โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่และภาษาไทยถิ่นอีสาน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่และภาษาไทยถิ่นอีสาน

ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่ vs. ภาษาไทยถิ่นอีสาน

ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่ (Smallscale archerfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) มีลักษณะลำตัวแบนลึกข้างค่อนข้างมาก ตากลมโต ขอบหลังไล่ตั้งแต่ช่วงครีบไปจนถึงหางมีลักษณะเกือบเป็นเส้นตรง ปากมีขนาดใหญ่และมีลักษณะเฉียงลงลึก ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางด้านท้ายลำตัว พื้นลำตัวทางตอนบนสีเหลือง ช่วงท้องสีขาว ข้างลำตัวจะมีจุดสีดำแต้มอยู่ประมาณ 4-5 แต้ม เกล็ดเป็นแบบสาก โดยปลาใช้กลุ่มนี้มีความสามารถพิเศษ คือ สามารถพ่นน้ำขึ้นไปในอากาศได้สูงถึง 1 เมตร เพื่อล่าเหยื่อ อันได้แก่ แมลงต่าง ๆ ที่อยู่เหนือผิวน้ำ หรือกระโดดตัวขึ้นงับเหยื่อในบางที ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่มีขนาดโตเต็มที่ได้ประมาณ 15 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทุกประเทศ ไปจนถึงออสเตรเลีย โดยอาศัยอยู่เป็นฝูง ๆ ตามแม่น้ำสายใหญ่ ๆ หรือ ปากแม่น้ำ ในประเทศไทยพบตั้งแต่ภาคกลางและภาคอีสาน ไม่พบในภาคใต้ วางไข่และเลี้ยงดูตัวอ่อนในน้ำกร่อย โดยปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่เป็นปลาที่พบไม่บ่อยนักในธรรมชาติ ไม่นิยมบริโภค ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามมากกว่า ซึ่งปลาที่นิยมจับมาเป็นปลาสวยงามนั้นมักจับมาจากบึงบอระเพ็ดหรือสถานที่ใกล้เคียงในจังหวัดนครสวรรค์ จึงมีชื่อเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า "ปลาเสือพ่นน้ำนครสวรรค์" หรือ "ปลาเสือพ่นน้ำเหลือง" ทั้งนี้ปลาเสือพ่นน้ำชนิดนี้จะมีสีเหลืองตามลำตัวสดและเห็นได้ชัดเจนกว่าปลาเสือพ่นน้ำชนิดอื่น มีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "หม่อง". ษาไทยถิ่นอีสาน หรือ ภาษาลาวอีสาน เป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่งในสำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวซึ่งแบ่งเป็น 6 สำเนียงใหญ่ คือ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่และภาษาไทยถิ่นอีสาน

ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่และภาษาไทยถิ่นอีสาน มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่และภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ภาคอีสาน (ประเทศไทย)และภาษาไทยถิ่นอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่และภาษาไทยถิ่นอีสาน

ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่ มี 25 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาษาไทยถิ่นอีสาน มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.27% = 1 / (25 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่และภาษาไทยถิ่นอีสาน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »