เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปรากฏการณ์เรือนกระจกและหมอกควัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปรากฏการณ์เรือนกระจกและหมอกควัน

ปรากฏการณ์เรือนกระจก vs. หมอกควัน

แผนภูมิแสดงการแลกเปลี่ยนพลังงานระหว่างดวงอาทิตย์ พื้นผิวโลก ชั้นบรรยากาศของโลก และอวกาศ ความสามารถของชั้นบรรยากาศในการจับและนำพลังงานที่แผ่ออกมาจากพื้นผิวโลกกลับมาใช้ใหม่เป็นลักษณะนิยามของปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) คือ ขบวนการที่รังสีความร้อนจากพื้นผิวโลกจะถูกดูดซับโดยก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ และแผ่รังสีออกไปอีกครั้งในทุกทิศทาง เนื่องจากการแผ่รังสีออกไปอีกครั้งถูกส่งกลับมายังพื้นผิวโลกและบรรยากาศด้านล่าง เป็นผลทำให้ระดับอุณหภูมิพื้นผิวโลกเฉลี่ยสูงขึ้นถ้าไม่มีก๊าซเหล่านี้A concise description of the greenhouse effect is given in the Intergovernmental Panel on Climate Change Fourth Assessment Report, "What is the Greenhouse Effect?", IIPCC Fourth Assessment Report, Chapter 1, page 115: "เพื่อความสมดุลของพลังงานที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์ โลกโดยเฉลี่ยต้องแผ่รังสีพลังงานจำนวนที่เท่ากันกลับไปสู่อวกาศ เพราะว่าโลกเย็นกว่าดวงอาทิตย์ โลกจึงแผ่รังสีที่ความยาวคลื่นที่ยาวกว่าในแถบความถี่อินฟราเรด รังสีความร้อนที่ปล่อยออกมาจากพื้นดินและมหาสมุทรจำนวนมากนี้จะถูกดูดซับในชั้นบรรยากาศรวมทั้งหมู่เมฆและแผ่รังสีอีกครั้งกลับมายังโลก ขบวนการนี้เรียกว่าปรากฏการณ์เรือนกระจก" Stephen H. Schneider, in Geosphere-biosphere Interactions and Climate, Lennart O. Bengtsson and Claus U. Hammer, eds., Cambridge University Press, 2001, ISBN 0-521-78238-4, pp. หมอกควันสร้างผลกระทบต่อความเสียหายทั้งสุขภาพ เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อันกลายเป็นปัญหาระหว่างชาติ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประสบปัญหาไฟป่าและหมอกควันเช่นเดียวกับภูมิภาคอื่นๆ จึงได้เกิด "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน - ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution" อันมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน ลด และติดตามตรวจสอบมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน อันเป็นผลเนื่องจากไฟบนพื้นดิน และ/หรือไฟป่า โดยอาศัยความพยายามร่วมกันในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ ข้อตกลงนี้มีผลบังคับใช้เมื่อมีประเทศสมาชิก 6 ประเทศได้ให้สัตยาบันในความตกลงนี้ ซึ่งประเทศไทยพร้อมด้วยประเทศสมาชิกอาเซียนอีก 9 ประเทศได้ร่วมลงนามในข้อตกลงฯ นี้ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรากฏการณ์เรือนกระจกและหมอกควัน

ปรากฏการณ์เรือนกระจกและหมอกควัน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปรากฏการณ์เรือนกระจกและหมอกควัน

ปรากฏการณ์เรือนกระจก มี 54 ความสัมพันธ์ขณะที่ หมอกควัน มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (54 + 3)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปรากฏการณ์เรือนกระจกและหมอกควัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: