ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มนฤดี ยมาภัยและอรัญญา นามวงศ์
มนฤดี ยมาภัยและอรัญญา นามวงศ์ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีบ้านทรายทองอย่าลืมฉันน้ำผึ้งขมไพโรจน์ สังวริบุตร
ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี
นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.
ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและมนฤดี ยมาภัย · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและอรัญญา นามวงศ์ ·
บ้านทรายทอง
้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ เป็นนวนิยายอมตะเรื่องหนึ่งของวงการวรรณกรรมไทย เขียนโดย ก.สุรางคนางค์ (กัณหา เคียงศิริ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี 2529) นักประพันธ์ผู้มีชื่อเสียง ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารรายปักษ์ชื่อ "ปิยมิตร" ประมาณปี พ.ศ. 2493 เคยเป็น ละครโทรทัศน์และ ภาพยนตร์ ได้รับความนิยมสูงตลอดมา สวลี ผกาพันธุ์ มีชื่อเสียงจากบทสาวน้อยถักผมเปีย พจมาน สว่างวงศ์ คนแรกในวงการแสดง จากละครเวทีของคณะอัศวินการละคร ของ เสด็จพระองค์ชายใหญ่ (ภาณุพันธุ์) ที่ ศาลาเฉลิมไท..
บ้านทรายทองและมนฤดี ยมาภัย · บ้านทรายทองและอรัญญา นามวงศ์ ·
อย่าลืมฉัน
อย่าลืมฉัน เป็นนวนิยายประพันธ์โดย ทมยันตี ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ 1 ครั้งในปี พ.ศ. 2520 และถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ 4 ครั้ง ได้แก่ปี พ.ศ. 2524 ทางช่อง 5, พ.ศ. 2530 ทางช่อง 5, พ.ศ. 2541 ทางช่อง 7 และ พ.ศ. 2557 ทางช่อง 3.
มนฤดี ยมาภัยและอย่าลืมฉัน · อย่าลืมฉันและอรัญญา นามวงศ์ ·
น้ำผึ้งขม
นตร์ ปี พ.ศ. 2517 ละคร ปี พ.ศ. 2523 ละคร ปี พ.ศ. 2529 น้ำผึ้งขม และ ระฆังวงเดือน เป็นบทประพันธ์โดย กฤษณา อโศกสิน ตีพิมพ์เป็นตอนๆ ในนิตยสารสตรีสาร ระหว่างปี พ.ศ. 2505 – พ.ศ. 2508 รวมเล่มครั้งแรกในปี..
น้ำผึ้งขมและมนฤดี ยมาภัย · น้ำผึ้งขมและอรัญญา นามวงศ์ ·
ไพโรจน์ สังวริบุตร
รจน์ สังวริบุตร ในเรื่อง เลือดสุพรรณ ไพโรจน์ สังวริบุตร (ชื่อเล่น: เอ๋) เกิดเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ และนักแสดงชาวไทย เป็นน้องชายของ จีราภา ปัญจศิลป์ เจ้าของคณะละครวิทยุอัชชาวดี บุตรชายของคารม สังวริบุตร ดาราแห่งคณะละครวิทยุแก้วฟ้า ซึ่งเป็นพี่ชายของไพรัช สังวริบุตร(ศิลปินแห่งชาติ) จบการศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ และปริญญาโท คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก เข้าวงการบันเทิงครั้งแรกโดยการเล่นภาพยนตร์ทางโทรทัศน์ เมื่อตอนยังหนุ่มอายุได้ 20 ปี เรื่อง “โกมินทร์ กุมาร” โดยเล่นเป็นยอดตัวเอกของเรื่องคือ โกมินทร์ กุมาร แต่ผลงานที่สร้างชื่อเสียง ซึ่งนับว่าเป็นผลงานที่สองในวงการบันเทิง คือภาพยนตร์เรื่อง “วัยอลวน” เมื่ออายุ 21 ปี ในบท “ ตั้ม ” และได้มีผลงานการแสดงตามมาอย่างต่อเนื่อง เช่น ภาพยนตร์เรื่อง รักอุตลุด(2520), ชื่นชุลมุน(2521), จำเลยรัก(2521), คู่รัก(2521), หงส์ทอง(2520), สุภาพบุรุษทรนง(2528), ช่างร้ายเหลือ (2527), ผู้ใหญ่ลีกับนางมา(2528) ฯลฯ ในขณะเดียวกันก็ได้สร้างภาพยนตร์ของตัวเองออกมาประมาณ 11-12 เรื่องด้วยกัน ผลงานจอแก้ว อย่างเช่นเรื่อง ยุทธการปราบเมียน้อย ซึ่งเป็นละครเรื่องแรกที่สร้าง กำกับ และแสดงด้วยตนเอง ตามด้วย โนราห์, ลูกไม้ไกลต้น, ตลาดน้ำดำเนินรัก, รักในม่านเมฆ และอีกมากมาย อีกทั้งยังเป็นพิธีกรควบตำแหน่งครูใหญ่ของรายการเรียลลิตี้ เดอะเทรนเนอร์ ปั้นฝันสนั่นเวที ไพโรจน์เคยมีผลงานอัลบั้มเพลงมาแล้วครั้งหนึ่ง โดยใช้ชื่อว่า "ผมทำเพื่อความมันส์ครับพี่" ในช่วงที่เพิ่งมีชื่อเสียงจากงานแสดงภาพยนตร์ ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับ ชญานิศวร์ พิริยศุภกาญจน์ ไพโรจน์มีบุตร 3 คน น..จิตรลดา สังวริบุตร นายจิรายุษ สังวริบุตร นายรวิกร สังวริบุตร.
มนฤดี ยมาภัยและไพโรจน์ สังวริบุตร · อรัญญา นามวงศ์และไพโรจน์ สังวริบุตร ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ มนฤดี ยมาภัยและอรัญญา นามวงศ์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง มนฤดี ยมาภัยและอรัญญา นามวงศ์
การเปรียบเทียบระหว่าง มนฤดี ยมาภัยและอรัญญา นามวงศ์
มนฤดี ยมาภัย มี 52 ความสัมพันธ์ขณะที่ อรัญญา นามวงศ์ มี 64 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 4.31% = 5 / (52 + 64)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มนฤดี ยมาภัยและอรัญญา นามวงศ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: