ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พ.ศ. 2515และแซมซั่น กระทิงแดงยิม
พ.ศ. 2515และแซมซั่น กระทิงแดงยิม มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2547หลักหิน ซีพียิมประเทศไทยแซมซั่น กระทิงแดงยิม11 กรกฎาคม
พ.ศ. 2547
ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.
พ.ศ. 2515และพ.ศ. 2547 · พ.ศ. 2547และแซมซั่น กระทิงแดงยิม ·
หลักหิน ซีพียิม
หลักหิน ซีพียิม มีชื่อจริงว่า วิชิต ลาภมี เกิดเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2515 ที่ อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช มีสถิติการชกทั้งหมด 30 ครั้ง ชนะ 28 (น็อค 18) เสมอ 2 หลักหิน เดิมเคยเป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงมาก่อน ในชื่อ "หลักหิน วสันตสิทธิ์" ก่อนจะหันมาชกมวยสากลอาชีพด้วยการเป็นนักมวยสร้างของ "แชแม้" นิวัฒน์ เหล่าสุวรรณวัฒน์ โดยหมายจะให้เป็นแชมป์โลกคนแรกที่เป็นชาวใต้ เคยชิงแชมป์โลกครั้งหนึ่งที่จังหวัดนครศรีธรรมราช บ้านเกิดของหลักหินเองกับ ดาวรุ่ง ชูวัฒนะ นักมวยชาวไทยด้วยกันเอง ในรุ่นแบนตั้มเวทของสมาคมมวยโลก (WBA) ในปี พ.ศ. 2538 การชกของทั้งคู่เป็นไปอย่างสูสี และเมื่อครบ 12 ยก ปรากฏว่าผลออกมาเสมอกันไป ต่อมา ภายหลังแขวนนวม หลักหินได้ถูกตำรวจจับในข้อหาค้ายาบ้าถึง 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2542 และพ.ศ. 2545.
พ.ศ. 2515และหลักหิน ซีพียิม · หลักหิน ซีพียิมและแซมซั่น กระทิงแดงยิม ·
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ประเทศไทยและพ.ศ. 2515 · ประเทศไทยและแซมซั่น กระทิงแดงยิม ·
แซมซั่น กระทิงแดงยิม
แซมซั่น กระทิงแดงยิม มีชื่อจริงว่า สมบุญ พานตะสี (ชื่อเล่น: จ่อย) เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ อำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด แซมซั่นเคยเป็นนักมวยไทยชื่อดัง ค่าตัวเงินแสน ในชื่อ แสนเมืองน้อย ลูกเจ้าพ่อมเหศักดิ์ โดยเป็นมวยที่เดินหน้าชกบุกตะลุยตลอด ไม่มีถอยหลัง เป็นที่ถูกใจของแฟนมวยเป็นอย่างมาก โดยชื่อ "แซมซั่น" นั้น แท้จริงแล้วไม่ใช่ชื่อ แต่เป็นฉายา โดยแฟนมวยตั้งให้สอดคล้องกับ "แรมโบ้" พงษ์ศิริ พ.ร่วมฤดี ซึ่งเป็นนักมวยที่ชกในรูปแบบเดียวกัน ที่ขณะนั้นอยู่ในช่วงปลายชีวิตของการชกมวยแล้ว การชกมวยไทยของแซมซั่นนั้น เคยผลัดกันแพ้-ชนะกับ วีระพล สหพรหม ด้วยการน็อกเพียงกันแค่ยกที่ 2 ทั้ง 2 ครั้ง, ได้ครองแชมป์แบนตั้มเวต เวทีลุมพินี, ชนะ หลักหิน วสันตสิทธิ์ ได้ครองแชมป์จูเนียร์แบนตั้มเวต เวทีราชดำเนิน, ชกกับแสนไกร ศิษย์ครูอ๊อด มากถึง 13 ครั้ง ตั้งแต่ทั้งคู่ยังชกกันอยู่ในเวทีมวยในต่างจังหวัดจนกระทั่งมาถึงกรุงเทพมหานคร แซมซั่นเป็นฝ่ายชนะไปได้ 6 ครั้ง และแพ้ 7 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2537 ทาง "เสี่ยเน้า" วิรัตน์ วชิรรัตนวงศ์ ผู้จัดการให้เบนเข็มมาชกมวยสากลอาชีพ และให้ใช้ชื่อว่าแซมซั่นไปเลยตามความคุ้นเคย เพียงแค่ 4 ครั้งเท่านั้น แซมซั่นก็ได้แชมป์โลกในรุ่นจูเนียร์แบนตั้มเวทของสหพันธ์มวยโลก (WBF) โดยชนะน็อกยก 3 นักมวยชาวออสเตรเลียไปอย่างง่ายดาย แม้จะเป็นเพียงแชมป์ของสถาบันที่ไม่มีได้รับการยอมรับมากเท่าไหร่ แต่แซมซั่นก็ได้สร้างประวัติศาสตร์หลายอย่างให้เกิดขึ้นกับวงการมวยไทยและวงการมวยโลก โดยสามารถป้องกันตำแหน่งไว้ได้ถึง 38 ครั้ง มากกว่านักมวยคนใด ๆ ในโลก ได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมายจากหลายหน่วยงานในประเทศไทย นับเป็นนักมวยที่ขึ้นป้องกันตำแหน่งเดือนต่อเดือน ในแบบที่ไม่มีนักมวยคนใดทำมาก่อน แม้จะเป็นการชกในเมืองไทยเท่านั้น แต่ก็มีบรรดาผู้ให้การสนับสนุนมากมาย ไม่ว่าจะเป็น นักการเมืองท้องถิ่นหรือนักการเมืองระดับประเทศก็ตาม หรือสินค้าประเภทต่าง ๆ อย่างชนิดที่นักมวยแชมป์โลกชาวไทยในสถาบันที่มีมาตรฐานกว่ายังไม่อาจจะทำได้ และเป็นนักมวยคนหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมากจากแฟนมวย ในการชกแต่ละครั้งจะมีผู้ชมจำนวนมาก โดยในระหว่างนี้ แซมซั่นได้มีโอกาสแสดงภาพยนตร์ด้วยเรื่องหนึ่ง เป็นภาพยนตร์ทุนต่ำ ถ่ายทำเพียง 3 วันเสร็จ เป็นชีวประวัติของแซมซั่นเอง ชื่อ "แซมซั่น เลือดอีสาน" ซึ่งไม่มีการฉายในโรงภาพยนตร์ทั่วไป แต่ออกฉายเป็นหนังเร่ในภาคอีสาน และออกเป็นวิดีโอในภายหลัง แม้จะประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ในปี พ.ศ. 2541 ต้องผ่าตัดชายโครงแต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคต่อการชกมวยของแซมซั่นเลย แซมซั่นยังคงเดินหน้าทำสถิติการชกต่อไป แซมซั่น แขวนนวมในปี พ.ศ. 2544 หลังการแขวนนวม แซมซั่นมีทรัพย์สินไม่ต่ำกว่า 20 ล้าน ซึ่งได้มาจากการชกมวยอย่างเดียว มีบ้านราคาเป็นล้านที่กรุงเทพฯ มีรถยนต์ราคาแพงขับ และยังมีกิจการร้านอาหารที่ จังหวัดร้อยเอ็ด บ้านเกิดอีกด้วย ชีวิตส่วนตัว แซมซั่น สมรสกับ ชาริปดา พานตะสี ภรรยาซึ่งรับราชการเป็นตำรวจหญิง มีบุตร 1 คน เป็นหญิง ในปลายปี พ.ศ. 2547 ในโอกาสครบ 48 ปี ของสนามมวยเวทีลุมพินี แซมซั่น ได้ชกโชว์ในแบบมวยไทยกับ "แรมโบ้" พงษ์ศิร.ร่วมฤดี นักมวยต้นแบบของตนด้วย ซึ่งเรียกเสียงปรบมือฮือฮาอย่างมากจากแฟนมวยที่เข้าชม ในช่วงเดือนกันยายน..
พ.ศ. 2515และแซมซั่น กระทิงแดงยิม · แซมซั่น กระทิงแดงยิมและแซมซั่น กระทิงแดงยิม ·
11 กรกฎาคม
วันที่ 11 กรกฎาคม เป็นวันที่ 192 ของปี (วันที่ 193 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 173 วันในปีนั้น.
11 กรกฎาคมและพ.ศ. 2515 · 11 กรกฎาคมและแซมซั่น กระทิงแดงยิม ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ พ.ศ. 2515และแซมซั่น กระทิงแดงยิม มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง พ.ศ. 2515และแซมซั่น กระทิงแดงยิม
การเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2515และแซมซั่น กระทิงแดงยิม
พ.ศ. 2515 มี 306 ความสัมพันธ์ขณะที่ แซมซั่น กระทิงแดงยิม มี 52 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 1.40% = 5 / (306 + 52)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พ.ศ. 2515และแซมซั่น กระทิงแดงยิม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: