถาบันวิชาการสาธารณสุขและเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพระบรมราชชนกกองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวรกองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร...กันยายนการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยกิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทยภาคกลาง (ประเทศไทย)ภาคเหนือ (ประเทศไทย)มกราคมมวลชีวภาพมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยบูรพามหาวิทยาลัยพะเยามหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาวิทยาลัยทักษิณมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือมัธยมศึกษามณฑล สงวนเสริมศรีมนุษยศาสตร์ยิ่งพันธ์ มนะสิการยิ่งลักษณ์ ชินวัตรรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทยรายการรหัสไปรษณีย์ไทยรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยนเรศวรรางวัลซีไรต์ลลิตา ฤกษ์สำราญวันลอยกระทงวิจิตร ศรีสอ้านวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวรวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวรวิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน มหาวิทยาลัยนเรศวรวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์สุขภาพวุฒิสภาวนิดา พึ่งสุนทรศิริวรรณ ปราศจากศัตรูศิลปินแห่งชาติสภาผู้แทนราษฎรไทยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549สมองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสังคมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สิงหาคมสุรยุทธ์ จุลานนท์สุจินต์ จินายนสีส้มสีแดงสีเหลืองสีเทาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวรสถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวรห้องเชียร์อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยอาณาจักรอยุธยาอำเภอเมืองพิษณุโลกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริผลงานการตีพิมพ์ของนักวิจัยไทยจังหวัดพะเยาจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดพิจิตรจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดสุโขทัยจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดตากจังหวัดนครสวรรค์จังหวัดแพร่จังหวัดเชียงใหม่จังหวัดเพชรบูรณ์ธันวาคมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117ครุยวิทยฐานะไทยครูคุณธรรมคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะวิชาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรตำบลในเมืองประเทศไทยนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวรไพฑูรย์ ธัญญาไขศรี ศรีอรุณเพลงไทยสากลเกษม วัฒนชัยเมษายนเสลาเทศบาลนครพิษณุโลกเทคโนโลยี1 เมษายน12 พฤศจิกายน13 พฤศจิกายน13 มกราคม17 กุมภาพันธ์18 กันยายน18 กุมภาพันธ์19 มกราคม2 พฤศจิกายน20 มกราคม21 พฤศจิกายน23 พฤศจิกายน23 เมษายน24 มกราคม24 มีนาคม25 กุมภาพันธ์25 มกราคม25 มีนาคม27 พฤศจิกายน28 พฤศจิกายน28 มิถุนายน29 พฤศจิกายน29 กรกฎาคม29 มิถุนายน3 พฤศจิกายน3 ธันวาคม30 กรกฎาคม30 มิถุนายน4 พฤศจิกายน4 มีนาคม4 ธันวาคม5 พฤศจิกายน6 พฤศจิกายน8 ตุลาคม9 พฤศจิกายน9 ตุลาคม ขยายดัชนี (149 มากกว่า) »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ดำเนินการจัดตั้งโดยมีภารกิจหน้าที่ในการกำกับดูแลและควบคุมมาตรฐานการศึกษา การจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา (ระดับปริญญาโท และปริญญาเอก) ร่วมกับคณะต่างๆ ของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและชาติชาย ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พรรณสิริ กุลนาถศิริ

ร.พรรณสิริ กุลนาถศิริ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุโขทัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นน้องสาวของนายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มมัชฌิมา พรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพรรณสิริ กุลนาถศิริ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธชินราช

ระพุทธชินราช ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารด้านตะวันตกในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพระพุทธชินราช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตามปรกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ นอกจากรัฐธรรมนูญ ก่อนประกาศใช้บังคับ พระราชบัญญัติมีอยู่ชนิดเดียว แต่บัดนี้รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติให้มีพระราชบัญญัติขึ้นอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ” ซึ่งรัฐธรรมนูญฯ บังคับให้ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในกรณีบางเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2541 การตราพระราชบัญญัตินั้นจะทำได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ก็มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ คำว่า พระราชบัญญัติ เป็นชื่อเรียกกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้อนุญาต สำหรับประเทศอื่นที่พระมหากษัตริย์ไม่ใช่ผู้อนุญาต (เช่นประธานาธิบดี) จะเรียกว่า รัฐบัญญัติ หมวดหมู่:บ่อเกิดของกฎหมาย.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพระราชบัญญัติ · ดูเพิ่มเติม »

พลังงานลม

กังหันลมแห่งหนึ่งในเยอรมนี สำหรับเปลี่ยนพลังงานลมมาเป็นพลังงานไฟฟ้า กังหันโรงสีใน Greetsiel, Germany กังหันสูบน้ำที่ Oak Park Farm, Shedd, Oregon ใบเรือ มนุษย์ใช้ประโยชน์จากพลังงานลมมาแต่โบราณ พลังงานลม เป็นพลังงานตามธรรมชาติที่เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดดันของบรรยากาศและแรงจากการหมุนของโลก สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเร็วลมและกำลังลม เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าลมเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่มีอยู่ในตัวเอง ซึ่งในบางครั้งแรงที่เกิดจากลมอาจทำให้บ้านเรือนที่อยู่อาศัยพังทลายต้นไม้ หักโค่นลง สิ่งของวัตถุต่าง ๆ ล้มหรือปลิวลอยไปตามลม ฯลฯ ในปัจจุบันมนุษย์จึงได้ให้ความสำคัญและนำพลังงานจากลมมาใช้ประโยชน์มากขึ้น เนื่องจากพลังงานลมมีอยู่โดยทั่วไป ไม่ต้องซื้อหา เป็นพลังงานที่สะอาดไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ภาพแวดล้อม และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่รู้จักหมดสิ้น พลังงานลมก็เหมือนกับพลังงานแสงอาทิตย์คือไม่ต้องซื้อ ซึ่งปัจจุบันได้มีการนำเอาพลังงานลมมาใช้ประโยชน์มากขึ้น พื้นที่ยังมีปัญหาในการวิจัยพัฒนานำเอาพลังงานลมมาใช้งานเนื่องจากปริมาณของลมไม่สม่ำเสมอตลอดปี แต่ก็ยังคงมีพื้นที่บางพื้นที่สามารถนำเอาพลังงานลมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เช่น พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลเป็นต้น ซึ่งอุปกรณ์ที่ช่วยในการเปลี่ยนจากพลังงานลมออกมาเป็นพลังงานในรูปอื่น ๆ เช่น ใชั กังหันลม (windturbine) เพื่อเปลี่ยนให้เป็น พลังงานไฟฟ้า, กังหันโรงสี (หรือ windmill) เพื่อเปลี่ยนให้เป็น พลังงานกล คือเมื่อต่อเข้ากับระหัดวิดน้ำเพื่อระบายน้ำหรือต่อเข้ากับจักรกลก็สามารถใช้สีข้าวหรือนวดแป้งได้, กังหันสูบน้ำ (หรือ windpump, sails หรือใบเรือ เพื่อขับเคลื่อนเรือ เป็นต้น windfarm จะประกอบด้วยกังหันลมเป็นจำนวนมาก และต่อเข้ากับสายส่งกลางเพื่อผลิตไฟฟ้าให้กับผู้ผลิตไฟฟ้าหลัก (ในไทยคือ กฟผ) ลมในทะเลจะมีความแรงและแน่นอนกว่าลมบนบก แต่การสร้างในทะเลถึงจะไม่ทำให้รกหูรกตามากนักแต่ค่าใช้จ่ายและการบำรุงรักษาจะแพงกว่าการสร้างบนบกมากเลยทีเดียว แต่ก็ไม่แพงไปกว่าการก่อสร้างโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลทั่วไป พลังงานลมถูกนำมาใช้เป็นพลังงานทางเลือกเพื่อมาแทนทีพลังงานฟอสซิล มีปริมาณมาก มีอยู่ทั่วไป สะอาด หมุนเวียนได้ และมีผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมน้อยมาก พลังงานลมมีความสม่ำเสมอในแต่ละปี อาจมีบางช่วงที่ขาดหายไปบ้างแต่ก็จะไม่สร้างปัญหาในการผลิตไฟฟ้าถ้าออกแบบให้มีประสิทธิภาพเพียง 20% ของปริมาณความต้องการไฟฟ้าทั้งหมด การติดตามสภาพอากาศอย่างใกล้ชิดจะสามารถลดปัญหาลงได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพลังงานลม · ดูเพิ่มเติม »

พลังงานทดแทน

ตัวอย่างพลังงานทดแทน พลังงานทดแทน โดยทั่วไปหมายถึงพลังงานที่ใช้ทดแทนพลังงานจากฟอสซิล เช่น ถ่านหิน, ปิโตรเลียม และ แก๊สธรรมชาติซึ่งปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มหาศาลอันเป็นสาเหตุโลกร้อน ตัวอย่างพลังงานทดแทนที่สำคัญเช่น พลังงานลม, พลังงานน้ำ, พลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานน้ำขึ้นน้ำลง, พลังงานคลื่น, พลังงานความร้อนใต้พิภพ, เชื้อเพลิงชีวภาพ พลังงานนำมันดิบ น้ำมันปาลม์ พลังงานน้ำมันพืช เป็นต้น ในปี 2555 ประเทศไทยใช้พลังงานทดแทนเพียง 18.2% ของพลังงานทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า เพียง 1.8% โดยที่พลังงานแสงอาทิตย์ และเชื้อเพลิงชีวภาพ เพิ่มขึ้น 23% แต่ พลังงานจาก ฟืน ถ่าน แกลบ และวัสดุเหลือใช้ทางเกษตร โดยนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงดั้งเดิม มีอัตราลดลง 10% (อาจเป็นเพราะมวลชีวภาพดังกล่าวถูกแปรรูปไปเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพไปแล้ว) พลังงานทดแทนอีกประเภทหนึ่งเป็นพลังงานที่ถูกทำขึ้นใหม่ (renewable) ได้อย่างต่อเนื่อง (เช่นมวลของลมกลุ่มแรกผ่านกังหันลมไป มวลของลมกลุ่มใหม่ก็ตามมาอย่างต่อเนื่องเป็นต้น) เรียกว่า พลังงานหมุนเวียน (Renewal Energy) ได้แก่ แสงอาทิตย์ ลม น้ำ และไฮโดรเจน เป็นต้น (บางตำราว่า มวลชีวภาพ ก็เป็นพลังงานหมุนเวียน ขึ้นกับว่า มันทำขึ้นใหม่ได้อย่างต่อเนื่องหรือไม่) ตามแผนพัฒนาและส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน 15 ปี ระหว่าง 2555-2564 มีแผนที่จะให้มีการใช้พลังงานทดแทนเป็นสัดส่วน 20% ของพลังงานทั้งหมด การศึกษาและพัฒนาพลังงานทดแทนเป็นการศึกษา ค้นคว้า ทดสอบ พัฒนา และสาธิต ตลอดจนส่งเสริมและเผยแพร่พลังงานทดแทน ซึ่งเป็นพลังงานที่สะอาด ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นแหล่งพลังงานที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น พลังงานลม แสงอาทิตย์ ชีวมวล และอื่นๆ เพื่อให้มีการผลิต และการใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย มีประสิทธิภาพ และมีความเหมาะสมทั้งทางด้านเทคนิค เศรษฐกิจ และสังคม สำหรับผู้ใช้ในเมือง และชนบท ซึ่งในการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาพลังงานทดแทนดังกล่าว ยังรวมถึงการพัฒนาเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์เพื่อการใช้งานมีประสิทธิภาพสูงสุดด้วย งานศึกษา และพัฒนาพลังงานทดแทน เป็นส่วนหนึ่งของแผนงานพัฒนาพลังงานทดแทน ซึ่งมีโครงการที่เกี่ยวข้องโดยตรงภายใต้แผนงานนี้คือ โครงการศึกษาวิจัยด้านพลังงาน และมีความเชื่อมโยงกับแผนงานพัฒนาชนบทในโครงการจัดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าประจุแบตเตอรี่ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์สำหรับหมู่บ้านชนบทที่ไม่มีไฟฟ้า โดยงานศึกษา และพัฒนาพลังงานทดแทนจะเป็นงานประจำที่มีลักษณะการดำเนินงานของกิจกรรมต่างๆ ในเชิงกว้างเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน ทั้งในด้านวิชาการเชิงทฤษฎี และอุปกรณ์เครื่องมือทดลอง และการทดสอบ รวมถึงการส่งเสริมและเผยแพร่ ซึ่งจะเป็นการสนับสนุน และรองรับความพร้อมในการจัดตั้งโครงการใหม่ๆ ในโครงการศึกษาวิจัยด้านพลังงานและโครงการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การศึกษาค้นคว้าเบื้องต้น การติดตามความก้าวหน้าและร่วมมือประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาต้นแบบ ทดสอบ วิเคราะห์ และประเมินความเหมาะสมเบื้องต้น และเป็นงานส่งเสริมการพัฒนาโครงการที่กำลังดำเนินการให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ตลอดจนสนับสนุนให้โครงการที่เสร็จสิ้นแล้วได้นำผลไปดำเนินการส่งเสริม และเผยแพร่และการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมต่อไป ประโยชน์ของพลังงานทดแทน โดยในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกพยายามศึกษาและค้นหาพลังงานทดแทนในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ และมีประสิทธิภาพดียิ่งกว่าพลังงานแบบเดิม เพื่อช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ลดปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อมของโลก รวมทั้งช่วยประหยัดพลังงาน ดังนั้นพลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือก จึงเป็นพลังงานที่สามารถนำมาใช้ทดแทนพลังงานแบบเดิมได้อย่างไม่จำกัด ทั้งยังหาได้จากธรรมชาติและสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เพื่อช่วยลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน รวมทั้งลดมลพิษอีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพลังงานทดแทน · ดูเพิ่มเติม »

พลังงานน้ำ

ลังงานน้ำ (hydropower, water power) เป็นรูปแบบหนึ่งการสร้างกำลังโดยการอาศัยพลังงานของน้ำที่เคลื่อนที่ ปัจจุบันนี้พลังงานน้ำส่วนมากจะถูกใช้เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้า นอกจากนี้แล้วพลังงานน้ำยังถูกนำไปใช้ในกรมชลประทาน การสี การทอผ้า และใช้ในโรงเลื่อย พลังงานของมวลน้ำที่เคลื่อนที่ได้ถูกมนุษย์นำมาใช้มานานแล้วนับศตวรรษ โดยได้มีการสร้างกังหันน้ำ (Water Wheel) เพื่อใช้ในการงานต่างๆ ในอินเดีย และชาวโรมันก็ได้มีการประยุกต์ใช้เพื่อใช้ในการโม่แป้งจากเมล็ดพืชต่างๆ ส่วนในจีนและตะวันออกไกลก็ได้มีการใช้พลังงานน้ำในการวิดน้ำเพื่อการชลประทาน โดยในช่วงทศวรรษที่ 1830 ซึ่งเป็นยุคที่การสร้างคลองเฟื่องฟู ก็ได้มีการประยุกต์เอาพลังงานน้ำมาใช้เพื่อขับเคลื่อนเรือขึ้นและลงจากเขา โดยอาศัยรางรถไฟที่ลาดเอียง อย่างไรก็ตามเนื่องจากการประยุกต์ใช้พลังงานน้ำในยุคแรกนั้นเป็นการส่งต่อพลังงานโดยตรง (Direct Mechanical Power Transmission) ทำให้การใช้ พลังงานน้ำในยุคนั้นต้องอยู่ใกล้แหล่งพลังงาน เช่น น้ำตก เป็นต้น ปัจจุบันนี้ พลังงานน้ำได้ถูกใช้เพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้ากันอย่างกว้างขวาง ทำให้สามารถส่งต่อพลังงานไปใช้ในที่ที่ห่างจากแหล่งน้ำได้ พลังงานน้ำเกิดจากพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ให้ความร้อนแก่น้ำและทำให้น้ำกลายเป็นไอน้ำลอยตัวสูงขึ้น มวลน้ำที่อยู่สูงขึ้นจากจุดเดิม (พลังงานศักย์) เมื่อมวลไอน้ำกระทบความเย็นก็จะเปลี่ยนเป็นของเหลวอีกครั้ง และตกลงมาเนื่องจากเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก (พลังงานจลน์) การนำเอาพลังงานน้ำมาใช้ประโยชน์ทำได้โดยการเปลี่ยนพลังงานจลน์ของน้ำที่ไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำให้เป็นกระแสไฟฟ้า อุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนนี้คือ กังหันน้ำ (Turbines) น้ำที่มีความเร็วสูงจะผ่านเข้าท่อแล้วถ่ายทอดพลังงานจลน์เข้าสู่กังหันน้ำ ซึ่งจะไปหมุนขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าอีกทอดหนึ่ง ในปัจจุบันพลังงานที่ได้จากแหล่งน้ำที่รู้จักกันโดยทั่วไปคือ พลังงานน้ำตก พลังงานน้ำขึ้นน้ำลง พลังงานคลื่น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพลังงานน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

พลังงานแสงอาทิตย์

รงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์โดยใช้กระจกรวมแสงไปที่หอคอย พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานของแสงและพลังงานของความร้อนที่แผ่รังสีมาจากดวงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆคือ พลังงานที่เกิดจากแสงและพลังงานที่เกิดจากความร้อน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพลังงานแสงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร

ัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นพิพิธภัณฑ์ด้านผ้าไทย ตั้งอยู่บริเวณอาคารอเนกประสงค์ ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

พนัส หันนาคินทร์

ตราจารย์ ดร.พนัส หันนาคินทร์ ศาสตราจารย์ ดร.พนัส หันนาคินทร์ (19 มกราคม พ.ศ. 2471 - 30 มกราคม พ.ศ. 2549) อดีตอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนมัธยมสาธิตวิทยาลัยวิชาการศึกษาคนแรก (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร) อดีตรองอธิการ วิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก และอดีตรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลกคนแรก เป็นผู้บุกเบิก และก่อตั้งวิทยาลัยวิชาการพิษณุโลก จนกระทั่งเป็นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก และมหาวิทยาลัยนเรศวร ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและพนัส หันนาคินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม

กรกฎาคม เป็นเดือนที่ 7 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกรกฎาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกรกฎ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีสิงห์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกรกฎาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนคู่และปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวปู เดิมเดือนนี้ใช้ชื่อว่า ควินตีลิส (Quintilis) ในภาษาละติน และเป็นเดือนที่ 5 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น "July" ตามชื่อของจูเลียส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เกิด และอ่านออกเสียงว่าจูลีจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและกรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระแส ชนะวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และนายกสภาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตหัวหน้าพรรคพลังใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและกระแส ชนะวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มสถาบันวิชาการสาธารณสุขและเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพระบรมราชชนก

ตราพระราชทาน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร เป็นหน่วยงานส่วนกลางที่ประจำอยู่ในส่วนภูมิภาค สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข โดยในวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2537 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตให้อัญเชิญพระนามาภิไธย "สิรินธร" และพระนามาภิไธยย่อ "สธ" มาเป็นชื่อของวิทยาลัยการสาธารณสุข โดยเปลี่ยนชื่อเป็น "วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร" ปัจจุบัน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร มีจำนวน 7 แห่ง ดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและกลุ่มสถาบันวิชาการสาธารณสุขและเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร

กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นศูนย์ฝึกอบรม รวมทั้งเป็นศูนย์ควบคุมระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ ณ อาคารศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและกองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

กองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร

กองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร (เดิมคือสถาบันบริหารการวิจัยและพัฒนา) เป็นหน่วยงานสังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร มีหน้าที่ในการประสานงานสนับสนุนด้านการวิจัยต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ ณ อาคารศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและกองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน

กันยายน เป็นเดือนที่ 9 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกันยายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกันย์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีตุล แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกันยายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวสิงโตและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว เดือนกันยายนในภาษาอังกฤษ September มาจากภาษาละติน septem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 7 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนกันยายนในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและกันยายน · ดูเพิ่มเติม »

การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

ระบบการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย (เรียกสั้น ๆ ว่า ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษา) เป็นระบบการรับสมัครบุคคลที่จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษามีการพัฒนามาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย

กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัย เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยต่าง ๆ อาทิ การจัดการแข่งขันกีฬา งานด้านวิชาการ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการจัดงานระหว่างคณะเดียวกัน ในแต่ละมหาวิทยาลัยอีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและกิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาคกลาง (ประเทศไทย)

กลาง เป็นภูมิภาคตอนกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคตะวันออก และภาคอีสานทางทิศตะวันออกโดยมีทิวเขาเพชรบูรณ์กั้น ติดต่อกับภาคตะวันตก ทิศเหนือติดต่อกับทิวเขาผีปันน้ำ พื้นนี้เคยเป็นดินแดนที่สำคัญของอาณาจักรอยุธยา และยังเป็นพื้นที่ที่สำคัญของประเทศไทยมาจนถึงปัจจุบัน ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทยตั้งอยู่ และมีประชากรในภูมิภาคมากที่สุดในประเท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและภาคกลาง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม

มกราคม เป็นเดือนแรกของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมกราคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีมกร และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมกราคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู และไปอยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเลในปลายเดือน เดือนมกราคมในภาษาอังกฤษ January มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า ยานุส (Janus) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งประตูทางผ่าน การเริ่มต้น และการสิ้นสุด ปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคมมีเดือนเพียง 10 เดือน (304 วัน) โดยไม่มีเดือนในช่วงฤดูหนาว ต่อมาได้มีการเพิ่มเดือน 2 เดือน คือ เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ทำให้ 1 ปีมี 12 เดือน ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมกราคมในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมกราคม · ดูเพิ่มเติม »

มวลชีวภาพ

มวลชีวภาพ หรือ ชีวมวล (biomass) คือสารอินทรีย์ที่เป็นแหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนำมาใช้ผลิตพลังงานได้ เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร หรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมวลชีวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยบูรพา

มหาวิทยาลัยบูรพา (Burapha University) สถาบันอุดมศึกษาของรัฐแห่งแรกที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ซึ่งในปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐตั้งอยู่ที่ ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 โดยอดีตเป็นวิทยาเขตหนึ่งของวิทยาลัยวิชาการศึกษา (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในปัจจุบัน)ก่อตั้งโดย พลเอกมังกร พรหมโยธี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามตั้งอยู่ ณ เลขที่ 169 ถนนลงหาดบางแสน ตำบลแสนสุข อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 647 ไร่ 35 ตารางวา โดยมีชื่อว่า วิทยาลัยวิชาการศึกษา บางแสน หรือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน ในเวลาต่อมา ด้วยเหตุนี้วันที่ 8 กรกฎาคม หรือที่เรียกว่า "แปดกรกฎ" ของทุกปีจึงนับเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยโดยเอกเทศด้วยผลการประกาศใช้ "พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยบูร..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมหาวิทยาลัยบูรพา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยพะเยา

มหาวิทยาลัยพะเยา (University of Phayao; ชื่อย่อ: มพ / UP) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ตั้งอยู่ในจังหวัดพะเยา เดิมเป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยนเรศวร ต่อมา มีการตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลั..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีวิทยาเขตหลักที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาเขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา ใน 21 คณะหรือเทียบเท่า และขยายโอก่าสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยทักษิณ

"มหาวิทยาลัยทักษิณ" เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา เดิมเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต่อมาได้รับการยกวิทยฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อว่า "มหาวิทยาลัยทักษิณ" พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได้ผ่านกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขั้นตอน และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2539 มีผลบังคับใช้ในวันศุกร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ซึ่งถือเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยทักษิณ โดยชื่อ มหาวิทยาลัยทักษิณ สื่อถึง "มหาวิทยาลัยแห่งภาคใต้" มหาวิทยาลัยทักษิณ จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการผลิตบัณฑิต พร้อมพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม ได้รับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับดี โดยเฉพาะในด้านการบริการแก่สังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และด้านการประกันคุณภาพภายในที่ได้รับการประเมินในระดับดีมาก ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยทักษิณประกอบด้วย 2 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตสงขลา และวิทยาเขตพัทลุง รวมทั้งมีสำนักงานอยู่ในกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ครอบคลุมสาขาวิชาการทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมหาวิทยาลัยทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ก่อตั้งโดยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ในปี พ.ศ. 2502 ภายใต้ชื่อ "โรงเรียนเทคนิคพระนครเหนือ" หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า "เทคนิคไทย-เยอรมัน" ก่อนจะยกฐานะในปี พ.ศ. 2507 เป็น "วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ" และเป็น "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตพระนครเหนือ" ในปี พ.ศ. 2514 ต่อมาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าทั้งสามวิทยาเขตได้รับการยกฐานะเป็น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ,สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในปี พ.ศ. 2529 โดยมีอำนาจบริหารอิสระจากกัน ซึ่งในปัจจุบันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือแบ่งออกเป็น 3 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตกรุงเทพมหานคร เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร, วิทยาเขตปราจีนบุรี อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี และวิทยาเขตระยอง อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง เปิดทำการเรียนการสอนทั้งหมด 13 คณะ 2 วิทยาลัย 2 บัณฑิตวิทยาลัย ตั้งแต่ระดับประกาศณียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปริญญาเอก ทั้งหลักสูตรภาษาไทย สองภาษา และนานาชาติ มีความโดดเด่นด้านวิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

มัธยมศึกษา

มัธยมศึกษา (ย่อว่า ม; secondary education) เป็นลำดับการศึกษา ขั้นที่ 3 รองจากระดับ ประถมศึกษา โดยการศึกษาในขั้นนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพให้เหมาะสมกับวัย ความต้องการ ความสนใจ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและรู้จักเลือกอาชีพที่เป็นประโยชน์แก่ตนเองและสังคม การศึกษาระดับนี้ใช้เวลาเรียนสามปี โดยผู้เรียนจะมีอายุระหว่าง 12 - 17 โดยผู้เรียนจบในระดับมัธยมศึกษานี้สามารถไปประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถ หรือศึกษาต่อในระดับ อุดมศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนเลือกเรียนกลุ่มวิชาการหรือวิชาชีพตามความถนัดของตนเอง ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายผุ้เรียนสามารถเรียนกลุ่มวิชาที่ผู้เรียนชื่นชอบเพื่อยึดเป็นอาชีพได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมัธยมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

มณฑล สงวนเสริมศรี

ตราจารย์(พิเศษ) เภสัชกร มณฑล สงวนเสริมศรี (29 ธันวาคม พ.ศ. 2490 -) ศาสตราจารย์พิเศษสาขาเภสัชศาสตร์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร 2 วาระ (พ.ศ. 2544 - 2548 และ พ.ศ. 2548 - 2552) และอธิการบดีมหาวิทยาลัยพะเยาคนแรก (พ.ศ. 2553).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมณฑล สงวนเสริมศรี · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งพันธ์ มนะสิการ

นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 - 22 ธันวาคม พ.ศ. 2546) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและยิ่งพันธ์ มนะสิการ · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยนเรศวร

ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยนเรศวร บุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยนเรศวร ที่เป็นคณาจารย์และผู้บริหารทั้งในอดีต และปัจจุบัน รวมทั้งศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยตั้งแต่สมัยวิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก สมัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก จนกระทั่งถึงสมัยมหาวิทยาลัยนเรศวร มีหลากหลายตั้งแต่บุคคลสำคัญในด้านการเมืองการปกครอง นักวิชาการ ศิลปิน ข้าราชการและคณาจารย์ ดังรายนามต่อไปนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลซีไรต์

ัญลักษณ์ของรางวัลซีไรต์ รางวัลซีไรต์ (S.E.A. Write) มีชื่อเต็มว่า รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (Southeast Asian Writers Award) เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและรางวัลซีไรต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลลิตา ฤกษ์สำราญ

รองศาสตราจารย์ ดร.ลลิตา ฤกษ์สำราญ อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 2..กรุงเทพฯ หลายสมัย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 เป็นบุตรีของ นายเซี้ยง และนางสั้ง ฤกษ์สำราญ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก จิตวิทยาการศึกษา จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็น อดีตอาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ตำแหน่งสุดท้ายเป็น รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและลลิตา ฤกษ์สำราญ · ดูเพิ่มเติม »

วันลอยกระทง

วันลอยกระทง เป็นวันสำคัญทางศาสนาฮินดูวันหนึ่งของไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา มักจะตกอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ บางปีเทศกาลลอยกระทงก็จะมาตรงกับเดือนตุลาคมด้วย เช่นปี พ.ศ. 2544วันลอยกระทงปีนั้นตรงกับวันที่ 31 ตุลาคม และจะมาตรงกันอีกครั้งในปี พ.ศ. 2563 ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคา บางหลักฐานเชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที และบางหลักฐานก็ว่าเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์หรือพระมหาสาวก สำหรับประเทศไทยประเพณีลอยกระทงได้กำหนดจัดในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะบริเวณที่ติดกับแม่น้ำ ลำคลอง หรือ แหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งแต่ละพื้นที่ก็จะมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจแตกต่างกันไป นอกจากนี้บางประเทศก็มีเทศกาลลอยกระทงด้วย เช่น ประเทศลาวมักจะลอยกระทงในวันออกพรรษา (ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ในงานไหลเฮือไฟของลาว ประเทศกัมพูชา มีการลอยกระทง 2 ครั้ง คือลอยกระทงหลวงกลางเดือน 11 ราษฎรจะทำกระทงเล็กและบรรจุอาหารลงไปด้วย ส่วนกลางเดือน 12 จะมีกระทงหลวงเป็นกระทงใหญ่ ราษฎรจะไม่ได้ทำและกระทงนี้จะมีอาหารบรรจุลงไปด้วยเช่นกัน โดยมีคติว่าเพื่อส่งส่วนบุญไปให้เปรต เทศกาลน้ำจะมีการเฉลิมฉลองด้วยการแข่งเรือยาว การแสดงพุลดอกไม้ไฟ จัดขึ้นทุกปีตั้งแต่วันขึ้น 14 ค่ำ 15 ค่ำ จนถึงแรม 1 ค่ำ เดือนพฤศจิกายน ประเทศพม่า ในวันลอยกระทง ผู้คนจะพากันทำกระทงตกแต่งเป็นรูปคล้ายดอกบัวบาน ปักธูปเทียน และนิยมตัดเล็บ เส้นผม หรือใส่เหรียญกษาปณ์ลงไปในกระทง แล้วนำไปลอยในแหล่งน้ำ ส่วนในพื้นที่ติดทะเลก็นิยมลอยกระทงริมฝั่งทะเล เชื่อว่าเป็นการลอยเคราะห์ไป นอกจากนี้ยังเชื่อว่าการลอยกระทงเป็นการบูชาและขอขมาพระแม่คง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและวันลอยกระทง · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร ศรีสอ้าน

ตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน (22 ธันวาคม พ.ศ. 2477 —) เกิดที่ตำบลสนามจันทร์ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตปลัดทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตรองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปัจจุบันศาสตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และที่ปรึกษาสำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและวิจิตร ศรีสอ้าน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2546 โดยมีหน้าที่วิจัยและพัฒนาด้านพลังงานทดแทน โดยเน้นพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ พลังงานลม ชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพและพลังงานอื่นๆ นอกจากนี้ยังเป็นสถาบันการศึกษาและวิจัยขั้นสูงที่ผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก และการทำวิจัยหลังปริญญาเอก ตั้งอยู่ ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร (Naresuan University International College - NUIC) เป็นวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งจัดการศึกษาในหลักสูตรนานาชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นสถาบันฟิสิกส์ทฤษฎีที่มีฐานะเทียบเท่าคณะวิชาของมหาวิทยาลัยนเรศวร เน้นการวิจัยและการจัดการศึกษาชั้นสูงทางฟิสิกส์ทฤษฎีและการค้นคว้าศาสตร์อื่นที่ใช้ฟิสิกส์ทฤษฎีเป็นเครื่องมือในการวิจัยระดับรากฐานขององค์ความรู้ ปัจจุบัน IF มีการวิจัยในระดับนานาชาติในสาขาต่าง ๆ คือ จักรวาลวิทยา, สัมพัทธภาพทั่วไปและความโน้มถ่วง, ทฤษฎีสนามควอนตัม, ความโน้มถ่วงควอนตัมและทฤษฎีสตริง, ฟิสิกส์ควอนตัมประยุกต์, โครงสร้างเชิงทฤษฎี และ ฟิสิกส์ของระบบเศรษฐศาสตร์ การเงินและสังคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและวิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ วิทยาศาสตร์สุขภาพสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การศึกษา วิจัย และความรู้ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนที่ 2 คือ การนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสุขภาพ, รักษาโรค และทำความเข้าใจการทำงานของร่างกายมนุษย์และสัตว์ งานวิจัยด้านนี้วางอยู่บนฐานของชีววิทยา, เคมี และฟิสิกส์ รวมไปถึงความรู้ด้านสังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยาการแพท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและวิทยาศาสตร์สุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภา

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและวุฒิสภา · ดูเพิ่มเติม »

วนิดา พึ่งสุนทร

วนิดา พึ่งสุนทร (5 ธันวาคม 2480 -) สถาปนิกหญิงแห่งชาติ ได้รับเกียรติคุณให้เป็นผู้อนุรักษ์มรดกไทยดีเด่นด้านสถาปัตยกรรม จากสำนักนายกรัฐมนตรี ศิลปินดีเด่น กรุงเทพมหานคร สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (แบบประเพณี) ประจำปี 2546 ท่านเป็นอาจารย์ที่เมตตา แนะนำและพร่ำสอนลูกศิษย์ ให้มีความรู้ ความสามารถ รักและเข้าใจในงานสถาปัตยกรรมไทย โดยมีเจตนารมณ์ที่ว่า "สถาปัตยกรรมไทยนั้นสามารถสืบสานและสร้างสรรค์ได้".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและวนิดา พึ่งสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู

ริวรรณ ปราศจากศัตรู (สกุลเดิม ศุภศิริ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ และแบบบัญชีรายชื่อหลายสมัย และเป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและศิริวรรณ ปราศจากศัตรู · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

สมอง

มอง thumb สมอง คืออวัยวะสำคัญในสัตว์หลายชนิดตามลักษณะทางกายวิภาค หรือที่เรียกว่า encephalon จัดว่าเป็นส่วนกลางของระบบประสาท คำว่า สมอง นั้นส่วนใหญ่จะเรียกระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คำนี้บางทีก็ใช้เรียกอวัยวะในระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอีกด้วย สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และภาวะธำรงดุล (homeostasis) เช่น การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรู้ (cognition) อารมณ์ ความจำ การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning) และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ สมองประกอบด้วยเซลล์สองชนิด คือ เซลล์ประสาท และเซลล์เกลีย เกลียมีหน้าที่ในการดูแลและปกป้องนิวรอน นิวรอนหรือเซลล์ประสาทเป็นเซลล์หลักที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะงาน (action potential) การติดต่อระหว่างนิวรอนนั้นเกิดขึ้นได้โดยการหลั่งของสารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่รวมเรียกว่า สารสื่อประสาท (neurotransmitter) ข้ามบริเวณระหว่างนิวรอนสองตัวที่เรียกว่า ไซแนปส์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลงต่าง ๆ ก็มีนิวรอนอยู่นับล้านในสมอง สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่มักจะมีนิวรอนมากกว่าหนึ่งร้อยล้านตัวในสมอง สมองของมนุษย์นั้นมีความพิเศษกว่าสัตว์ตรงที่ว่ามีความซับซ้อนและใหญ่กว่าเมื่อเทียบกับขนาดตัวของมนุษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสมอง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สังคมศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสังคมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม

งหาคม เป็นเดือนที่ 8 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนสิงหาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีสิงห์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกันย์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนสิงหาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปูและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต เดือนสิงหาคมเดิมใช้ชื่อในภาษาละตินว่า ซิกซ์ตีลิส (Sextilis) เนื่องจากเป็นเดือนที่ 6 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนเป็น August เพื่อเป็นเกียรติแด่ ออกัสตัส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เข้าไปโรมในชัยชนะของเจ้าทั้งตะวันออกและตะวันตก ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนสิงหาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุจินต์ จินายน

ตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน ศาสตราจารย์ สุจินต์ จินายน (12 เมษายน พ.ศ. 2478 -) ศาสตราจารย์สาขาพันธุศาสตร์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช ได้รับการคัดเลือกให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์ และชีววิทยา เมื่อปี พ.ศ. 2533 เคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสุจินต์ จินายน · ดูเพิ่มเติม »

สีส้ม

ีส้ม เป็นหนึ่งในกลุ่มสีโทนร้อน แสงสีส้มที่มองเห็นได้มีความยาวคลื่นราว 590 นาโนเมตร สีเพลิง เป็น รูปลักษณ์ของสีออกคล้ายสีแสด ซึ่งมีความเข้มกว่าสีส้ม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

สีแดง

ีแดง คือสีมีความถี่ของแสงที่ต่ำที่สุด ที่ตามนุษย์สามารถแยกแยะได้ แสงสีแดงมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 630-760 นาโนเมตร สีแดงเป็นสีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง จัดเป็น 1 ในแม่สี 3 สี ร่วมกับสีเขียว, สีน้ำเงิน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสีแดง · ดูเพิ่มเติม »

สีเหลือง

ีเหลือง เป็น 1 ใน 3 แม่สี ร่วมกับสีแดง และสีน้ำเงิน โดยปกติสีจะมีอยู่สองโทน คือ สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น แต่สีเหลืองเป็นสีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น จึงสามารถเลือกใช้สีเหลืองเข้าไปผสมผสานได้กับสีทั้งสองโทน ซึ่งนอกจากสีเหลืองแล้วยังมีสีม่วงอีกสีหนึ่งที่มีลักษณะดังกล่าว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสีเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

สีเทา

ีเทา เป็นสีที่อยู่ระหว่างสีขาวและสีดำซึ่งเป็นสีที่ไม่มีสีสัน สีเทาในภาษาอังกฤษสะกดได้สองอย่างคือ grey (อังกฤษบริเตน) และ gray (อังกฤษอเมริกัน) ไทยสมัยโบราณมีคำเรียก "สีเหล็ก" หมายถึงสีเทาออกดำ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสีเทา · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

้รับรางวัลโนเบลมาก แห่งหนึ่งในโลก สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ มหาวิทยาลัยรัฐ คือ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับอุดหนุนงบประมาณส่วนใหญ่จากรัฐ โดยผ่านรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลท้องถิ่น ในประเทศไทย หมายถึงสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (เดิมคือ ทบวงมหาวิทยาลัย) ประกอบด้วยทั้ง มหาวิทยาลัยจำกัดรับในระบบราชการ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ฯลฯ มหาวิทยาลัยจำกัดรับนอกระบบราชการ (สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล) เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยไม่จำกัดรับ ได้แก่ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสหรัฐอเมริกา วิธีการสมัครเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน ไม่แตกต่างกัน สิ่งที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือค่าเรียน ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐชั้นนำในสหรัฐอเมริกาคือ พับลิกไอวี โดยเปรียบเทียบกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำ ในสหราชอาณาจักร สถาบันอุดมศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ยกเว้นเพียงแห่งเดียว คือมหาวิทยาลัยบัคกิ้งแฮม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร

นภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร ดำเนินการจัดตั้งเพื่อพัฒนาและประยุกต์นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ โดยเป็นหน่วยงานในการวิจัย เผยแพร่ถ่ายทอดวิชาการ รวมทั้งสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ซึ่งสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่างนี้เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ ณ อาคารสถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

สถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร

นอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดตั้งขึ้นเพื่อสืบค้น รวบรวม วิจัย พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ รวมทั้งการประสานงานเครือข่ายวิชาการ การประชุมวิชาการ และการจัดนิทรรศการ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตคนในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง-สาละวิน โดยรวมศูนย์ศิลปวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์ผ้าของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นหน่วยงานเดียวกันเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารสถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น 2 ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ดำเนินงาน 2 ส่วน คือมหาวิทยาลัยนเรศวร ส่วนหนองอ้อ และมหาวิทยาลัยนเรศวร ส่วนสนามบิน (หรือในปัจจุบันคือโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและสถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

ห้องเชียร์

ห้องเชียร์คือสถานที่ที่ใช้เพื่อกิจกรรมการรับน้อง เป็นห้องที่มีลักษณะปิด อาจเป็นเป็นห้องเรียนหรือหอประชุม โดยจะมีรุ่นพี่เข้ามาทำกิจกรรมต่างๆ กับรุ่นน้อง กิจกรรมเช่น อบรมน้องใหม่ให้ทราบถึงประวัติมหาวิทยาลัย ประวัติคณะ หรือสาขา รวมทั้งลักษณะการประพฤติปฏิบัติอันดี และยังรวมถึงการสอนร้องเพลงประจำสถาบันด้วย ห้องเชียร์จึงได้ชื่อว่าเป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งที่จะทำให้นักศึกษาใหม่ได้ทราบประวัติของคณะและมหาวิทยาลัย และยังเป็นโอกาสทำกิจกรรมร่วมกันกับทั้งรุ่นพี่และเพื่อนๆ ในรุ่นเดียวกันอีกด้วย ลักษณะการจัดกิจกรรมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละคณะหรือมหาวิทยาลัย โดยห้องเชียร์นี้เป็นกิจกรรมที่แสดงถึงลักษณะของระบบ SOTUS ระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้องแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและห้องเชียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ. 2549 นี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการจัดลำดับมหาวิทยาลัยรัฐในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย 2 หน่วยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) สำหรับในต่างประเทศได้มีการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกจากทั้ง นิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ นิตยสารเอเชียวีก บริษัท แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส จำกัด, CWTS, CWUR ฯลฯ รวมทั้งการจัดอันดับความเป็นอิเล็กทรอนิกส์และการเข้าถึงเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยจากเว็บไซต์เว็บโอเมตริกซ์ โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยบางส่วนได้ถูกเสนอชื่อเข้าไปในนั้น ในขณะที่บางลำดับเช่นจาก มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวถง ไม่มีรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยแต่อย่างใ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองพิษณุโลก

ระพุทธชินราช อำเภอเมืองพิษณุโลก เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและอำเภอเมืองพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีจังหวัดละหนึ่งแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีเขตพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัด จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังหวัด ตลอดทั้งช่วยเหลือพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและองค์การบริหารส่วนจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดบุรีรัมย์ และอดีตหัวหน้าพรรคเทิดไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ผลงานการตีพิมพ์ของนักวิจัยไทย

ำนวนผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติที่อยู่บนฐานข้อมูล ISI ผลงานการตีพิมพ์ของนักวิจัยไทย เป็นผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติ ซึ่งสามารถสืบค้นได้โดยอาศัยฐานข้อมูลดัชนีอ้างอิงงานวิทยาศาสตร์ (Science Citation Index) รวมทั้งสังคมศาสตร์ (Social Sciences Citation Index) และศิลปศาสตร์และมนุยศาสตร์(Arts & Humanities Citation Index) โดย ทอมสันไซแอนติฟิก (ISI) ผลงานตีพิมพ์วิจัยนั้นเป็นตัวชี้วัดหนึ่งซึ่งใช้วัดคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา ตามการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษา สำหรับผลงานของนักวิจัยไทยนั้น ได้มีผู้รวมรวมผลงานวิจัยของนักวิจัยไทยตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและผลงานการตีพิมพ์ของนักวิจัยไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพะเยา

ังหวัดพะเยา (30px พ(ร)ะญาว) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบน บริเวณที่ตั้งของตัวเมืองพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิมเป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พะยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดยกษัตริย์องค์แรกคือ พญาจอมธรรม ซึ่งเป็นราชบุตรองค์หนึ่งจากเมืองหิรัญนครเงินยางเชียงแสน และเป็นบรรพบุรุษของกษัตริย์เมืองพะยาวอีกหลายองค์ เช่น พญาเจือง วีรบุรุษแห่งเผ่าไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง และพญางำเมืองซึ่งได้กระทำสัตย์สาบานเป็นไมตรีต่อกันกับพญามังรายแห่งนครพิงค์เชียงใหม่ และพญาร่วงรามคำแหงแห่งสุโขทัย ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจ และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา ในสมัยพญาคำฟู เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกำแพงเพชร

ังหวัดกำแพงเพชร เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 8,607 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุทัยธานี

ังหวัดอุทัยธานี เดิมสะกดว่า อุไทยธานี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดอุทัยธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตาก

นมิตรภาพ ไทย-พม่า (แม่สอด-เมียวดี) ทอดข้ามแม่น้ำเมย จังหวัดตาก (30px) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกหรือบางแห่งจัดอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดชายแดนที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย มีประวัติศาสตร์เก่าแก่นับแต่สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย นอกจากนี้จังหวัดตากยังเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อจังหวัดอื่น ๆ ถึง 9 จังหวั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดตาก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแพร่

ังหวัดแพร่ (25px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็ก มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างภูเขา โดยมีทิวเขาล้อมรอบ และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านคือแม่น้ำยม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบูรณ์

ังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 12,668 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ มีประชากร 994,397 คน แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ และมีเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เป็นจังหวัดที่มีทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม

ันวาคม เป็นเดือนที่ 12 และเดือนสุดท้ายของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนธันวาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีธนู และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมกร แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนธันวาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูในปลายเดือน เดือนธันวาคมในภาษาอังกฤษ December มาจากภาษาละติน decem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 10 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117 สายนครสวรรค์ – บ้านม่วงเจ็ดต้น (รวมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1325, 1104 และ 1047 สายคลองเมม – ม่วงเจ็ดต้น) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลักที่เชื่อมการขนส่งจราจรระหว่างจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร และจังหวัดพิษณุโลก และเป็นทางหลวงสายรองในช่วงจังหวัดพิษณุโลกถึงจังหวัดอุตรดิตถ์ รวมระยะทางตลอดทั้งสาย 396.784 กิโลเมตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117 · ดูเพิ่มเติม »

ครุยวิทยฐานะไทย

ัณฑิตจากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในชุดครุยวิทยฐานะไทย ครุยวิทยฐานะไทย เป็นชุดพิธีการซึ่งสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยถือรับธรรมเนียมปฏิบัติมาจากพิธีการสำเร็จการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาทางตะวันตก ปัจจุบันครุยวิทยฐานะใช้ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรเพื่อแสดงถึงปริญญาวิทยฐานะที่ได้จากการสำเร็จการศึกษา ครุยวิทยฐานะสำหรับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐจะกำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาหรือกฎหมายอื่น ส่วนสถาบันอุดมศึกษาของเอกชนกำหนดไว้ในข้อบังคับของตน การใช้ครุยวิทยฐานะสำหรับมหาวิทยาลัยรัฐโดยไม่ชอบนั้นมีโทษ อนึ่ง มีการเข้าใจผิดว่าครุยวิทยฐานะไทยเป็นเป็นเสื้อครุยที่ได้รับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งมีเพียงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเท่านั้นที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๑, ตอน ๐ ง, ๖ ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและครุยวิทยฐานะไทย · ดูเพิ่มเติม »

ครู

รู คือ ผู้ที่มีความสามารถให้คำแนะนำ เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางการเรียน สำหรับนักเรียน หรือ นักศึกษาในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั้งของรัฐและเอกชน มีหน้าที่ หรือมีอาชีพในการสอนกับวิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติและแนวทางในการทำงาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่างกันออกไปโดยคำนึงถึงพื้นฐานความรู้ ความสามารถ และเป้าหมายของนักเรียนแต่ละคน และนอกจากการสอนแล้วครูยังเป็นผู้ยกระดับวิญญาณมนุษย์ ให้รู้จักผิดชอบชั่วดี สอนในคุณงามความดีเพื่อเป็นแม่แบบให้เด็กได้ปฏิบัติตามทั้งต่อหน้าและลับหลัง คำว่า "ครู" มาจากศัพท์ภาษาสันสกฤต "คุรุ" และภาษาบาลี "ครุ, คุรุ".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและครู · ดูเพิ่มเติม »

คุณธรรม

ณธรรม (virtue) มีความหมายตามพจนานุกรมว่า "สภาพคุณงามความดี" เป็นลักษณะหรือคุณสมบัติทางบวกที่ถือกันว่าดีงามทางศีลธรรม ฉะนั้นจึงได้รับยกย่องเป็นรากฐานของหลักการและสัตศีลธรรมดี คุณธรรมส่วนบุคคลเป็นลักษณะเฉพาะที่เป็นค่านิยมว่าส่งเสริมความยิ่งใหญ่โดยรวมและปัจเจก ตรงข้ามกับคุณธรรม คือ ความชั่วร้าย (vice).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคุณธรรม · ดูเพิ่มเติม »

คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2546 โดยเดิมใช้ชื่อว่า คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะสหเวชศาสตร์ สถานศึกษาภาคปฏิบัติของนิสิต​คณะพยาบาลศาสตร์ ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2539 เป็นคณะในกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (กลุ่มอาคารด้านซ้าย) สุวรรณภิงคารจากพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความเป็นมาหลายยุค หลายสมัย ตั้งแต่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก และมหาวิทยาลัยนเรศวร ในปัจจุบัน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรมีภารกิจในการสอนวิชาศึกษาทั่วไป วิชาเฉพาะและวิชาเลือกเสรี ให้แก่นิสิตคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิชา

ณะวิชา หรือเรียกอย่างสั้น ๆ ว่า คณะ เป็นองค์กรในสถาบันอุดมศึกษาที่มีหน้าที่จัดการเรียนการสอนและให้บริการความรู้เกี่ยวกับวิชาการสาขาที่อยู่ในประเภทเดียวกัน มีหัวหน้าองค์กรเรียก "คณบดี" บางแห่งเรียก "สำนักวิชา" "สาขาวิชา" หรือ "วิทยาลัย" แทน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะวิชา · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

กลุ่มอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

กลุ่มอาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความเป็นมาหลายยุคหลายสมัย ตั้งแต่สมัยวิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก จนมาถึงมหาวิทยาลัยนเรศวรในปัจจุบัน เป็นคณะที่เปิดสอนในกล่มวิชาวิทยาศาสตร์ ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2544 โดยเป็นการรวมภาควิชาที่รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนระดับปรีคลินิก (Pre-clinic) ทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพทุกสาขาเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอนระดับปรีคลินิก และให้การสนับสนุนงานวิจัยกับอาจารย์และนิสิตในคณะกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์การแพท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความเป็นมาหลายยุค หลายสมัย ตั้งแต่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก และมหาวิทยาลัยนเรศวรในปัจจุบัน โดยคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรมีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรทางการศึกษาในภาคเหนือตอนล่างมากกว่า 40 ปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้รับการจัดตั้ง เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 และจัดการเรียนการสอนในด้านสหเวชศาสตร์ในหลายสาขาวิชาได้แก่ สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก สาขาวิชารังสีเทคนิค และสาขาวิชากายภาพบำบัด ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (อาคารด้านขวา) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นคณะสายสังคมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

อาคารสำนักงานคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นคณะสาธารณสุขศาสตร์แห่งแรกในเขตภาคเหนือตอนล่าง จัดตั้งขึ้นเพื่อพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขในภาคเหนือตอนล่างโดยมุ่งเน้นเพื่อรองรับการปฏิรูประบบบริการสุขภาพไปสู่การให้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิที่มีคุณภาพ ได้รับการจัดตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2544 ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะพยาบาลศาสตร์ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ ตั้งอยู่บริเวณหลังโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เริ่มจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2538 ในฐานะโครงการจัดตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และได้เปิดรับนิสิตทันตแพทย์รุ่นแรกในปี พ.ศ. 2540 และได้รับการจัดตั้งเป็นคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2546 ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2537 เป็นคณะที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 5 ของมหาวิทยาลัยนเรศวรรังสรรค์ วัฒน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2536 โดยใช้ชื่อว่า "คณะเกษตรศาสตร์" และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม" เมื่อปี พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ในบริเวณมหาวิทยาลัยนเรศวร บ้านทุ่งหนองอ้อ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก เป็นคณะเภสัชศาสตร์ของรัฐคณะที่ 7 จัดตั้งขึ้นเพื่อผลิตเภสัชกร ให้เพียงพอกับความต้องการของประเทศ และเพื่อกระจายเภสัชกรสู่ภาคเหนือตอนล่าง อันเป็นการเพิ่มบุคลากรด้านสาธารณสุขให้แก่ภูมิภาคนี้ ซึ่งจะมีบทบาทสำคัญในการให้ความรู้เกี่ยวกับยาแก่บุคลากรทางการแพทย์ ผู้ป่วย และประชาชนทั่วไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลในเมือง

ตำบลในเมือง สามารถหมายถึงตำบลที่มีชื่อเดียวกันนี้ถึง 22 แห่งในอำเภอและจังหวัดต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและตำบลในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยมอบให้แก่นักวิจัยซึ่งได้อุทิศตนให้กับการวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่อง ในกลุ่มวิชาการ หรือสหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานวิจัยดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่มและเป็นผลงานวิจัยที่ทำสะสมกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป ทั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรมของนักวิจัยจนเป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการนั้นๆ สมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยผู้อื่นได้ ในอันที่จะทุ่มเทกำลังใจ และสติปัญญาในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณประโยชน์แก่ประเทศชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร

รงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐบาลระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super tertiary care) ในเขตภาคเหนือตอนล่าง สังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร เลขที่ 99 หมู่ 9 ถนนพิษณุโลก - นครสวรรค์ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร

รงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อยู่ในการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2548 โดยมติของสภามหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อให้เป็นสถานที่ฝึกสอนของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และจัดการเรียนการสอนตามแนวศิลปศาสตร์ (Liberal Arts Education) มี ผ.ดร.คงศักดิ์ พร้อมเทพ เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1 ถนนสนามบิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยนเรศวร (ส่วนสนามบิน) มีพื้นที่ 66 ไร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

ไพฑูรย์ ธัญญา

ฑูรย์ ธัญญา (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 —) เป็นนามปากกาของ รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและไพฑูรย์ ธัญญา · ดูเพิ่มเติม »

ไขศรี ศรีอรุณ

ตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิง ไขศรี ศรีอรุณ (29 มกราคม 2480 -ปัจจุบัน) นายกสภามหาวิทยาลัยพะเยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และอีกทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร และนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและไขศรี ศรีอรุณ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงไทยสากล

ลงไทยสากล เป็นเพลงที่ขับร้องในภาษาไทย โดยเริ่มจากนำทำนองไทยเดิมใส่เนื้อร้องบรรเลงและขับร้อง โดยใช้มาตรฐานของโน้ตเพลงแบบสากล จนเป็นเพลงไทยแนวใหม่ โดยตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและเพลงไทยสากล · ดูเพิ่มเติม »

เกษม วัฒนชัย

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี,ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช, นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในอดีตได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร สมรสกับคุณหญิง รัชนีวรรณ วัฒนชั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและเกษม วัฒนชัย · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน

มษายน เป็นเดือนที่ 4 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน (เขียนย่อ เม.ย. ภาษาปากเรียก เมษา หรือเดือนเมษา) ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนเมษายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมษ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพฤษภ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนเมษายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปลาและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวแกะ ชื่อในภาษาอังกฤษ "April" มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน แอปปรีริส ("aprilis") และ แอปเปรีเร ("aperire") หมายถึง "กางออก" ซึ่งอาจหมายถึงการเริ่มต้นของฤดูใบไม้ผลิ หรืออาจมาจาก Apru ชื่อเทพีแห่งความรักในภาษาของชาวอิทรูเรีย ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนเมษายนใน พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน ตามปฏิทินโรมันดั้งเดิม กำหนดให้เดือนเมษายนเป็นเดือนที่ 2 ของปี และมี 29 วัน จากนั้นจูเลียส ซีซาร์ได้ปฏิรูประบบปฏิทินใหม่ เมื่อ 45 ปีก่อนคริสตกาล กำหนดให้เดือนมกราคมเป็นเดือนแรก ทำให้เดือนเมษายนขยับไปเป็นเดือนที่ 4 ของปี และมี 30 วัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและเมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เสลา

ลา หรือ อินทรชิต (ชื่อวิทยาศาสตร์: Lagerstroemia loudoni Teijsm. & Binn.) เป็นต้นไม้ขนาดกลางโตช้า ผลัดใบ สูง 10-20เมตร เรือนยอดทรงกลมทึบ ใบดก กิ่งโน้มลงรอบทรงพุ่ม เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีรอยแตกเป็นทางยาวตลอดลำต้น ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 6-10 เซนติเมตร ยาว 16-24 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลมเป็นติ่ง โคนมน เนื้อใบหนาปานกลาง เส้นใบมีขนนุ่มทั้งสองด้าน ดอกสีม่วง ม่วงอมชมพู หรือม่วงกับขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5-8 แฉก กลีบดอกส่วนใหญ่เป็น 6 กลีบ รูปกลมบางยับย่น ขอบย้วย โคนคอดเป็นก้านสั้น ๆ เมื่อบาน เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 เซนติเมตร เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลรูปเกือบกลม ผิวแข็ง ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ผลแห้งแตกตามยาว 5-6 พู เมล็ดสีน้ำตาลเข้มจำนวนมาก มีปีก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ต้นเสลาขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบ และป่าชายหาด พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง ลงไปถึงจังหวัดประจวบคีรีขัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและเสลา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครพิษณุโลก

ษณุโลก เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่งและเป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย และเป็นเมืองศูนย์กลางและเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งศาลากลางของจังหวัดพิษณุโลก ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและเทศบาลนครพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยี

นาโนเทคโนโลยีเป็นที่สนใจในศตวรรษปัจจุบัน เทคโนโลยี หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ12 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤศจิกายน

วันที่ 13 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 317 ของปี (วันที่ 318 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 48 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ13 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ13 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ17 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ18 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

19 มกราคม

วันที่ 19 มกราคม เป็นวันที่ 19 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 346 วันในปีนั้น (347 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ19 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

2 พฤศจิกายน

วันที่ 2 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 306 ของปี (วันที่ 307 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 59 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ2 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

20 มกราคม

วันที่ 20 มกราคม เป็นวันที่ 20 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 345 วันในปีนั้น (346 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ20 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤศจิกายน

วันที่ 21 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 325 ของปี (วันที่ 326 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 40 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ21 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ23 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ23 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

24 มกราคม

วันที่ 24 มกราคม เป็นวันที่ 24 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 341 วันในปีนั้น (342 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ24 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มีนาคม

วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ24 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ25 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

25 มกราคม

วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ25 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

25 มีนาคม

วันที่ 25 มีนาคม เป็นวันที่ 84 ของปี (วันที่ 85 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 281 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ25 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ27 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ28 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ28 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

29 กรกฎาคม

วันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันที่ 210 ของปี (วันที่ 211 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 155 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ29 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ3 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

3 ธันวาคม

วันที่ 3 ธันวาคม เป็นวันที่ 337 ของปี (วันที่ 338 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 28 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ3 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 211 ของปี (วันที่ 212 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 154 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ30 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มิถุนายน

วันที่ 30 มิถุนายน เป็นวันที่ 181 ของปี (วันที่ 182 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 184 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ30 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤศจิกายน

วันที่ 4 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 308 ของปี (วันที่ 309 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 57 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ4 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 ธันวาคม

วันที่ 4 ธันวาคม เป็นวันที่ 338 ของปี (วันที่ 339 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 27 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ4 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤศจิกายน

วันที่ 5 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 309 ของปี (วันที่ 310 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 56 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ5 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤศจิกายน

วันที่ 6 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 310 ของปี (วันที่ 311 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 55 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ6 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 ตุลาคม

วันที่ 8 ตุลาคม เป็นวันที่ 281 ของปี (วันที่ 282 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 84 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ8 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 ตุลาคม

วันที่ 9 ตุลาคม เป็นวันที่ 282 ของปี (วันที่ 283 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 83 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยนเรศวรและ9 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ม.นเรศวรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลกมน.

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »