โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปรัชญาและอนาคต

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปรัชญาและอนาคต

ปรัชญา vs. อนาคต

มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน.. อนาคต คือสิ่งที่จะเกิดขึ้นในเวลาหลังจากปัจจุบัน การมาถึงของอนาคตเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เพราะเวลาและกฎของฟิสิกส์ เนื่องจากอนาคตมีธรรมชาติของความเป็นจริงและมีภาวะที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ทุกสิ่งที่มีอยู่ในขณะนี้และจะมีอยู่ต่อไปนั้น สามารถจัดว่าเป็นสิ่งถาวร หมายความว่ามันจะมีอยู่ตลอดไป หรือเป็นสิ่งชั่วคราว หมายความว่ามันจะสิ้นสุดลง อนาคตและมโนทัศน์ของนิรันดร์เป็นหัวข้อหลักของวิชาปรัชญา ศาสนา และวิทยาศาสตร์ และการนิยามนิรันดร์โดยไร้ข้อถกเถียงที่ผ่านมานั้นไม่เกี่ยวข้องกับความคิดของคนส่วนใหญ่ในมุมมองของวัฒนธรรมตะวันตก ซึ่งใช้มโนทัศน์เชิงเส้นเกี่ยวกับเวลา อนาคตเป็นส่วนหนึ่งของเส้นเวลาที่ยื่นออกไปที่ถูกคาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้น ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ อนาคตถือว่าเป็นอนาคตสัมพัทธ์ หรือกรวยแสงอนาคต ในปรัชญาเวลา ทฤษฏีปัจจุบันเป็นความเชื่อว่ามีเฉพาะปัจจุบันเท่านั้นที่มีอยู่จริงและอนาคตกับอดีตถือว่าไม่มีจริง เมื่อพูดถึงประเด็นต่าง ๆ เช่น กรรม ชีวิตหลังความตาย และอวสานวิทยา ศาสนาหลายศาสนามองว่าอนาคตศึกษาเรื่องจุดจบของเวลาและลักษณะจุดจบของโลกเป็นอย่างไร บุคคลทางศาสนา เช่น ผู้เผยพระวจนะ และโหร อ้างว่ามองเห็นอนาคต ความพยายามที่จะทำนายหรือพยากรณ์อนาคตอาจมาจากการสังเกตวัตถุวิเศษของคนโบราณ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปรัชญาและอนาคต

ปรัชญาและอนาคต มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): วิทยาศาสตร์ความเป็นจริง

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ · วิทยาศาสตร์และอนาคต · ดูเพิ่มเติม »

ความเป็นจริง

วามเป็นจริง เป็นสภาพของสิ่งตามที่มีอยู่จริง หาใช่สภาพของสิ่งที่อาจปรากฏหรืออาจจินตนาการขึ้น ในคำนิยามอย่างกว้าง ความเป็นจริงรวมไปถึงทุกสิ่งที่มีอยู่ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะสังเกตได้หรือเข้าใจได้หรือไม่ก็ตาม นิยามกว้างกว่านั้นรวมถึงทุกสิ่งที่เคยมีอยู่ในอดีต มีอยู่ในปัจจุบัน หรือจะมีอยู่ในอนาคต นักปรัชญา นักคณิตศาสตร์ และนักคิดอื่นทั้งสมัยโบราณและสมัยใหม่ เช่น อริสโตเติล เพลโต เฟรเกอ วิทท์เกนชไตน์ และรัสเซลล์ ต่างแยกความแตกต่างระหว่างความคิดที่สัมพันธ์กับความเป็นจริง ภาวะนามธรรมสัมพันธ์ และความคิดที่ไม่สามารถเป็นความคิดที่สมเหตุผล ในทางตรงข้าม การดำรงอยู่นั้นมักจำกัดอยู่เฉพาะการดำรงอยู่ทางกายภาพหรือมีพื้นฐานโดยตรงในสิ่งนั้นอย่างเดียวกับความคิดในสมอง.

ความเป็นจริงและปรัชญา · ความเป็นจริงและอนาคต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปรัชญาและอนาคต

ปรัชญา มี 57 ความสัมพันธ์ขณะที่ อนาคต มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.74% = 2 / (57 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปรัชญาและอนาคต หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »