ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระนางศุภยาลัตและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422
พระนางศุภยาลัตและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระนางอเลนันดอพระเจ้ามินดงพระเจ้าจักกายแมงพระเจ้าธีบอมัณฑะเลย์ราชวงศ์โกนบอง
พระนางอเลนันดอ
ระนางอเลนันดอ มีพระนามจริงว่า ซีนบยูมะชีน (ဆင်ဖြူမရှင်, Hsinbyumashin ซึ่งมีความหมายว่า นางพญาช้างเผือก; มีพระนามแรกประสูติว่า ศุภยากะเล) พระราชธิดาในพระเจ้าจักกายแมงแห่งพม่า ที่ประสูติแต่พระนางนันมาดอ แมนู พระมเหสีเอก ต่อพระนางเป็นพระมเหสีตำหนักกลางในพระเจ้ามินดง ตำแหน่งพระมเหสีตำหนักกลางมีคำเรียกเป็นภาษาพม่าว่า อะแลน่านดอ ด้วยพระนามนี้เองจึงกลายเป็นพระนามที่ชาวไทยรู้จักกันทั่วไป พระองค์เป็นมเหสีที่พระเจ้ามินดงโปรดที่สุดพระองค์หนึ่ง และเป็นที่เกรงอกเกรงใจของพระองค์ พระนางอเลนันดอมีพระราชธิดากับพระเจ้ามินดง 3 พระองค์ ได้แก่ พระนางศุภยาคยี, พระนางศุภยาลัต และพระนางศุภยากเล โดยพระธิดาองค์ที่สองของพระองค์คือ พระนางศุภยาลัตซึ่งมีนิสัยทะเยอทะยานเช่นเดียวกับพระองค์ ด้วยความที่พระเจ้ามินดงเกรงในพระนางอเลนันดอ พระเจ้ามินดงจึงมิได้ตั้งองค์รัชทายาทไว้ พระนางศุภยาลัตพระธิดาของพระองค์จึงเลือกเจ้าชายสีป่อซึ่งเป็นคนหัวอ่อน โดยพระนางอเลนันดอได้ให้การสนับสนุน เมื่อพระนางศุภยาลัตพระธิดาได้เสกสมรสกับพระเจ้าธีบอ แม้พระนางอเลนันดอได้ให้การช่วยเหลือแก่พระนางศุภยาลัตในเบื้องต้น แต่ภายหลังพระนางอเลนันดอถูกให้ไปประทับที่วังอื่นรวมทั้งพระธิดาคือพระนางศุภยาคยีซึ่งเป็นพระกนิษฐา ต่อมาเมื่อพม่าตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ พระเจ้าธีบอ พระนางนางศุภยาลัต รวมถึงพระองค์ ได้ถูกเชิญออกนอกประเทศโดยให้ประทับในเมืองรัตนคีรี ทางใต้ของเมืองบอมเบย์ในบริติชราช ภายหลังพระนางอเลนันดอได้มีเรื่องวิวาทกับพระนางศุภยาลัตซึ่งเป็นพระธิดา ทางอังกฤษสงสาร จึงได้ส่งพระนางอเลนันดอมายังพม่า และใช้ชีวิตอยู่ที่เมืองมะละแหม่งจนสิ้นพระชนม.
พระนางศุภยาลัตและพระนางอเลนันดอ · พระนางอเลนันดอและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 ·
พระเจ้ามินดง
ระเจ้ามินดง (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2421) เป็นกษัตริย์พม่าแห่งราชวงศ์อลองพญา (ค.ศ. 1853 - 1878) พระองค์เป็นผู้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่อมรปุระ และมัณฑะเลย์ พระองค์เป็นผู้ปฏิรูปการปกครองให้ทันสมัยขึ้น ตอนที่พระองค์ขึ้นเสวยราชสมบัติ ทรงสถาปนาเจ้าหญิงเสกขรเทวี น้องร่วมพระชนนีกับพระเจ้าพุกาม ขึ้นเป็นอัครมเหสี และสถาปนาเจ้าหญิงราชธิดาพระเจ้าพาคยีดอ คือนางอเลนันดอ เป็นมเหสี ในสมัยของพระองค์ต้องประสบปัญหาความขัดแย้งกับอังกฤษ การสูญเสียดินแดนของพม่าตอนล่าง และปัญหาการแย่งชิงอำนาจภายในประเทศ ภาพของพระเจ้ามินดงในเอกสารชาวตะวันตก.
พระนางศุภยาลัตและพระเจ้ามินดง · พระเจ้ามินดงและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 ·
พระเจ้าจักกายแมง
ระเจ้าบาจีดอ หรือ พระเจ้าจักกายแมง (Bagyidaw, Sagaing Min; ဘကြီးတော်)เป็นกษัตริย์ลำดับที่ 6 แห่งราชวงศ์อลองพญา มีนโยบายขยายอำนาจเข้าไปในแคว้นอัสสัมและมณีปุระ ทำให้มีปัญหากับอังกฤษ และนำไปสู่การเกิดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่หนึ่ง.
พระนางศุภยาลัตและพระเจ้าจักกายแมง · พระเจ้าจักกายแมงและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 ·
พระเจ้าธีบอ
ระเจ้าธีบอ หรือ พระเจ้าสีป่อ (ตี่บอมิง) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์อลองพญา ถูกบังคับให้สละราชสมบัติและเนรเทศไปอยู่ที่เมืองรัตนคีรีในบริติชราช หลังสิ้นสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่สาม และสวรรคตเมื่อ..
พระนางศุภยาลัตและพระเจ้าธีบอ · พระเจ้าธีบอและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 ·
มัณฑะเลย์
มัณฑะเลย์ (မန္တလေးမြို့ หม่านดะเล้) เป็นอดีตเมืองหลวง และเมืองใหญ่อันดับที่สองของพม่ารองจากนครย่างกุ้ง ตั้งอยู่ในภูมิภาคมัณฑะเลย์ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศเหนือ 716 กิโลเมตร ก่อตั้งขึ้นในปี..
พระนางศุภยาลัตและมัณฑะเลย์ · มัณฑะเลย์และรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 ·
ราชวงศ์โกนบอง
ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..
พระนางศุภยาลัตและราชวงศ์โกนบอง · รัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422และราชวงศ์โกนบอง ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ พระนางศุภยาลัตและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระนางศุภยาลัตและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422
การเปรียบเทียบระหว่าง พระนางศุภยาลัตและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422
พระนางศุภยาลัต มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ รัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 มี 24 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 11.76% = 6 / (27 + 24)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระนางศุภยาลัตและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: