เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)

พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร) vs. พระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)

ระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากพระมหาธาตุพนมหรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๗-๒๔๒๒ หรือ ๒๔๒๓) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายจากราชวงศ์เวียงจันทน์ผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๘ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ ท้าวอุปละ ผู้ควบคุมท้าวเพี้ยตัวเลกข้าพระมหาธาตุพนม สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์เวียงจันทน์และจำปาศักดิ์ ตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ที่ พระพิทักษ์เจดีย์ เป็นท่านแรกของเมืองธาตุพนมจากทั้งหมด ๔ ท่าน ซึ่งเป็นราชทินนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้นคู่กันกับบรรดาศักดิ์พระพิทักษ์เจดีย์พระมหาธาตุเชิงชุมแห่งเมืองสกลนคร. ระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากพระมหาธาตุพนมหรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๒๙-๒๔๒๑) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายสืบตระกูลจากราชวงศ์เวียงจันทน์ตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ จึงนับเป็นผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๑๐ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ พระศรีชองฟ้า หรือ พระศรีสองฟ้า กรมการชั้นผู้ใหม่ของธาตุพนม ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์ที่ พระพิทักษ์เจดีย์ เป็นท่านที่ ๓ ต่อจากพี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)

พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร) มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร)ศาสนาพุทธท้าวอุปละ (มุง รามางกูร)เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

พระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร)

ระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากพระมหาธาตุพนมหรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๔๒๒-๒๔๒๗) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายจากราชวงศ์เวียงจันทน์ผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๙ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ ท้าวพระลคร หรือ ท้าวพลคร เจ้านายตระกูลนี้ปกครองธาตุพนมมาตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์ที่ พระพิทักษ์เจดีย์ เป็นท่านที่ ๒ ต่อจาก.

พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร) · พระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)และศาสนาพุทธ · พระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)และศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร)

ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากผู้ควบคุมท้าวเพี้ยตัวเลกข้าพระมหาธาตุพนม หรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๔ (ก่อน พ.ศ. ๒๔๑๗) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายจากราชวงศ์เวียงจันทน์ผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๗ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ ท้าวสุวรรณเชษฐา กรมการเมืองธาตุพนมเดิม สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์เวียงจันทน์และจำปาศักดิ์ ตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ท้องถิ่นที่ เพี้ยอรรคฮาช กรมการในคณะอาญาสี่เมืองธาตุพนมก่อนถูกยุบลงเป็นกองบ้านธาตุพนม อนึ่ง ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร) เป็นต้นตระกูล อุปละ และตระกูล อุประ แห่งอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม.

ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร) · ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

ระอาชญาเจ้าขุนรามราชรามางกูร (ลาว: ພຣະອາດຊະຢາເຈົ້າຂຸນຣາມມະຣາຊຣາມາງກູຣ, ราว พ.ศ. ๒๓๐๐-๒๔๐๐) ทรงเป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครพระองค์แรกจากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม และทรงเป็นเจ้าขุนโอกาส (ขุนโอกลาษ) ผู้รักษากองข้าอุปัฏฐากพระบรมมหาธาตุเจ้าเจดีย์พระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) พระองค์แรกแห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ระหว่างราวปี..

พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) · พระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)

พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร) มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร) มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 33.33% = 4 / (7 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: