โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พรินซ์และยูก็อตเดอะลุค

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พรินซ์และยูก็อตเดอะลุค

พรินซ์ vs. ยูก็อตเดอะลุค

รินซ์ โรเจอร์ส เนลสัน (Prince Rogers Nelson) (7 มิถุนายน ค.ศ. 1958 - 21 เมษายน ค.ศ. 2016) เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์เพลงและนักแสดง พรินซ์เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายสำหรับผสมผสานผลงาน การแสดงบนเวทีที่มีสีสันและช่วงเสียงร้องที่สูง เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้บุกเบิกเสียงร้องแบบ “Minneapolis sound” ผลงานของเขามีความหลากหลายทั้ง ฟังก์ ร็อค อาร์แอนบี โซล ไซคีเดลิค และป็อป ผลงานในช่วงแรกของเขาจะเป็นเพลง อาร์แอนด์บี ดนตรีโซลและฟังก์ ต่อมาเขาผสมผสานแนวเพลงอื่นเข้ามาด้วยไม่ว่าจะเป็น ป็อป, ร็อก, แจ๊ส, นิวเวฟ, ไซเคเดเลีย และฮิปฮอป เขาได้รับอิทธิพลด้านดนตรีจาก สลาย สโตน, ไมล์ส เดวิส, จิมมี เฮนดริกซ์, โจนี มิตเชลล์, เจมส์ บราวน์, พาร์ไลเมนต์-ฟังก์คาเดลิก และคาร์ลอส ซานตานา เอกลักษณ์อันเด่นชัดของผลงานเขาในช่วงต้นถึงกลางทศวรรษ 1980 เช่น การใช้ดรัมแมชชีนเรียบเรียงเพลงแบบเสียงเครื่องจักรโปร่ง ๆ และการใช้ท่อนริฟฟ์เครื่องสังเคราะห์เสียง ในลักษณะดนตรีอาร์แอนด์บี, ฟังก์ และดนตรีโซล ที่เรียกว่า "ดนตรีมินนิเอโพลิส" พรินซ์มียอดขายมากกว่า 100 ล้านชุด ทำให้เขาถือเป็นหนึ่งในศิลปินที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาล ด้วยผลงานมากมาย มีเพลงกว่า 100 เพลง ทั้งที่เขาร้องเองและของศิลปินอื่น เขาได้รับรางวัลแกรมมี่มาแล้ว 7 ครั้ง, 1 รางวัลลูกโลกทองคำและ 1 รางวัลออสการ์ เขายังมีชื่ออยู่ในร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟม ในปี 2004 นิตยสารโรลลิงสโตน จัดอันดับพรินซ์อยู่ที่อันดับ 28 ใน 100 อันดับของศิลปินที่ยอดเยี่ยมที่สุดตลอดกาล พริ้นเสียชีวิตวันที่ 21 เมษายน.ศ 2016 ที่บ้าน/สตูดิโอ Paisley Park ในรัฐมินนีโซต สหรัฐอเมริกา หลังจากเกิดโรคคล้ายไข้หวัดใหญ่ อายุ 57 ปี. ูก็อตเดอะลุค (U Got the Look) เป็นเพลงของพรินซ์ จากอัลบั้มในปี ค.ศ. 1987 Sign “☮” the Times ออกจำหน่ายในวันที่ 14 กรฏฎาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พรินซ์และยูก็อตเดอะลุค

พรินซ์และยูก็อตเดอะลุค มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟังก์ร็อกป็อป

ฟังก์

ฟังก์ (Funk) เป็นแนวเพลงชนิดหนึ่งเกิดขึ้นในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อนักดนตรีชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ได้รวมเพลงแนวโซล เข้ากับโซลแจ๊ส และอาร์แอนด์บี ให้มีจังหวะ สามารถเต้นรำได้ เกิดแนวเพลงชนิดใหม่ ฟังก์ได้ลดความเด่นของเมโลดี้และความกลมกลืนลง และนำจังหวะสนุกสนานเพิ่มขึ้นด้วยเบสอิเล็กทรอนิกและกลองให้ชัดขึ้น ไม่เหมือนกับเพลงอาร์แอนด์บีหรือโซล ที่มีการเปลี่ยนคอร์ดหลายครั้ง เพลงฟังก์มักจะมีคอร์ดเดียว ฟังก์ประกอบด้วยจังหวะของเครื่องดนตรีอย่าง กีตาร์ไฟฟ้า เบสไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน และกลอง เล่นในจังหวะที่เกาะเกี่ยวกัน วงฟังก์มักจะมีเครื่องเป่าอยู่ด้วย อย่าง แซกโซโฟน ทรัมเป็ต หรือในบางครั้งก็มี ทรอมโบน ผู้มีอิทธิพลต่อดนตรีฟังก์ เช่น เจมส์ บราวน์,สลาย แอนด์ เดอะ แฟมิลี สโตน, จอร์จ คลินตัน แอนด์ พาร์ไลเมน-ฟังก์คาเดลิก,เคอร์ติส เมฟิลด์, เดอะ เมเตอร์ส,เดอะ ฟังก์ บราเตอร์ส, บูทซี คอลลินส์ และ พรินซ์ วงดนตรีที่เป็นที่รู้จักในทศวรรษที่ 1970 อย่าง เอิร์ธ, วินด์แอนด์ไฟร์,ทาวเวอร์ ออฟ พาวเวอร์, คอมโมดอร์ส และคูลแอนด์เดอะแก๊ง ที่โด่งดังหลายๆ วง ก็เล่นเพลงในแนวดิสโก้และโซลด้วย ดนตรีฟังก์ได้มีการพัฒนาอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ 1970 ในช่วงที่ดนตรีดิสโก้โด่งดัง มีความนิยมในการใช้ท่อมแซมเปิ้ลของดนตรีฟังก์ในดนตรีฮิปฮอป และฟังก์ยังมีอิทธิพลต่อแนวดนตรี โก-โก ฟังก์อย่างมีอิทธิพลต่อเพลงแนวนิวเวฟและโพสต์พังก์บ้าง.

พรินซ์และฟังก์ · ฟังก์และยูก็อตเดอะลุค · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

พรินซ์และร็อก · ยูก็อตเดอะลุคและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ป็อปและพรินซ์ · ป็อปและยูก็อตเดอะลุค · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พรินซ์และยูก็อตเดอะลุค

พรินซ์ มี 53 ความสัมพันธ์ขณะที่ ยูก็อตเดอะลุค มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 5.00% = 3 / (53 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พรินซ์และยูก็อตเดอะลุค หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »