โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ

ดัชนี ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ

ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ (ค.ศ. 966 - ค.ศ. 1028) หรือ มิชินะงะแห่งฟุชิวะระ ดำรงตำแหน่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนสมเด็จพระจักรพรรดิ (เซ็สโซ และ คัมปะกุ) ในยุคเฮอัง ถือว่าเป็นผู้สำเร็จราชการที่มีอำนาจมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น เป็นบิดาของจักรพรรดินีถึงสามพระองค์และเป็นพระอัยกา (ตา) ของจักรพรรดิสามพระองค์เช่นกัน.

25 ความสัมพันธ์: ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะฟุจิวะระ โนะ อิชิฟุจิวะระ โนะ คะเนะอิเอะฟุจิวะระ โนะ คิชิฟุจิวะระ โนะ โชชิฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิฟุจิวะระ โนะ โคะเระชิกะฟุจิวะระ โนะ เทชิฟุจิวะระ โนะ เซ็งชิมุระซะกิ ชิกิบุยุคเฮอังจักรพรรดิชิระกะวะจักรพรรดิอิชิโจจักรพรรดิคะซังจักรพรรดิโกะ-อิชิโจจักรพรรดิโกะ-ซุซะกุจักรพรรดิโกะ-เรเซจักรพรรดิเรเซจักรพรรดิเอ็งยูตระกูลฟูจิวาระตำนานเก็นจิเกาะคีวชูเฮอังเกียวเคียวโตะเซ็สโซและคัมปะกุ

ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ

ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ (พ.ศ. 1496 – 12 พฤษภาคม พ.ศ. 1538) ขุนนางผู้ใหญ่ใน ยุคเฮอัง ซึ่งดำรงตำแหน่ง เซ็สโซและคัมปะกุ ในรัชสมัย จักรพรรดิอิชิโจ นอกจากนี้เขายังเป็นพระสัสสุระ (พ่อตา) ของจักรพรรดิอิชิโจอีกด้วยเนื่องจากมิชิตะกะได้ถวายตัว ฟุจิวะระ โนะ เทชิ ผู้เป็นธิดาคนโตให้เข้ามาเป็นจักรพรรดินีทำให้ความสัมพันธ์ของราชวงศ์และ ตระกูลฟุจิวะระ แน่นแฟ้นขึ้น แต่การกระทำครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้กับ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ ผู้เป็นน้องชายที่ต้องการส่งบุตรสาวให้มาเป็นจักรพรรดินีและชายาขององค์จักรพรรดิเช่นกัน หมวดหมู่:ขุนนางญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง หมวดหมู่:ตระกูลฟุจิวะระ.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ อิชิ

ฟุจิวะระ โนะ อิชิ (2 กุมภาพันธ์ 1543 – 28 กันยายน 1579) จักรพรรดินีในจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นโดยพระองค์เป็น ชูงู หรือจักรพรรดินีใน จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ พระองค์เป็นธิดาคนที่ 3 ใน ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ พระอัยกา (ตา) ขององค์จักรพรร.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและฟุจิวะระ โนะ อิชิ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ คะเนะอิเอะ

ฟุจิวะระ โนะ คะเนะอิเอะ (Fujiwara no Kaneie; 1472–26 กรกฎาคม 1533) ขุนนางผู้ใหญ่แห่ง ยุคเฮอัง และเป็นบิดาของ ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ และ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะง.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและฟุจิวะระ โนะ คะเนะอิเอะ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ คิชิ

ฟุจิวะระ โนะ คิชิ (1795 – 26 พฤษภาคม 1318) จักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นโดยเป็นจักรพรรดินีลำดับที่ 2 หรือ ชูงู (Chūgū) ใน จักรพรรดิคะเมะยะม.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและฟุจิวะระ โนะ คิชิ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ โชชิ

ฟุจิวะระ โนะ โชชิ (1761 – 9 มีนาคม 1818) จักรพรรดินีแห่งจักรพรรดิญี่ปุ่นโดยเป็นจักรพรรดินีหรือ ชูงู ใน จักรพรรดิโกะ-โฮะริกะว.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและฟุจิวะระ โนะ โชชิ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ

ลาหงส์ในวัดเบียวโด ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ (1535 – 2 มีนาคม 1617) ขุนนางที่เรืองอำนาจใน ยุคเฮอัง เป็นบุตรชายของ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ ที่เกิดแต่ มินะโมะโตะ โนะ ริงชิ ได้สืบทอดตำแหน่ง เซ็สโซ ต่อจากบิดาเมื่อ..

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ โคะเระชิกะ

ฟุจิวะระ โนะ โคะเระชิกะ (974 – 14 กุมภาพันธ์ 1010) บุตรชายคนที่ 2 ของ เซ็สโซ ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ เป็น คุเงียว หรือชนชั้นสูงและขุนนางในช่วง ยุคเฮอัง มารดาของเขาคือ ทะกะชินะ โนะ ทะกะโกะ หมวดหมู่:ขุนนางญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง หมวดหมู่:ตระกูลฟุจิวะระ.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและฟุจิวะระ โนะ โคะเระชิกะ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ เทชิ

ฟุจิวะระ โนะ เทชิ (Fujiwara no Teishi, พ.ศ. 1520 – 13 มกราคม พ.ศ. 1544) จักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น โดยพระนางเป็นธิดาคนโตของ ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ ขุนนางผู้เรืองอำนาจในราชสำนักขณะนั้นต่อมามิชิตะกะได้ถวายตัวบุตรสาวคนโตให้เข้ามาเป็นจักรพรรดินีใน จักรพรรดิอิชิโจ ซึ่งพระนางได้มีพระประสูติกาลพระโอรส-ธิดาให้จักรพรรดิอิชิโจถึง 3 พระองค์ หมวดหมู่:จักรพรรดินีญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและฟุจิวะระ โนะ เทชิ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ เซ็งชิ

ฟุจิวะระ โนะ เซ็งชิ (1505 – 7 กุมภาพันธ์ 1545) หรือ ฮิงะชิซังโจ-อิง พระสนมแห่งจักรพรรดิญี่ปุ่นโดยเป็นพระสนมใน จักรพรรดิเอ็งยู จักรพรรดิองค์ที่ 64 เป็นพระราชมารดาใน จักรพรรดิอิชิโจ จักรพรรดิองค์ที่ 66 และเป็นพระอัยยิกา (ย่า) ใน จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ จักรพรรดิองค์ที่ 68 และ จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 69.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและฟุจิวะระ โนะ เซ็งชิ · ดูเพิ่มเติม »

มุระซะกิ ชิกิบุ

มุระซะกิ ชิกิบุ มุระซะกิ ชิกิบุ (ค.ศ. 973 - ค.ศ. 1014 หรือ 1025) เป็นกวีชาวญี่ปุ่น เป็นผู้สร้างผลงาน ตำนานเก็นจิ เธอเป็นหญิงในราชสำนักสมัยเฮอัง เกิดในปี เทนเอน ที่ 1(Ten-en 1) หรือราว.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและมุระซะกิ ชิกิบุ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและยุคเฮอัง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิชิระกะวะ

ักรพรรดิชิระกะวะ (Emperor Shirakawa) จักรพรรดิองค์ที่ 72 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ. 1073 - ค.ศ. 1087.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและจักรพรรดิชิระกะวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอิชิโจ

ักรพรรดิอิชิโจ (Emperor Ichijō) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 66 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ในรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิอิชิโจหรือเจ้าชายคะเนะฮิโตะเป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิเอ็งยู จักรพรรดิองค์ที่ 64 ขึ้นเป็นรัชทายาทและผู้สืบราชบัลลังก์ในรัชสมัย จักรพรรดิคะซัง จักรพรรดิองค์ที่ 65 พระราชโอรสใน จักรพรรดิเรเซ จักรพรรดิองค์ที่ 63 ผู้เป็นพระภาดา (ลูกพี่ลูกน้อง) เมื่อ ค.ศ. 984 หลังจากนั้นอีก 2 ปีคือในวันที่ 23 เดือน 6 ปี คันนา ที่ 1 ตรงกับวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 986 จักรพรรดิคะซังได้สละราชบัลลังก์ให้กับเจ้าชายคะเนะฮิโตะพระชนมายุเพียง 6 พรรษาขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อมาเป็น จักรพรรดิอิชิโจ วันรุ่งขึ้นคือวันที่ 24 เดือน 6 ปี คันนา ที่ 1 ตรงกับวันที่ 1 สิงหาคม ได้มีการประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกจักรพรรดิอิชิโจที่ พระราชวังหลวงเฮอัง ในรัชสมัยของจักรพรรดิอิชิโจได้มีการแบ่งแยกตำแหน่งจักรพรรดินีออกเป็น 2 ตำแหน่งอย่างชัดเจนคือ โคโง (Kōgō) หรือจักรพรรดินีองค์ที่ 1 และ ชูงู (Chūgū) หรือจักรพรรดินีองค์ที่ 2 สืบเนื่องจากจักรพรรดิอิชิโจมีจักรพรรดินีอยู่ก่อนแล้วคือ ฟุจิวะระ โนะ เทะชิ บุตรสาวของ ฟุจิวะระ โนะ มิชิตะกะ แต่ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ ผู้เป็นน้องชายของมิชิตะกะต้องการให้บุตรสาวของตนเองเป็นจักรพรรดินีเช่นกันจึงได้ถวายตัวบุตรสาวคนโตคือ ฟุจิวะระ โนะ โชชิ เข้ามาเป็นจักรพรรดินีและจักรพรรดินีโชชิได้มีพระประสูติกาลพระโอรสให้กับจักรพรรดิอิชิโจถึง 2 พระองค์คือ เจ้าชายอะสึฮิระ ซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ จักรพรรดิองค์ที่ 68 ที่ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1008 และ เจ้าชายอะสึนะงะ ซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ จักรพรรดิองค์ที่ 69 ที่ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1009 จักรพรรดิอิชิโจสละราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 13 เดือน 6 ปี คันโค ที่ 8 ตรงกับวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1011 หรือ 1 วันหลังจากเฉลิมพระชนมายุครบ 31 พรรษาให้กับ เจ้าชายอิยะซะดะ ผู้เป็นพระภาดาและเป็นที่รัชทายาทขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อมาเป็น จักรพรรดิซังโจ หลังจากครองสิริราชสมบัติได้ 24 ปีแต่หลังจากนั้นอีก 9 วันอดีตจักรพรรดิอิชิโจก็เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 22 เดือน 6 ปี คันโค ที่ 8 ตรงกับวันที่ 25 กรกฎาคม ขณะพระชนมายุเพียง 31 พรรษ.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและจักรพรรดิอิชิโจ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคะซัง

ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดิคะซังในชุดนักบวช จักรพรรดิคะซัง (Emperor Kazan) จักรพรรดิองค์ที่ 65 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น เจ้าชายโมะโระซะดะเสด็จขึ้นสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศเป็น จักรพรรดิคะซัง เมื่อวันที่ 27 เดือน 8 ปี เอะอิคัง ที่ 2 ตรงกับวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 984 ขณะพระชนมายุเพียง 15 พรรษาภายหลังจากการสละราชบัลลังก์ของ จักรพรรดิเอ็งยู ผู้เป็นพระปิตุลา (อา) โดยได้มีการจัดพระราชพิธีราชาภิเษกขึ้นที่ พระราชวังหลวงเฮอัง เมื่อวันที่ 10 เดือน 10 ปี เอะอิคัง ที่ 2 ตรงกับวันที่ 5 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน หลังจากครองสิริราชสมบัติได้เพียง 1 ปีเศษจักรพรรดิคะซังก็ได้สละราชบัลลังก์ที่ วัดกันเนียว เมื่อวันที่ 23 เดือน 6 ปี คันนา ที่ 1 ตรงกับวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 986 ให้กับ เจ้าชายอิยะซะดะ ผู้เป็นพระภาดา (ลูกพี่ลูกน้อง) พระราชโอรสใน จักรพรรดิเอ็งยู ขึ้นเป็น จักรพรรดิอิชิโจ และออกผนวชเป็นพระภิกษุมีฉายาทางธรรมว่า เนียวกะกุ ทำให้อดีตจักรพรรดิคะซังได้เป็น ไดโจโฮโอ (มหาธรรมราชา) อดีตจักรพรรดิคะซังหรือท่านเนียวกะกุสวรรคตเมื่อวันที่ 8 เดือน 2 ปี คันโค ที่ 5 ตรงกับวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1008 ขณะพระชนมายุเพียง 39 พรรษ.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและจักรพรรดิคะซัง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ

จักรพรรดิโกะ-อิชิโจ (Emperor Go-Ichijō) จักรพรรดิองค์ที่ 68 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยพระนามของจักรพรรดิโกะ-อิชิโจเป็นการนำพระนามของ จักรพรรดิอิชิโจ จักรพรรดิองค์ที่ 66 ที่ปกครองในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 11 ผู้เป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิโกะ-อิชิโจมาใช้โดยเมื่อใส่คำว่า โกะ เข้าไปหน้าพระนามทำให้พระนามของจักรพรรดิโกะ-อิชิโจมีความหมายว่า จักรพรรดิอิชิโจที่สอง หรือ จักรพรรดิอิชิโจยุคหลัง จักรพรรดิโกะ-อิชิโจมีพระนามเดิมว่า เจ้าชายอัตสึฮิระ (Imperial Prince Atsuhira) ได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อจาก จักรพรรดิซังโจ ที่สละราชบัลลังก์เนื่องจากพระเนตรมืดบอดเมื่อวันที่ 29 เดือน 1 ปี โชวะ ที่ 1 ตรงกับวันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 1016 เมื่อมีพระชนมายุเพียง 7 พรรษาหลังจากนั้นจึงได้มีการประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกจักรพรรดิโกะ-อิชิโจที่ พระราชวังหลวงเฮอัง เมื่อวันที่ 7 เดือน 2 ปี โชวะ ที่ 1 ตรงกับวันที่ 18 มีนาคม ปีเดียวกัน โดยอดีตจักรพรรดิซังโจได้เสนอเงื่อนไขต่อ ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะ ผู้เป็นพระอัยกา (ตา) ของจักรพรรดิโกะ-อิชิโจซึ่งดำรงตำแหน่ง เซ็สโซ ว่าให้สถาปนา เจ้าชายอัตสึอะกิระ พระราชโอรสของพระองค์ให้เป็นรัชทายาทแต่หลังจากที่อดีตจักรพรรดิซังโจสวรรคตลงเมื่อวันที่ 9 เดือน 5 ปี คันนิง ที่ 1 ตรงกับวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1017 มิชินะงะได้ทำการปลดเจ้าชายอัตสึอะกิระออกจากตำแหน่งรัชทายาทและสถาปนา เจ้าชายอัตสึนะงะ พระอนุชาร่วมพระราชมารดาเดียวกับจักรพรรดิโกะ-อิชิโจขึ้นเป็นรัชทายาทแทนหลังจากนั้นไม่นานมิชินะงะได้สละตำแหน่งเซ็สโซให้กับบุตรชายคนโตคือ ฟุจิวะระ โนะ โยะริมิชิ และขึ้นไปดำรงตำแหน่ง ไดโจไดจิง เมื่อเดือน 12 ปี คันนิง ที่ 1 ตรงกับเดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1017 ในปีต่อมาคือ ค.ศ. 1018 มิชินะงะได้ถวายตัวบุตรสาวคนที่ 3 คือ ฟุจิวะระ โนะ อิชิ ผู้เป็นพระมาตุจฉา (น้า) แท้ ๆ ขององค์จักรพรรดิเข้ามาเป็นจักรพรรดินี (chūgū) องค์เดียวในจักรพรรดิโกะ-อิชิโจซึ่งจักรพรรดินีอิชิมีพระประสูติกาลพระธิดาถึง 2 พระองค์คือ เจ้าหญิงโชชิ และ เจ้าหญิงเคชิ จักรพรรดิโกะ-อิชิโจสวรรคตเมื่อวันที่ 17 เดือน 4 ปี โชเง็ง ที่ 9 ตรงกับวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1036 ที่ พระราชวังหลวงเฮอัง ขณะมีพระชนมายุเพียง 27 พรรษา หมวดหมู่:จักรพรรดิญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและจักรพรรดิโกะ-อิชิโจ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ

ักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ (Emperor Go-Suzaku) จักรพรรดิองค์ที่ 69 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและจักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-เรเซ

ักรพรรดิโกะ-เรเซ (Emperor Go-Reizei) จักรพรรดิองค์ที่ 70 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นImperial Household Agency (Kunaichō): ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น พระนามของจักรพรรดิโกะ-เรเซนำมาจากพระนามของจักรพรรดิเรเซจักรพรรดิองค์ที่ 63 ในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 10 โดยเมื่อใส่คำว่าโกะที่แปลว่า ที่สอง เข้าไปหน้าพระนามทำให้พระนามของจักรพรรดิโกะ-เรเซมีความหมายว่า จักรพรรดิเรเซที่สอง หรือ จักรพรรดิเรเซยุคหลัง ก่อนจะขึ้นสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศจักรพรรดิโกะ-เรเซมีพระนามเดิมว่า เจ้าชายชิกะฮิโตะ ประสูติเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและจักรพรรดิโกะ-เรเซ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเรเซ

ักรพรรดิเรเซ (Emperor Reizei) จักรพรรดิองค์ที่ 63 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิเรเซทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ. 967 - ค.ศ. 969 ต่อมาพระนามของพระองค์ได้ถูกนำไปใช้เป็นพระนามของ จักรพรรดิโกะ-เรเซ จักรพรรดิองค์ที่ 70 ในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 11.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและจักรพรรดิเรเซ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเอ็งยู

ักรพรรดิเอ็งยู (Emperor En'yū) จักรพรรดิองค์ที่ 64 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิเอ็งยูทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ. 969 - ค.ศ. 984 พระนามของพระองค์ต่อมาได้ถูกนำไปใช้เป็นพระนามของ จักรพรรดิโกะ-เอ็งยู จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิพระองค์ที่ 5 จาก ราชสำนักเหนือ ใน ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 14.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและจักรพรรดิเอ็งยู · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลฟูจิวาระ

ฟูจิวาระ คามาตาริ ต้นตระกูลฟูจิวาระ ฟูจิวาระ เป็นกลุ่มขุนนางที่เคยมีอำนาจและอิทธิพลอย่างยิ่งใหญ่ต่อราชสำนักญี่ปุ่น ในยุคเฮอัง โดย ฟูจิวาระ โนะ โมโตสึเนะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นคัมปากุ ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางที่ทรงอิทธิพลที่สุด และคนของฟุจิวาระก็เข้ายึดครองอำนาจในราชสำนัก ทำให้กลายเป็นตระกูลทหารที่มีอำนาจสูงสุด ยาวนานกว่า 500 ปี โดยฟูจิวาระ ได้ผูกขาดตำแหน่งคัมปากุ เซ็สโช และไดโจไดจิงตลอด 500 ปี และยังให้บุตรสาวของตระกูลอภิเษกสมรสกับจักรพรรดิ เพื่อให้เชื้อสายของตนเองเป็นจักรพรรดิอีกด้วย อย่างไรก็ตามจักรพรรดิเชื้อสายฟูจิวาระได้หมดไปในภายหลัง พร้อม ๆ กับการล่มสลายของตระกูลฟูจิวาระที่ครองอำนาจกว่า 500 ปี ตระกูลฟูจิวาระล่มสลายลงไปปี..

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและตระกูลฟูจิวาระ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานเก็นจิ

มุราซากิ ชิคิบุ ตำนานเก็นจิ (源氏物語; Genji Monogatari) เป็นงานเขียนของ มุราซากิ ชิคิบุ นางข้าหลวงในราชสำนักญี่ปุ่นสมัยเฮอัน หรือ เฮอันเคียว ซึ่งมีชิวิตอยู่ราวต้นศตวรรษที่ 11 ว่ากันว่า นี่คือนวนิยายที่เก่าแก่ที่สุดเรื่องหนึ่งของโลก และมีการจัดกิจกรรมฉลองครบรอบ 1000 ปี ในปี 2008 ที่ประเทศญี่ปุ่น โดยมีหลักฐานสนับสนุนจากเนิ้อความใน มุราซากิ ชิคิบุ นิกกิ (Murasaki Shikibu Nikki บันทึกของมุราซากิ ชิคิบุ) ซึ่งเธอได้เขียนบันทึกนั้นในวันที่ 1 เดือนพฤศจิกายน.1008 ว่า ฟุจิวะระ โนะ คินโตะ (Fujiwara no Kinto) นักปราชญ์ราชบัณฑิตชั้นแนวหน้าในยุคนั้น ชื่นชมในงานเขียนของเธอเป็นอันมาก และบันทึกนี้ยืนยันกับเราให้ทราบว่า เธอเขียน บท วะกะมุราซากิ จบในเวลานั้นเอง (1 พฤศจิกายน ค ศ.1008) บางข้อมูลอ้างว่า มุราซากิ ชิคิบุ เริ่มเขียน ตำนานเก็นจิที่วัดอิชิยะมะเดระ ในคืนวันจันทร์เต็มดวงของวันที่ 15 เดือนสิงหาคม ปี.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและตำนานเก็นจิ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคีวชู

ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและเกาะคีวชู · ดูเพิ่มเติม »

เฮอังเกียว

''Heian-kyō'' เฮอังเคียว หรือ เฮอังเกียว คืออดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 1337(ค.ศ. 794) โดยสมเด็จพระจักรพรรดิคังมุ ในจังหวัดเคียวโตะ หรือ เกียวโต ประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน มีฐานะเป็นเมืองหลวงของประเทศนานถึง 1074 ปี ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นโตเกียว ในปี พ.ศ. 2411.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและเฮอังเกียว · ดูเพิ่มเติม »

เคียวโตะ

ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: ฟุจิวะระ โนะ มิชินะงะและเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ฟุจิวะระ โนะ มิชินากะฟุจิวะระ โนะ มิจินะงะ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »