เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษและสภาวิททัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษและสภาวิททัน

พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ vs. สภาวิททัน

มเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิง (Anglo-Saxon period to refer to male members of the royal family) (ราว ค.ศ. 1051 – ค.ศ. 1126) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิงเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 1051 ในประเทศฮังการีปัจจุบัน เป็นพระราชโอรสของเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัย ผู้เป็นรัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ และ อากาธา พระเจ้าเอ็ดการ์ เป็นพระนัดดาของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ หรือ “Ironside” ทรงราชย์ระหว่างวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1066 จนถึงวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1066 พระเจ้าเอ็ดการ์ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนามว่า “เอ็ดการ์ผู้นอกกฎหมาย” (Edgar the Outlaw) หรือ “เอ็ดการ์ที่ 2” ทรงเป็นกษัตริย์เวสต์แซ็กซอนองค์สุดท้ายของราชวงศ์เซอร์ดิค ทรงได้รับการประกาศให้เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษแต่มิได้ทรงรับการสวมมงกุฏ เมื่อเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัยสิ้นพระชนม์เมื่อปี ค.ศ. 1057 เอ็ดการ์ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นรัชทายาทโดยนิตินัยโดยพระอัยกา สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ แต่เอ็ดการ์ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าที่จะครองราชสมบัติและสามารถป้องกันประเทศที่มึเค้าการรุกรานของฝรั่งเศสโดย ดยุคแห่งนอร์ม็องดี ดังนั้นเมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตสภาวิททันจึงเลือก ฮาโรลด์ กอดวินสัน ผู้เป็นน้องเขยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินต่อจากพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเป็นสมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน เมื่อพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันเสด็จสวรรคตที่ยุทธการเฮสติงส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066 เอ็ดการ์จึงได้รับการประกาศให้เป็น สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 โดยสภาวิททันในลอนดอน แต่มิได้ทรงรับการสวมมงกุฏ พระเจ้าเอ็ดการ์ถูกส่งตัวให้ พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ราวหกถึงแปดอาทิตย์ต่อมาเมื่อพระชนมายุได้ 14 หรือ 15 พรรษ. ระเจ้าแผ่นดินแองโกล-แซ็กซอนและสภาขุนนาง (คริสต์ศตวรรษที่ 11) สภาวิททัน (ภาษาอังกฤษ: Witan หรือ Witenagemot) เป็นสถาบันทางการเมืองของแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษซึ่งมีบทบาทระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 11 คำว่า “witenagemot” มาจากภาษาอังกฤษเก่าจากคำว่า “การพบปะของผู้อาวุโส” (“wita” คือ ผู้มีปัญญา หรือ ที่ปรึกษา (พหูพจน์ “witan”); “gemot” คือ การประชุม) ที่มาของสภาวิททันมาจากการประชุมของประเพณีของการปกครองของชนเผ่าในสมัยโบราณ ซึ่งต่อมามามีอำนาจและที่ดินมากขึ้น สมาชิกสภานอกจากจะเป็นผู้มีอำนาจและก็ยังรวมนักบวชอาวุโสและข้าราชสำนักของพระมหากษัตริย์ด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษและสภาวิททัน

พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษและสภาวิททัน มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาวแองโกล-แซกซัน

ชาวแองโกล-แซกซัน

ราชอาณาจักรแองโกล-แซกซัน ราว ค.ศ. 600 หมวกนักรบที่พบในซัตตันฮูที่อาจจะเป็นของเรดวอลดแห่งอีสแองเกลีย (Raedwald of East Anglia) (ราว ค.ศ. 625) ออกแบบตามแบบหมวกนักรบของโรมันและตกแต่งแบบหมวกนักรบของสวีเด็นที่ทำในสมัยเดียวกันที่โอลด์อุพพ์ซาลา แองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxons) เป็นคำที่ใช้เรียกชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางใต้และตะวันออกของสหราชอาณาจักรระหว่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนกระทั่งถึงการรุกรานของนอร์มัน ในปี..

ชาวแองโกล-แซกซันและพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ชาวแองโกล-แซกซันและสภาวิททัน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษและสภาวิททัน

พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ มี 35 ความสัมพันธ์ขณะที่ สภาวิททัน มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.50% = 1 / (35 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษและสภาวิททัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: