ประโยค 1–2และพัดยศ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ประโยค 1–2และพัดยศ
ประโยค 1–2 vs. พัดยศ
ปกหนังสืออันเป็นที่คุ้นตาของนักเรียนบาลี '''"ธมฺมปทฏฐกถา"''' หนึ่งในหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทยในชั้นประโยค 1–2 ''จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการแผนกตำรา มหามกุฏราชวิทยาลัย'' ประโยค 1–2 เป็นระดับชั้นเริ่มต้นของการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย ที่ภิกษุสามเณรผู้เรียนต้องทำความเข้าใจและศึกษาไวยากรณ์บาลีและฝึกการแปลภาษามคธในระดับให้เข้าใจพอแปลภาษาบาลีเริ่มต้นได้ ในอดีตชั้นเริ่มต้นในการสอบไล่เปรียญนั้นจะเริ่มแต่ชั้นเปรียญธรรม 3 ประโยคขึ้นไป โดยการสอบไล่ประโยค 1–2 นี้ยังไม่ถือว่าผู้สอบได้เป็นเปรียญ และไม่สามารถเก็บประโยคชั้นที่สอบได้ เอาไว้สอบในปีต่อไปได้ แต่เมื่อเปลี่ยนการสอบไล่บาลีมาเป็นแบบข้อเขียน ก็เริ่มมีการจัดสอบเก็บประโยคนี้ขึ้น เพื่อเป็นการแบ่งเนื้อหาในการเรียนการสอนให้ไม่ยากและหนักเกินไป ในชั้นนี้ ผู้สอบได้จะยังไม่ได้เข้ารับพระราชทานสมณศักดิ์พัดยศทรงตั้งเป็นเปรียญ แต่ในอดีตนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยขณะดำรงพระยศเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงเคยรับพระราชภาระอุปถัมภ์ผู้สอบผ่านในชั้นนี้ โดยมีการถวายพัดไตรจีวรให้แก่ผู้สอบได้เป็นกำลังใจ เรียกกันในสมัยนั้นว่า "เปรียญวังหน้า" ซึ่งปัจจุบันไม่มีแล้ว ปัจจุบันผู้สอบได้ประโยค 1–2 จะได้รับใบ "วุฒิบัตร" รับรองจากสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง ซึ่งต่างจากผู้สอบได้ในชั้น ป.. กหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไทยได้รับประเพณีมีพัดยศสำหรับพระสงฆ์มาจากลังกา โดยกษัตริย์แห่งศรีลังกาในอดีตเป็นผู้เริ่มถวายสมณศักดิ์และพัดยศเพื่อให้พระสงฆ์สำหรับใช้แสดงถึงสมณศักดิ์ที่ได้รับถวาย พัดยศสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง (พัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์) พัดยศพระราชาคณะ ชั้นสามัญเปรียญ พัดยศ คือพัดเกียรติยศอันเป็นเครื่องราชสักการะอย่างหนึ่งที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่พระภิกษุผู้มีฐานันดรในคณะสงฆ์ เป็นการประกาศเกียรติคุณเพิ่มขวัญและกำลังใจแก่พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตามอย่างโบราณราชประเพณี ซึ่งเป็นพัดคู่กับพัดรอง ซึ่งแบ่งตามศํกดิ์ ได้แก.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประโยค 1–2และพัดยศ
ประโยค 1–2และพัดยศ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภิกษุสมณศักดิ์เปรียญ
กษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา มีความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และสามารถแปลว่า ผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ก็ได้ ดังรูปวิเคราะห์ว่า "วฏฺฏสํสาเร ภยํ อิกฺขตีติ ภิกฺขุ" ในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ" แปลว่าผู้ประเสร.
ประโยค 1–2และภิกษุ · พัดยศและภิกษุ · ดูเพิ่มเติม »
มณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ภิกษุผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระภิกษุรูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้ว.
ประโยค 1–2และสมณศักดิ์ · พัดยศและสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »
ปรียญ (อ่านว่า ปะเรียน) บาเรียน ก็เรียก เป็นคำใช้เรียกภิกษุสามเณรผู้ศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีและสอบไล่ได้ตามหลักสูตรตั้งแต่ 3 ประโยคขึ้นไปจนถึง 9 ประโยค เรียกว่า พระเปรียญ หรือ พระเปรียญธรรม สามเณรเปรียญ หรือ สามเณรเปรียญธรรม มีอักษรย่อว่า ป. หรือ ป..
ประโยค 1–2และเปรียญ · พัดยศและเปรียญ · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ประโยค 1–2และพัดยศ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประโยค 1–2และพัดยศ
การเปรียบเทียบระหว่าง ประโยค 1–2และพัดยศ
ประโยค 1–2 มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ พัดยศ มี 36 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 6.12% = 3 / (13 + 36)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประโยค 1–2และพัดยศ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: