โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์และวิชญาณี เปียกลิ่น

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์และวิชญาณี เปียกลิ่น

ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์ vs. วิชญาณี เปียกลิ่น

ปิยธิดา วรมุสิก (ชื่อเล่น: ป๊อก) มีชื่อและนามสกุลในปัจจุบันว่า ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์ เกิดเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2518 เป็นนักแสดง, พิธีกร ชาวไทย มีพี่น้อง 2 คน โดยเธอเป็นคนสุดท้องและมีพี่สาว จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์, ระดับมัธยมศึกษาสายสายศิลป์-ฝรั่งเศสจากโรงเรียนสตรีวิทยา และระดับปริญญาตรีจาก คณะมนุษยศาสตร์ (เอกภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มีผลงานละครสร้างชื่อ เรื่อง จากละครวัยรุ่นเรื่อง ซึมน้อยหน่อยกะล่อนมากหน่อย ที่แสดงคู่กับนิธิ สมุทรโคจร และละครทางช่อง 3 อีกเรื่องที่สร้างชื่อคือ ธรณีนี่นี้ใครครอง คู่กับ แอนดริว เกร้กสัน นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัล ชมเชยนักแสดงหญิงเอเชี่ยน เทเลวิชั่นอวอร์ด 2008 จากละครเรื่อง นางทาส และได้รับการตอบรับอย่างดีจากบท ดร.วิกันดา จากละครเรื่อง “เมียหลวง” โดยให้ตำแหน่ง นักแสดงบทเมียหลวงแห่งชาติ ด้ว. วิชญาณี เปียกลิ่น หรือที่รู้จักในนาม แก้ม เดอะสตาร์ หรือ แก้ม วิชญาณี เป็นนักร้อง นักแสดง พิธีกรชาวไทย สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ผู้ชนะรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 4 และเป็น "เดอะสตาร์หญิงคนแรกของเมืองไทย" แก้มได้ชื่อว่าเป็น "ศิลปินหญิงพลังเสียงคุณภาพ" หรือ "ดีวาสาวเสียงทรงพลัง" จากสื่อมวลชนหลายสำนัก และได้รับการกล่าวถึงในด้านเทคนิคการใช้เสียงและการถ่ายทอดอารมณ์เพลง แก้มได้รับรางวัลหลายประเภท อาทิ เยาวชนดีเด่นแห่งชาติ ลูกกตัญญู นักร้องหญิงยอดนิยมสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2008 ครั้งที่ 7 ผู้ขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทยเพชรในเพลง 2556 รวมทั้งเป็น "นักร้องเพลงไทยสากลหญิงที่ประชาชนชื่นชอบมากที่สุด" อันดับ 2 ของประเทศ จากผลสำรวจของสวนดุสิตโพลในปี 2560 เธอสามารถร้องเพลงได้หลายแนวและหลายภาษา ทั้งไทย อังกฤษ และเกาหลี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์และวิชญาณี เปียกลิ่น

ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์และวิชญาณี เปียกลิ่น มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รางวัลโทรทัศน์ทองคำรางวัลเมขลารางวัลเมขลา ครั้งที่ 24สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3ตลาดอารมณ์ประเทศไทย

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดโดยชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยเป็นรางวัลสำหรับผลงานทางโทรทัศน์ที่มีอายุยาวนานที่สุด และยังมีการมอบรางวัลจวบจนถึงปัจจุบัน.

ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์และรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · รางวัลโทรทัศน์ทองคำและวิชญาณี เปียกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเมขลา

รางวัลเมขลา ผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ รางวัลเมขลา เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดขึ้นโดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2523 จนถึง พ.ศ. 2547 และได้มีการจัดงานขึ้นอีกครั้งหลังจากหายไป 6 ปี โดยจัดขึ้นในปี 2555 เป็นต้นมา ซึ่งถือเป็นการจัดครั้งที่ 24 และพิจารณาผลงานละครประจำปี พ.ศ. 2554.

ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์และรางวัลเมขลา · รางวัลเมขลาและวิชญาณี เปียกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเมขลา ครั้งที่ 24

รางวัลเมขลา ครั้งที่ 24 เป็นงานแจกรางวัลดีเด่นทางโทรทัศน์ประจำปี..

ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์และรางวัลเมขลา ครั้งที่ 24 · รางวัลเมขลา ครั้งที่ 24และวิชญาณี เปียกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · วิชญาณี เปียกลิ่นและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดอารมณ์

ตลาดอารมณ์ เป็นนวนิยายไทย เป็นบทประพันธ์ของ อุปถัมภ์ กองแก้ว เป็นเรื่องราวของหญิงสาวคนหนึ่ง ที่พยายามทำทุกวิถีทางกลับได้รับสิ่งตอบแทนเป็นการเข้าใจผิดและการเกลียดชัง อีกทั้งยังต้องเผชิญจากเหล่าผู้คนรอบตัวที่ต้องการแย่งชิงสมบัติมหาศาลไปครอบครองไว้แต่เพียงผู้เดียว นวนิยายเรื่องนี้ทำเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาหลายครั้งแล้ว ภาพยนตร์ ตลาดอารมณ์ ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ตลาดอารมณ์และปิยธิดา มิตรธีรโรจน์ · ตลาดอารมณ์และวิชญาณี เปียกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและปิยธิดา มิตรธีรโรจน์ · ประเทศไทยและวิชญาณี เปียกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์และวิชญาณี เปียกลิ่น

ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์ มี 130 ความสัมพันธ์ขณะที่ วิชญาณี เปียกลิ่น มี 130 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 2.31% = 6 / (130 + 130)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์และวิชญาณี เปียกลิ่น หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »