ประเทศอังกฤษและเบอร์นี แซนเดอร์ส
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ประเทศอังกฤษและเบอร์นี แซนเดอร์ส
ประเทศอังกฤษ vs. เบอร์นี แซนเดอร์ส
อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน.. อร์นาร์ด "เบอร์นี" แซนเดอร์ส (เกิด 8 ธันวาคม 1941) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกันผู้ได้เป็นสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐด้อยอาวุโสจากรัฐเวอร์มอนต์ตั้งแต่ปี 2007 แซนเดอรส์เป็นสมาชิกสภาอิสระที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์รัฐสภาสหรัฐ นับแต่เขาได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรในปี 1991 เขาเข้าร่วมประชุมลับกับพรรคเดโมแครต ซึ่งได้มอบหมายภาระงานคณะกรรมาธิการของรัฐสภาแก่เขา และบางครั้งให้พรรคเดโมแครตได้รับฝ่ายข้างมาก แซนเดอร์สเป็นสมาชิกคนสำคัญของพรรคข้างน้อยในคณะกรรมาธิการงบประมาณของวุฒิสภาในเดือนมกราคม 2015 เขาเคยเป็นประธานคณะกรรมาธิการกิจการทหารผ่านศึกของวุฒิสภาเป็นเวลาสองปี การรณรงค์ของแซนเดอร์สสำหรับการเสนอชื่อชิงประธานาธิบดีสหรัฐในปี 2016 ของพรรคแข่งกับฮิลลารี คลินตันได้ระดมเงินจากผู้สมทบปัจเจกรายย่อยมากกว่าผู้อื่นในประวัติศาสตร์อเมริกา และทำให้เขาเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติ เขาอธิบายตนว่าเป็นนักสังคมนิยมประชาธิปไตย แซนเดอร์สนิยมแรงงานและเน้นการย้อนความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจ นักวิชาการจำนวนมากถือมุมมองของเขาว่าเข้าได้กับแนวประชาธิปไตยสังคมและลัทธิก้าวหน้าอเมริกันสมัยข้อตกลงใหม่มากกว่าสังคมนิยมประชาธิปไตย แซนเดอร์สเกิดและเติบโตในย่านบรุกลินของนครนิวยอร์ก และสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยชิคาโกในปี 1964 ระหว่างเป็นนักศึกษาเขาเป็นผู้จัดระเบียบการประท้วงขบวนการสิทธิพลเมืองแอฟริกัน-อเมริกันผู้แข็งขันให้สภาความเสมอภาคทางเชื้อชาติ (Congress of Racial Equality) และคณะกรรมการประสานงานอหิงสาของนักศึกษา (Student Nonviolent Coordinating Committee) หลังตั้งถิ่นฐานในรัฐเวอร์มอนต์ในปี 1968 แซนเดอร์สรณรงค์เป็นผู้ว่าการและสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐพรรคที่สามในต้นถึงกลางคริสต์ทศวรรรษ 1970 แต่ไม่สำเร็จ เขาได้รับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีเบอร์ลิงตัน นครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐเวอร์มอนต์ ในปี 1981 โดยสมัครเป็นนักการเมืองอิสระ ด้วยคะแนนเสียงเฉียดฉิว 10 เสียง ต่อมาเขาได้รับเลือกตั้งใหม่เป็นนายกเทศมนตรีอีกสามสมัย ในปี 1990 เขาได้รับเลือกตั้งให้เป็นผู้แทนของเขตรัฐสภาทั้งหมดของรัฐเวอร์มอนต์ในสภาผู้แทนราษฎร ที่ซึ่งเขาร่วมก่อตั้งการประชุมลับลัทธิก้าวหน้ารัฐสภา (Congressional Progressive Caucus) ในปี 1991 เขารับราชการเป็นสมาชิกวุฒิสภา 16 ปีก่อนได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐในปี 2006 ในปี 2012 เขาได้รับเลือกตั้งอีกด้วยคะแนนเสียงของประชาชน 71% ผลสำรวจความเห็นบ่งว่าเขาเป็นสมาชิกวุฒิสภาลำดับต้น ๆ ที่ได้รับความนิยมสูงสุดกับเขตเลือกตั้งของเขา โดยอยู่อันดับสามในปี 2014 และอันดับหนึ่งทั้งในปี 2015 และ 2016 ในการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปปี 2016 แซนเดอร์สได้รับคะแนนเสียงของประชาชนรัฐเวอร์มอนต์เกือบ 6% เป็นผู้สมัครแบบหย่อนชื่อ (write-in candidate) แม้ว่าถอนตัวจากการแข่งและสนับสนุนคลินตันไปแล้วเมื่อหลายเดือนก่อน แซนเดอร์สมีชื่อเสียงระดับชาติหลังอภิปรายประวิงเวลาในปี 2010 ต่อรัฐบัญญัติการลดภาษีชนชั้นกลางปี 2010 ซึ่งขยายการลดภาษีบุชซึ่งเอื้อชาวอเมริกันผู้ร่ำรวย เขาสร้างชื่อเสียงเป็นเสียงนักลัทธิก้าวหน้าในประเด็นอย่างการปฏิรูปการจัดหาเงินทุนการรณรงค์ สวัสดิการบริษัท ภาวะโลกร้อน ความไม่เสมอภาคด้านรายได้ สิทธิแอลจีบีที การลาเลี้ยงบุตร (parental leave) และการประกันสุขภาพถ้วนหน้า แซนเดอร์สวิจารณ์นโยบายต่างประเทศสหรัฐมาอย่างยาวนานและเป็นผู้คัดค้านคนแรก ๆ และเปิดเผยซึ่งสงครามอิรัก สงครามอ่าวเปอร์เซีย และการสนับสนุนคอนทราสในประเทศนิคารากัว เขายังเปิดเผยเรื่องเสรีภาพและสิทธิพลเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเลือกปฏิบัติต่อเชื้อชาติในระบบยุติธรรมอาญา ตลอดจนสนับสนุนสิทธิภาวะเฉพาะส่วนตัวต่อนโยบายสอดส่องดูแลสาธารณะอย่างรัฐบัญญัติความรักปิตุภูมิสหรัฐและโครงการสอดส่องดูแลของเอ็นเอสเอ แซนเดอร์สประกาศการรณรงค์เพื่อเสนอชื่อให้เลือกประธานาธิบดีพรรคเดโมแครตเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2016 แซนเดอร์สชนะการเลือกตั้งไพรมารีและการประชุมลับ 23 ครั้งและผู้แทนให้คำมั่นประมาณ 43% เทียบกับ 55% ของคลินตัน การรณรงค์ของเขาขึ้นชื่อเรื่องความกระตือรือร้นของผู้สนับสนุนเขา ตลอดจนการปฏิเสธการบริจาคครั้งใหญ่จากบริษัท อุตสาหกรรมการเงินและคณะกรรมการทำงานการเมืองที่เกี่ยงข้องใด ๆ วันที่ 12 กรกฎาคม 2016 แซนเดอร์สสนับสนุนคลินตันต่อคู่แข่งการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปจากพรรครีพับลิกัน ดอนัลด์ ทรัมป์ ขณะที่กระตุ้นให้ผู้สนับสนุนเขาสานต่อการรณรงค์ "การปฏิวัติการเมือง" ของเขาที่เริ่มต้นแล้ว เขาตั้งองค์การ 501(c) ชื่อ การปฏิวัติของเรา เพื่อระดมและสนับสนุนผู้สมัครสำหรับตำแหน่งระดับท้องถิ่น รัฐและชาต.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศอังกฤษและเบอร์นี แซนเดอร์ส
ประเทศอังกฤษและเบอร์นี แซนเดอร์ส มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ประเทศอังกฤษและเบอร์นี แซนเดอร์ส มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศอังกฤษและเบอร์นี แซนเดอร์ส
การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศอังกฤษและเบอร์นี แซนเดอร์ส
ประเทศอังกฤษ มี 36 ความสัมพันธ์ขณะที่ เบอร์นี แซนเดอร์ส มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (36 + 21)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศอังกฤษและเบอร์นี แซนเดอร์ส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: