โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาวะน้ำตาลสูงในเลือด

ดัชนี ภาวะน้ำตาลสูงในเลือด

วะน้ำตาลสูงในเลือด หรือภาวะกลูโคสสูงในเลือด (hyperglycemia หรือ hyperglycaemia) หมายถึง ภาวะที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า 11.1 มิลลิโมลต่อลิตร (200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) แต่มักไม่ปรากฏอาการจนค่าสูงกว่า 15–20 มิลลิโมลต่อลิตร (~250–300 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) ผู้รับการทดลองที่มีพิสัยต้องกันระหว่าง ~5.6 ถึง ~7 มิลลิโมลต่อเดซิลิตร (100–126 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) ตามแนวทางของสมาคมเบาหวานอเมริกา ถือว่ามีภาวะน้ำตาลสูงในเลือดเล็กน้อย ส่วนหากมีค่าสูงกว่า 7 มิลลิโมลต่อเดซิลิตร (126 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) โดยทั่วไปถือว่าเป็นเบาหวาน สำหรับเบาหวาน ระดับน้ำตาลที่ถือว่ามีภาวะน้ำตาลสูงเกินไปในเลือดแตกต่างกันได้ตามบุคคล ส่วนใหญ่เนื่องจากขีดแบ่งกลูโคสของไต และความทนทานต่อกลูโคสโดยรวม แต่โดยเฉลี่ย ระดับเรื้อรังสูงกว่า 10–12 มิลลิโมลต่อลิตร (180–216 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) จะก่อให้เกิดความเสียหายต่ออวัยวะที่สังเกตได้ตามเวลา หมวดหมู่:ความผิดปกติของตับอ่อนไร้ท่อ หมวดหมู่:ภาวะตรวจพบของเลือดทางคลินิกและห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติ หมวดหมู่:ความผิดปกติที่ทำให้เกิดการชัก.

4 ความสัมพันธ์: กลูโคสวิทยาต่อมไร้ท่อน้ำตาลในเลือดเบาหวาน

กลูโคส

กลูโคส (อังกฤษ: Glucose; ย่อ: Glc) เป็นน้ำตาลประเภทโมโนแซคคาไรด์ (monosaccharide) มีความสำคัญที่สุดในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตด้วยกัน เซลล์ของสิ่งมีชีวิติทุกชนิดใช้กลูโคสเป็นแหล่งพลังงาน และสารเผาผลาญขั้นกลาง (metabolic intermediate) กลูโคสเป็นหนึ่งในผลผลิตหลักของการสังเคราะห์แสง (photosynthesis) และเป็นแหล่งพลังงานสำหรับการหายใจของเซลล์ (cellular respiration) โครงสร้างโมเลกุลตามธรรมชาติของมัน (D-glucose) จะอยู่ในรูปที่เรียกว่า เดกซ์โตรส (dextrose) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมอาหาร.

ใหม่!!: ภาวะน้ำตาลสูงในเลือดและกลูโคส · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาต่อมไร้ท่อ

วิทยาต่อมไร้ท่อ (endocrinology; มาจากภาษากรีกโบราณ ἔνδον, endon, "ภายใน"; κρίνω, krīnō, "แยก"; และ -λογία, -logia) เป็นสาขาหนึ่งของชีววิทยาและแพทยศาสตร์ว่าด้วยระบบต่อมไร้ท่อ โรคของระบบต่อมไร้ท่อ และการหลั่งสิ่งที่เรียก ฮอร์โมน นอกจากนี้ยังศึกษาบูรณาการและการเจริญ การเพิ่มจำนวน การเติบโตและการเปลี่ยนไปทำหน้าที่เฉพาะ (differentiation) และกัมมันตภาพทางจิตวิทยาหรือพฤติกรรมของเมแทบอลิซึม การเจริญเติบโต การทำหน้าที่ของเนื้อเยื่อ การหลับ การย่อย การหายใจ การขับถ่าย อารมณ์ ความเครียด การหลั่งน้ำนม การเคลื่อนไหว การสืบพันธุ์และการรับรู้สัมผัสที่เกิดจากฮอร์โมน สาขาเฉพาะทางได้แก่ วิทยาต่อมไร้ท่อพฤติกรรมและวิทยาต่อมไร้ท่อเปรียบเทียบ ระบบต่อมไร้ท่อประกอบด้วยหลายต่อมในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายซึ่งหลั่งฮอร์โมนเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรงโดยไม่ผ่านระบบท่อ ฮอร์โมนมีหน้าที่และกลไกการออกฤทธิ์หลายอย่าง ฮอร์โมนชนิดหนึ่งมีผลหลายอย่างต่ออวัยวะเป้าหมาย และในทางกลับกัน อวัยวะเป้ามายหนึ่งอาจได้รับผลจากฮอร์โมนมากกว่าหนึ่งชนิด หมวดหมู่:ระบบต่อมไร้ท่อ.

ใหม่!!: ภาวะน้ำตาลสูงในเลือดและวิทยาต่อมไร้ท่อ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตาลในเลือด

วามเข้มข้นของน้ำตาลในเลือด หรือ ระดับกลูโคสในเลือด คือ จำนวนกลูโคส (น้ำตาล) ที่มีอยู่ในเลือดของมนุษย์หรือสัตว์ โดยปกติในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม, ร่างกายจะควบคุมระดับกลูโคสในเลือดให้อยู่ที่ 3.6 - 5.8 mM (mmol/L, เช่น millimoles/liter) หรือ 64.8 - 104.4 mg/dL.

ใหม่!!: ภาวะน้ำตาลสูงในเลือดและน้ำตาลในเลือด · ดูเพิ่มเติม »

เบาหวาน

รคเบาหวาน (Diabetes mellitus (DM) หรือทั่วไปว่า Diabetes) เป็นกลุ่มโรคเกี่ยวกับการเผาผลาญอาหารซึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน น้ำตาลในเลือดสูงก่อให้เกิดอาการปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำและความหิวเพิ่มขึ้น หากไม่ได้รับการรักษา เบาหวานอาจก่อให้เกิดอาการแทรกซ้อนจำนวนมาก ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน ได้แก่ ภาวะเลือดเป็นกรดจากคีโตนจากเบาหวาน (diabetic ketoacidosis) และโคม่าเนื่องจากออสโมลาร์สูงที่ไม่ได้เกิดจากคีโตน (nonketotic hyperosmolar coma) ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวที่ร้ายแรงรวมถึงโรคหัวใจ, โรคหลอดเลือดสมอง, ไตวาย, แผลที่เท้าและความเสียหายต่อตา เบาหวานเกิดจากตับอ่อนผลิตอินซูลินไม่เพียงพอหรือเซลล์ร่างกายไม่ตอบสนองอย่างเหมาะสมต่ออินซูลินที่ผลิตอย่างใดอย่างหนึ่ง น้ำตาลที่ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายจะถูกนำไปเปลี่ยนเป็นพลังงานโดยการควบคุมของอินซูลิน ในเมื่ออินซูลินมีปัญหา ทำให้ไม่สามารถดึงน้ำตาลไปใช้ได้ จึงมีน้ำตาลตกค้างในกระแสเลือดมาก ไตจึงขับของเสียออกมาทางปัสสาวะ อันเป็นเหตุให้ปัสสาวะหวานนั้นเอง เบาหวานมีสามชนิดหลัก ได้แก.

ใหม่!!: ภาวะน้ำตาลสูงในเลือดและเบาหวาน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hyperglycemia

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »