เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อนและมกุฎราชกุมารซาโด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อนและมกุฎราชกุมารซาโด

พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อน vs. มกุฎราชกุมารซาโด

ระเจ้าซุกจง (ค.ศ. 1661 - ค.ศ. 1720) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 19 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1674 - ค.ศ. 1720) พระเจ้าซุกจงประสูติเมื่อ ค.ศ. 1661 เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าฮย็อนจง กับพระมเหสีมยองซอง ได้รับการแต่งตั้งเป็นองค์ชายรัชทายาทเมื่อ ค.ศ. 1667 ต่อมาเมื่อ ค.ศ. 1674 พระนางอินซอน พระมเหสีของพระเจ้าฮโยจง สิ้นพระชนม์ จึงเกิดข้อถกเถียงกันเรื่องการใส่พระภูษาไว้ทุกข์ของพระนางจางรยอล พระมเหสีของพระเจ้าอินโจ ขึ้นอีกครั้ง เรียกว่า ความขัดแย้งเรื่องพิธีปีคาบิน (갑인예송, 甲寅禮訟) พระเจ้าฮย็อนจงทรงเลือกที่จะทำตามข้อเสนอของขุนนางฝ่ายใต้ นำโดยฮอมก (허목, 許穆) ซึ่งเสนอให้นางจางรยอลไว้ทุกข์แบบแทกง (대공, 大功 9 เดือน พระภูษาหยาบ) ทำให้ฝ่ายใต้ขึ้นมามีอำนาจแทนฝ่ายตะวันตก ซึ่งมีอำนาจอยู่ก่อนหน้า ในปีเดียวกันนั้น พระเจ้าฮย็อนจงสวรรคต พระเจ้าซุกจงจึงทรงขึ้นครองราชย์ในช่วงเวลาที่ฝ่ายใต้มีอำนาจ รัชกาลของพระเจ้าซุกจงเป็นสมัยที่ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายต่างๆของขุนนางดุเดือดที่สุด เรียกได้ว่าไม่มีเลยสักวันเดียวในรัชสมัยของพระองค์ที่จะปราศจากการทุ่มเถียงระหว่างฝ่ายใต้และฝ่ายตะวันตก ขณะที่ฝ่ายใต้มีอำนาจ ฝ่ายตะวันตกก็ถูกกีดกันออกจากราชการกันเป็นส่วนใหญ่ แต่แล้วเมื่อ.. มกุฎราชกุมารชังฮ็อน หรือ มกุฎราชกุมารซาโด (ค.ศ. 1735 - ค.ศ. 1762) เป็นพระโอรสองค์ที่สองของพระเจ้ายองโจ กับสนมยองบิน ตระกูลอี แห่งจอนอึย ในสมัยพระเจ้าโคจงมีการแต่งตั้งองค์ชายซาโดให้มีฐานะเป็นกษัตริย์ พระนามว่า พระเจ้าจางโจ (장조, 莊祖) และต่อมาได้รับสถาปนาเป็น พระจักรพรรดิอึย (의황제, 懿皇帝) เนื่องจากมกุฎราชกุมารองค์ก่อน คือ มกุฎราชกุมารฮโยจาง สิ้นพระชนม์ไปในพ.ศ. 2271 ราชวงศ์โชซอนอยู่ในภาวะไร้ผู้สืบทอด บรรดาสนมของพระเจ้ายองโจก็ยังไม่มีพระโอรสเลย ดังนั้น เมื่อองค์ชายชังฮ็อนประสูติในพ.ศ. 2278 ที่พระราชวังชางเกียงกุง จึงได้รับแต่งตั้งเป็นวังเซจา (มกุฎราชกุมาร) ทันที องค์ชายชังฮ็อนทรงเรียนรู้ได้เร็ว ทรงย้ายไปที่ทงกุง (ตำหนักตะวันออก) อันเป็นที่อยู่เดิมของมเหสีซอนอีของพระเจ้าคยองจง เนื่องจากองค์ชายชังฮ็อนเป็นพระโอรสองค์เดียวในขณะนั้นของพระเจ้ายองโจ พระเจ้ายองโจจึงทรงเข้มงวดกับการศึกษาขององค์ชายชังฮ็อนอย่างมาก ใน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อนและมกุฎราชกุมารซาโด

พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อนและมกุฎราชกุมารซาโด มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าคย็องจงราชวงศ์โชซ็อน

พระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าย็องโจ (ค.ศ. 1694 - ค.ศ. 1776) ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 21 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1724 - ค.ศ. 1776) พระเจ้าย็องโจทรงปฏิรูปการปกครองบ้านเมืองหลายประการ ทรงเป็นหนึ่งในกษัตริย์ที่ได้รับยกย่องที่สุดแห่งราชวงศ์โชซ็อน คู่กับพระนัดดา คือ พระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อน พระเจ้าย็องโจทรงเป็นกษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ยาวที่สุดของราชวงศ์โชซ็อน.

พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อนและพระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน · พระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อนและมกุฎราชกุมารซาโด · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคย็องจง

ระเจ้าคย็องจง (Gyeongjong) สามารถหมายถึง.

พระเจ้าคย็องจงและพระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อน · พระเจ้าคย็องจงและมกุฎราชกุมารซาโด · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อนและราชวงศ์โชซ็อน · มกุฎราชกุมารซาโดและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อนและมกุฎราชกุมารซาโด

พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อน มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ มกุฎราชกุมารซาโด มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 9.09% = 3 / (19 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระเจ้าซุกจงแห่งโชซ็อนและมกุฎราชกุมารซาโด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: