โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศญี่ปุ่นและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ประเทศญี่ปุ่นและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ประเทศญี่ปุ่น vs. โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน.. ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ประเทศญี่ปุ่นและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ประเทศญี่ปุ่นและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มี 20 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชูโงกุยุทธการที่เซะกิงะฮะระยุคอาซูจิ–โมโมยามะยุคเอะโดะยุคเซ็งโงกุรัฐบาลเอโดะอะเกะชิ มิสึฮิเดะจักรพรรดิโกะ-โยเซจังหวัดฟูกูอิจังหวัดกิฟุคันโตตระกูลโฮโจนางาซากิโทกูงาวะ อิเอยาซุโทโฮกุโตเกียวไดเมียวเกาะชิโกกุเกาะคีวชูเคียวโตะ

ชูโงกุ

ูโงกุ หรือ ชูโกกุ เป็นภูมิภาคทางส่วนปลายสุดของเกาะฮนชู โดยทิศเหนือติดทะเลญี่ปุ่น ทิศใต้ติดกับทะเลในทะเลเซโตะใน (Seto Naikai) ซึ่งเป็นผืนน้ำขนาด 9,500 ตารางกิโลเมตร มีเกาะเล็ก ๆ ระเกะระกะกว่า 1,000 เกาะ และได้รับการประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของญี่ปุ่น ชูโงกุมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 7.8 ล้านคน จากทั้งหมด 5 จังหวัด ซึ่งแบ่งเป็นสองด้านโดยเทือกเขาชูโงกุ ทางตอนกลางของภูมิภาค ด้านที่อยู่ทางฝั่งทะเลญี่ปุ่นเรียกว่า San-In ซึ่งแปลว่าร่มเงาของภูเขา ได้แก่จังหวัดทตโตริ ชิมาเนะ และตอนเหนือของจังหวัดยามางูจิ ภูมิอากาศของดินแดนทางด้านทะเลญี่ปุ่นนี้ มีแสงแดดจ้าและสดใสในฤดูร้อน ฤดูหนาวอากาศหนาวเย็น มรสุมจากทางตะวันตกเฉียงเหนือทำให้มีหมอกจัดและเมฆหนาทึบ ส่วนอีกด้านหนึ่งเรียกว่า San-Yo คือทางฝั่งทะเลใน ประกอบไปด้วยจังหวัดโอกายามะ ฮิโรชิมะ และทางตอนใต้ของจังหวัดยามางูจินั้นมีอากาศอุ่นสบายตลอดปี ปริมาณน้ำฝนมีไม่มาก มีแสงแดดจ้าเป็นส่วนใหญ่นอกจากเมืองฮิโรชิมะที่เป็นที่รู้จักกันดี เนื่องจากผลของการทิ้งระเบิดปรมาณูเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 แล้ว ภูมิภาคนี้ยังมีชื่อเสียงในเรื่องของปราสาท สถาปัตยกรรมและศิลปหัตถกรรมโบราณ รวมถึงเนินทรายที่เลื่องชื่อแห่งทตโตริก็อยู่ที่ภูมิภาคนี้.

ชูโงกุและประเทศญี่ปุ่น · ชูโงกุและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เซะกิงะฮะระ

ทธการเซะกิงะฮะระ เป็นยุทธการแตกหักเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ประเทศญี่ปุ่นและยุทธการที่เซะกิงะฮะระ · ยุทธการที่เซะกิงะฮะระและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ

อาซูจิ–โมโมยามะ เป็นยุคที่เริ่มตั้งแต..

ประเทศญี่ปุ่นและยุคอาซูจิ–โมโมยามะ · ยุคอาซูจิ–โมโมยามะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเอะโดะ

อะโดะ หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868 คือยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน..

ประเทศญี่ปุ่นและยุคเอะโดะ · ยุคเอะโดะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเซ็งโงกุ

ซ็งโงกุ เป็นช่วงเวลาของความไม่สงบใน ญี่ปุ่น อันเกิดจากอำนาจการปกครองของ โชกุนตระกูลอาชิกางะในยุคมูโรมาจิเสื่อมลง ทำให้บรรดาไดเมียวผู้ปกครองแคว้นต่าง ๆ ในญี่ปุ่นต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ โดยเฉพาะไดเมียวที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงเกียวโตมาก และทำสงครามกันเอง ทำให้ญี่ปุ่นลุกเป็นไฟ บ้านเมืองไม่มีขื่อแป โชกุนที่เกียวโตไม่สามารถทำอะไรได้เพราะเป็นเพียงหุ่นเชิดของไดเมียวที่มีอำนาจ สมัยเซ็งโงกุเป็นสมัยแห่งวีรบุรุษ โดยเฉพาะวีรบุรุษทั้งสามที่รวมประเทศญี่ปุ่นให้กลับเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งเป็นการสิ้นสุดสมัยเซ็งโงกุ ได้แก่ โอดะ โนบูนางะ, โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ, และ โทกูงาวะ อิเอยาซุ อักษรคันจิของคำว่ายุคเซ็งโงกุ ตรงกับคำว่า "ยุคจ้านกว๋อ" ในภาษาจีน หมายถึง "ยุครณรัฐ" ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในช่วงระหว่าง 477-222 ปีก่อน..

ประเทศญี่ปุ่นและยุคเซ็งโงกุ · ยุคเซ็งโงกุและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเอโดะ

รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ. 1603 - 1868 จนกระทั่งถูกสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ (明治天皇 Meiji-tennō) ล้มล้างไปในการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治維新 Meiji Ishin) หลังจากยุคเซงโงะกุ (戦国時代 Sengoku-jidai) หรือยุคไฟสงคราม โอดะ โนะบุนะงะ (織田 信長 Oda Nobunaga) และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (豊臣 秀吉 Toyotomi Hideyoshi) ได้ร่วมกันรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง และตั้งเป็นรัฐบาลกลางขึ้นอีกครั้งในยุคอะซึจิ-โมะโมะยะมะ (あづちももやまじだい Azuchi momoyama jidai) ซึ่งเป็นยุคสั้นๆ ก่อนยุคเอโดะ ต่อมา หลังจากยุทธการเซะกิงะฮะระ (関ヶ原の戦い Sekigahara no Tatakai) ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ในค.ศ. 1600 การปกครองและอำนาจทั้งหมด ได้ตกอยู่ในมือของโทกูงาวะ อิเอะยะสุโดยเบ็ดเสร็จ และสถาปนาตนเองเป็นโชกุนในปี ค.ศ. 1603 ซึ่งเป็นไปตามประเพณีโบราณ ที่ผู้เป็นโชกุนจะต้องสืบเชื้อสายจากต้นตระกูลมินะโมะโตะ (源 Minamoto) ในยุคของโทกูงาวะ ต่างจากยุคโชกุนก่อนๆ คือมีการนำระบบชนชั้นที่เริ่มใช้โดยโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มาใช้อีกครั้งอย่างเข้มงวด โดยชนชั้นนักรบ หรือซามูไร (侍 Samurai) อยู่บนสุด ตามด้วยชาวนา ช่างฝีมือ และพ่อค้า การใช้ระบบชนชั้นอย่างเข้มงวดและไม่ยืดหยุ่นได้ทำให้เกิดจลาจลมาตลอดสมัย ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นชาวนานั้น อยู่ในอัตราคงที่โดยไม่คำนึงถึงอัตราเงินเฟ้อหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของค่าเงิน ส่งผลให้รายได้ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นซามูไร ผู้เป็นเจ้าของที่ดินมีมูลค่าลดลงเรื่อยๆตลอดยุค ซึ่งสาเหตุนี้ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างซามูไรผู้ทรงเกียรติแต่ฐานะทางการเงินต่ำลงเรื่อยๆจากการจ่ายภาษี กับชาวนาผู้มีอันจะกิน เกิดเป็นการปะทะกันหลายต่อหลายครั้งที่เริ่มจากเหตุการณ์เล็กๆรุกลามเป็นเหตุการณ์วุ่นวาย อย่างไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงระบบสังคมยุคเอโดะได้ ตราบจนการเข้ามาของชาวตะวันตก เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กลุ่มไดเมียวผู้มีอำนาจ เช่น ตระกูลชิมะสึ (島津氏 Shimazu-shi) ได้ร่วมมือกับสมเด็จพระจักรพรรดิและพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งในสมัยเอโดะเคยทรงเพียงศักดิ์แต่ไร้อำนาจ เพื่อโค่นล้มระบอบโชกุนในโดยสงครามโบะชิน (戊辰戦争 Boshin Sensō) ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปเมจิโดยจักรพรรดิเมจิ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะถูกล้มล้างโดยสมบูรณ์ในค.ศ. 1868 โดยมีโทกูงาวะ โยชิโนบุ (徳川 慶喜 Tokugawa Yoshinobu) เป็นโชกุนคนที่ 15 และเป็นโชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่น จากนั้น ญี่ปุ่นก็เข้าสู่ยุคเมจิ (明治時代 Meiji-jidai)อันมีการฟื้นฟูราชวงศ์มายังเมืองเอโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงโตเกียวดังเช่นปัจจุบัน.

ประเทศญี่ปุ่นและรัฐบาลเอโดะ · รัฐบาลเอโดะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

อะเกะชิ มิสึฮิเดะ

อะเกะชิ มิสึฮิเดะ เป็นขุนพลคนสำคัญของ โอะดะ โนะบุนะงะ ในยุคเซ็งโงะก.

ประเทศญี่ปุ่นและอะเกะชิ มิสึฮิเดะ · อะเกะชิ มิสึฮิเดะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-โยเซ

ักรพรรดิโกะ-โยเซ เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 107 ของญี่ปุ่นครองราชย์ระหว่างปี..

จักรพรรดิโกะ-โยเซและประเทศญี่ปุ่น · จักรพรรดิโกะ-โยเซและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟูกูอิ

จังหวัดฟูกูอิ ตั้งอยู่บริเวณภาคจูบุของญี่ปุ่น มีเมืองหลักอยู่ที่เมืองฟูกูอิ ฟูกูอิ.

จังหวัดฟูกูอิและประเทศญี่ปุ่น · จังหวัดฟูกูอิและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกิฟุ

ังหวัดกิฟุ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในบริเวณภูมิภาคจูบุบนเกาะฮนชู โดยเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในใจกลางของประเทศญี่ปุ่น.

จังหวัดกิฟุและประเทศญี่ปุ่น · จังหวัดกิฟุและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

คันโต

ันโต เป็นภูมิภาคของประเทศญี่ปุ่นบนเกาะฮนชู ในภาคคันโตประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกุมมะ, คะนะงะวะ, ชิบะ, ไซตะมะ, โตเกียว, โทะชิงิ และ อิบะระกิ คันโตมีขนาดประมาณ 32,423.85 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 40 และที่เหลือมีลักษณะเป็นภูเขา ภาคคันโตมีประชากรประมาณ 41,487,171 คน (วันที่ 1 ตุลาคม..

คันโตและประเทศญี่ปุ่น · คันโตและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลโฮโจ

ตระกูลโฮโจ (Hōjō Clan) เป็นตระกูล ซะมุไร ที่ทรงอิทธิพลในยุค คะมะกุระ เพราะผู้นำตระกูลคนแรกคือ โฮโจ โทะคิมะซะ เป็นพ่อตาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และเป็น ชิกเก็ง หรือ ผู้สำเร็จราชการ ในสมัยของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ โชกุนคนที่ 2 ผู้เป็นหลานชายคนโต ตระกูลโฮโจเริ่มมีบทบาทสำคัญเมื่อ โฮโจ โทะกิมะซะ ได้ช่วยชีวิต มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ จากการถูก ไล่ฆ่าพร้อมกับสนับสนุนโยะริโตะโมะให้ลุกขึ้นสู้กับ ตระกูลไทระ และยกลูกสาวให้แต่งงานด้วย หลังจาก สงครามเก็มเป ปรากฏว่าตระกูลมินะโมะ โตะได้ชัยชนะและทรงอำนาจในแผ่นดินเหนือราชสำนัก จึงทำให้ตระกูลโฮโจมีอำนาจและอิทธิพลตามไปด้วย หลังจาก จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เสด็จสวรรคตลง ในปี ค.ศ. 1192 โยะริโตะโมะจึงได้รับพระราชทาน ตำแหน่ง เซไตโชกุน เป็นคนแรกจาก จักรพรรดิโกะ-โทะบะ ยิ่งทำให้ตระกูลโฮโจทรงอำนาจและอิทธิพล มากขึ้น ต่อมาในปี ค.ศ. 1202 โยะริโตะโมะถึงแก่อสัญกรรม โยะริอิเอะ บุตรชายคนโตจึงขึ้นเป็นโชกุนสืบต่อมา แต่ในสมัยของโยะริอิเอะอำนาจทั้งหมดอยู่ที่โทะคิมะซะ ผู้เป็นตาพร้อมกันนั้นยังบีบบังคับโชกุนโยะริอิเอะให้ตั้ง ตัวเองเป็น ชิกเก็ง หรือผู้สำเร็จราชการทำให้โชกุน โยะริอิเอะไม่พอใจสละตำแหน่งให้ ซะเนะโตะโมะ ผู้ เป็นน้องชายหลังจากดำรงตำแหน่งเพียง 1 ปีซึ่งหลังจาก สมัยของโชกุนโยะริอิเอะเป็นต้นไปอำนาจทั้งหมดอยู่ที่ ชิกเก็งที่มาจากตระกูลโฮโจทั้งสิ้น ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงในปี ค.ศ. 1333 หลังจาก ตระกูลอะชิกะงะ ที่นำโดย อะชิกะงะ ทะกะอุจิ กระทำรัฐประหาร บุกเข้ายึด คะมะกุระ ทำให้ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงพร้อมกับตระกูลมินะโมะโต.

ตระกูลโฮโจและประเทศญี่ปุ่น · ตระกูลโฮโจและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

นางาซากิ

มืองนางาซากิ เป็นเมืองเอกและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนางาซากิ บนเกาะคิวชู ประเทศญี่ปุ่น นางาซากิถูกก่อตั้งขึ้นโดยชาวโปรตุเกสในปลายศตวรรษที่ 16 ซึ่งขณะนั้นเป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆเพื่อการประมง ซึ่งทำให้นางาซากิกลายเป็นศูนย์กลางอิทธิพลของชาวโปรตุเกสและชาวยุโรป ตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 ถึง 19 มีโบสถ์และศาสนสถานของศาสนาคริสต์มากมายในนางาซากิ ซึ่งศาสนสถานเหล่านี้ ได้ถูกขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก นอกเหนือไปจากนี้ ท่าเรือในนางาซากิ ยังเคยเป็นที่ตั้งของฐานทัพเรือของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง และ สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น นามของเมืองว่า "นางาซากิ" (長崎) มีความหมายว่า "แหลมที่ทอดยาว" ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง 9 สิงหาคม..

นางาซากิและประเทศญี่ปุ่น · นางาซากิและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอยาซุ

ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..

ประเทศญี่ปุ่นและโทกูงาวะ อิเอยาซุ · โทกูงาวะ อิเอยาซุและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

โทโฮกุ

ทโฮกุ แปลตรงตัวว่า "ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ" เป็นอนุภูมิภาคของญี่ปุ่น ดินแดนที่ครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสี่ทางเหนือของเกาะฮนชู มีชื่อเดิมว่า "มิชิโนะกุ" แปลว่าถนนภายในหรือถนนสายแคบ เนื่องจากในอดีตนั้นยากต่อการเข้าถึง ด้วยภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาขรุขระ และฤดูหนาวอันโหดร้าย โทโฮกุเป็นดินแดนที่ยังคงธรรมชาติอันสวยงาม และเป็นแหล่งของน้ำพุร้อนจำนวนนับไม่ถ้วน นอกจากนั้น โทโฮกุยังเป็นดินแดนแห่งตำนานเรื่องเล่าขานมากมาย และเป็นแห่งสุดท้ายที่ยังคงอนุรักษ์วิถีชีวิตขนบประเพณีญี่ปุ่นโบราณอยู่ รวมถึงหัตถกรรมพื้นเมืองที่ยังคงอนุรักษ์ไว้ ภายใต้ความเจริญและอารยธรรมสมัยใหม่ที่หลั่งไหลเข้ามา อนุภูมิอากาศในโทโฮกุ ถูกแบ่งโดยเทือกเขาที่เป็นแนวยาวจากเหนือลงมาเป็นสองด้าน คือทางด้านฝั่งทะเลญี่ปุ่น จะมีอากาศหนาวเย็น หิมะตกหนักในฤดูหนาว ในขณะที่ทางด้านฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกจะมีอากาศอบอุ่นกว่า ประชากรที่อาศัยอยู่ในแถบโทโฮกุ ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 9 ล้านคน ลดลงจากปี..

ประเทศญี่ปุ่นและโทโฮกุ · โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิและโทโฮกุ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ประเทศญี่ปุ่นและโตเกียว · โตเกียวและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมียว

ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.

ประเทศญี่ปุ่นและไดเมียว · โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิและไดเมียว · ดูเพิ่มเติม »

เกาะชิโกกุ

กกุ เป็นเกาะที่เล็กที่สุดในบรรดาสี่เกาะหลักของญี่ปุ่น มีพื้นที่ 18,783 ตารางกิโลเมตร ถูกล้อมรอบ 3 ด้านด้วยเกาะฮนชูและเกาะคีวชู ตอนกลางของเกาะมีภูเขาสูงกว่าระดับน้ำทะเล 1,000-2,000 เมตร มีประชากรประมาณ 4.2 ล้านคนอาศัยอยู่กระจายตามที่ลุ่มชายฝั่งทะเล หากเทียบกับอีก 3 เกาะหลักของญี่ปุ่นแล้ว ชิโกกุมีความเงียบสงบและยังคงบรรยากาศแบบธรรมชาติไว้ได้ โดยที่ไม่ถูกกลืนโดยวัฒนธรรมสมัยใหม่ ชิโกกุถูกแบ่งออกเป็นตอนเหนือและตอนใต้โดยภูเขาสูงชัน ทางเหนือมีปริมาณน้ำฝนน้อยและมีเมืองอุตสาหกรรมอยู่ตลอดแนว ส่วนทางใต้ด้านมหาสมุทรแปซิฟิกนั้นจะเป็นป่ารก อากาศจะอบอุ่น ปริมาณน้ำฝนมีมาก อากาศบนเกาะจะอบอุ่นสบายในช่วงต้นฤดูใบไม้ผลิ และช่วงเริ่มฤดูใบไม้ร่วง นอกจากอุตสาหกรรมผลิตเหล็กและเคมีแล้ว การประมงกับการเกษตรกรรมแบบเร่งผลผลิตทำกันอย่างแพร่หลาย บนที่ราบของเมืองโคจิชายฝั่งทะเลแปซิฟิก มีการมีการทำไร่ผลไม้ และการปลูกผักในเรือนกระจก เกาะชิโกกุถูกเชื่อมต่อกับเกาะฮนชูด้วยสะพานเซโตโอฮาชิ ซึ่งเป็นสะพานหกสาย ใช้เกาะเล็ก ๆ 5 แห่งเป็นจุดเชื่อมต่อ ด้วยความยาวถึง 12.3 กิโลเมตร ทำให้สะพานแห่งนี้ เป็นหนึ่งในสะพานสองชั้นที่มีความยาวมากกว่าสะพานแห่งอื่น ๆ ในโลกเก.

ประเทศญี่ปุ่นและเกาะชิโกกุ · เกาะชิโกกุและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคีวชู

ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.

ประเทศญี่ปุ่นและเกาะคีวชู · เกาะคีวชูและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

เคียวโตะ

ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.

ประเทศญี่ปุ่นและเคียวโตะ · เคียวโตะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศญี่ปุ่นและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ประเทศญี่ปุ่น มี 366 ความสัมพันธ์ขณะที่ โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มี 52 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 20, ดัชนี Jaccard คือ 4.78% = 20 / (366 + 52)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศญี่ปุ่นและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »