โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ผู้แทนการค้าไทย

ดัชนี ผู้แทนการค้าไทย

ผู้แทนการค้าไทย (Thailand Trade Representative: TTR) เป็นผู้แทนพิเศษของนายกรัฐมนตรี ด้านการค้า การลงทุนระหว่างประเทศ ตามแนวนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเชิงรุก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยมุ่งขยายตลาดการค้า การลงทุนของไทยในต่างประเทศ และแสวงหาความร่วมมือในด้านต่างๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศและการเพิ่มขีดความสามารถในเวทีโลก.

49 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2545พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พฤศจิกายนพฤฒิชัย วิริยะโรจน์พิเชษฐ สถิรชวาลกรพจน์ อัศวินวิจิตรกันตธีร์ ศุภมงคลยิ่งลักษณ์ ชินวัตรลินดา เชิดชัยวรวีร์ มะกูดีวัชระ พรรณเชษฐ์วิรุฬ เตชะไพบูลย์สมพงษ์ อมรวิวัฒน์สุรยุทธ์ จุลานนท์สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้างอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะทักษิณ ชินวัตรประวิช รัตนเพียรประจวบ ไชยสาส์นปานปรีย์ พหิทธานุกรนลินี ทวีสินนายกรัฐมนตรีโอฬาร ไชยประวัติเกียรติ สิทธีอมร1 พฤศจิกายน12 มีนาคม13 พฤษภาคม15 สิงหาคม18 มกราคม19 พฤษภาคม19 กันยายน2 พฤศจิกายน20 พฤศจิกายน22 พฤษภาคม23 มีนาคม26 กรกฎาคม28 พฤศจิกายน29 พฤศจิกายน30 สิงหาคม31 มกราคม6 พฤษภาคม9 สิงหาคม

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน

กายน เป็นเดือนที่ 11 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤศจิกายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพิจิก และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีธนู แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤศจิกายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวตาชั่ง ผ่านกลุ่มดาวแมงป่องระหว่างวันที่ 24-29 พฤศจิกายน โดยประมาณ และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงูในปลายเดือน เดือนพฤศจิกายนในภาษาอังกฤษ November มาจากภาษาละติน novem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 9 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

พฤฒิชัย วิริยะโรจน์

ัย วิริยะโรจน์ ผู้แทนการค้าไทย ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพฤฒิชัย วิริยะโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิเชษฐ สถิรชวาล

ษฐ อับดุรฺรอชีด สถิรชวาล อดีต ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้แทนการค้าไทย อดีตแกนนำพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมและอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมในรัฐบาล ดร.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและพิเชษฐ สถิรชวาล · ดูเพิ่มเติม »

กรพจน์ อัศวินวิจิตร

กรพจน์ อัศวินวิจิตร อดีตกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตผู้แทนการค้าไทย ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้อำนวยการธนาคารออมสิน และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและกรพจน์ อัศวินวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

กันตธีร์ ศุภมงคล

ร.กันตธีร์ ศุภมงคล (3 เมษายน พ.ศ. 2495 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร และอดีตโฆษกพรรคไทยรักไทยคนแรก.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและกันตธีร์ ศุภมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ลินดา เชิดชัย

นางลินดา เชิดชัย อดีตผู้แทนการค้าไทย ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและลินดา เชิดชัย · ดูเพิ่มเติม »

วรวีร์ มะกูดี

วรวีร์ มะกูดี (ชื่อเล่น: ยี; เกิด 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 16จาก ไทยรัฐ ที่เป็นชาวไทยมุสลิมคนแรก โดยดำรงตำแหน่งต่อเนื่องเป็นวาระที่ 4 และกรรมการบริหารพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและวรวีร์ มะกูดี · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ พรรณเชษฐ์

วัชระ พรรณเชษฐ์ ​อดีตผู้แทนการค้าไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อแผ่นดิน และเป็นทายาทกลุ่มสิทธิผล ผู้จำหน่ายรถยนต์รายใหญ่ของไท.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและวัชระ พรรณเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิรุฬ เตชะไพบูลย์

นายวิรุฬ เตชะไพบูลย์ อดีตผู้แทนการค้าไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และคณะทำงานด้านเศรษฐกิจของพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและวิรุฬ เตชะไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมพงษ์ อมรวิวัฒน์

นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 -) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน สังกัดพรรคพลังประชาชน อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม และอดีตแกนนำกลุ่ม 16.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง

รองศาสตราจารย์ สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง อดีตผู้แทนการค้าไทย ในสมัยรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตรองเลขาธิการอาเซียน.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและสุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ประวิช รัตนเพียร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและประวิช รัตนเพียร · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ ไชยสาส์น

นายประจวบ ไชยสาส์น นายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม อดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอื่นๆ อีกหลายกระทรวง และเป็นบิดาของนายต่อพงษ์ ไชยสาส์น และนายจักรพรรดิ ไชยสาส์น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อไทย นายประจวบ ไชยสาส์น เป็นที่รู้จักกันในฉายา "อีดี้อีสาน".

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและประจวบ ไชยสาส์น · ดูเพิ่มเติม »

ปานปรีย์ พหิทธานุกร

ร.ปานปรีย์ พหิทธานุกร อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตผู้แทนการค้าไทย ในช่วงรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร และอดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี).

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและปานปรีย์ พหิทธานุกร · ดูเพิ่มเติม »

นลินี ทวีสิน

ร.นลินี ทวีสิน (สกุลเดิม มิสรา, 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 —) ผู้แทนการค้าไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตผู้แทนการค้าไทย ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและนลินี ทวีสิน · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

โอฬาร ไชยประวัติ

อฬาร ไชยประวัติ อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี เป็นนักการเมืองสังกัดพรรคเพื่อไทย ในสมัยรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดร.โอฬารเป็นเหตุสำคัญในคำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดเพราะมีผลประโยชน์ทับซ้อนกรณีการแปรรูป บม.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติ สิทธีอมร

นายเกียรติ สิทธีอมร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย และคณะทำงานด้านเศรษฐกิจพรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร หอการค้านานาชาติแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2502 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทด้านการต่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยทัฟส์ และ ประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการบริหาร จาก Harvard Business School ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย จากสถาบันพระปกเกล้.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและเกียรติ สิทธีอมร · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤศจิกายน

วันที่ 1 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 305 ของปี (วันที่ 306 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 60 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ1 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ12 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤษภาคม

วันที่ 13 พฤษภาคม เป็นวันที่ 133 ของปี (วันที่ 134 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 232 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ13 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ15 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤษภาคม

วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ19 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 กันยายน

วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ19 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

2 พฤศจิกายน

วันที่ 2 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 306 ของปี (วันที่ 307 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 59 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ2 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ20 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤษภาคม

วันที่ 22 พฤษภาคม เป็นวันที่ 142 ของปี (วันที่ 143 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 223 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ22 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ23 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ26 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ28 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

30 สิงหาคม

วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ30 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 มกราคม

วันที่ 31 มกราคม เป็นวันที่ 31 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 334 วันในปีนั้น (335 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ31 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ6 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 สิงหาคม

วันที่ 9 สิงหาคม เป็นวันที่ 221 ของปี (วันที่ 222 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 144 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ผู้แทนการค้าไทยและ9 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »