เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ประเทศกัมพูชา

ดัชนี ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 151 ความสัมพันธ์: ชมพูทวีปบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษชาวญวนชาวจามชาวจีนชาวเขมรบานลุง (เมือง)พ.ศ. 2543พยานพระยะโฮวาพรรคฟุนซินเปกพรรคประชาชนกัมพูชาพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนีพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤตพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระสีหนุ (เมือง)พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระตะบอง (เมือง)พระโพธิสัตว์พระเจ้าชัยวรมันที่ 2พนมอาออรัลพนมตะแบงมีชัยพนมเปญกรมประชาชนกรมปรึกษาราชบัลลังก์กระแจะ (เมือง)กรณีพิพาทอินโดจีนกลุ่มภาษามอญ-เขมรกัมพูชาเชื้อสายจีนกำปอต (เมือง)กำปงชนัง (เมือง)กำปงจาม (เมือง)กำปงธม (เมือง)ภาษาฝรั่งเศสภาษาเขมรมหายานมอรมอนราชรัฏฐาภิบาลรวบรวมชาติกัมพูชาราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชารายนามนายกรัฐมนตรีกัมพูชาลอน นอลลัทธิเต๋าลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)ศรีโสภณศาลศาสนาพุทธศาสนาอิสลามศาสนาฮินดู... ขยายดัชนี (101 มากกว่า) »

  2. ประเทศในทวีปเอเชีย
  3. ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  4. รัฐพุทธ
  5. รัฐสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  6. รัฐสมาชิกองค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส
  7. รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2496
  8. รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2536
  9. ราชอาณาจักร
  10. อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศส

ชมพูทวีป

มพูทวีป มีความหมายได้ 2 ประการ ประการแรกหมายถึง ดินแดนที่เป็นประเทศอินเดีย ปากีสถาน เนปาลและบังกลาเทศในปัจจุบัน มีชื่อเรียกทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่า “เอเชียใต้”, “อนุทวีปอินเดีย”, หรือ “ภารตวรรษ” (Bharatavarsa) ประการที่สองหมายถึงทวีปใหญ่ทางทิศใต้ของเขาพระสุเนรุซึ่งเป็น 1 ใน 4 ทวีปของชาวภารตะ (อุตรกุรูทวีป บุพวิเทหทวีป ชมพูทวีป และอมรโคยานทวีป).

ดู ประเทศกัมพูชาและชมพูทวีป

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ดู ประเทศกัมพูชาและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ชาวญวน

วญวน หรือ เวียดนาม เรียกตนเองว่า เหวียต หรือ เหยียก (người Việt) หรือ กิญ (người Kinh) ภาษาไทยถิ่นอีสานและลาวเรียกว่า แกวแกว คือคำว่า แกว ๆ มีความหมายถึงเสียงดังแซดแต่ไม่ได้ศัพท์ ซึ่งจิตร ภูมิศักดิ์มองว่าน่าจะเป็นการล้อเลียนเสียงพูดในภาษาเวียดนามที่มีเสียงสูงต่ำตัดกันชัดเจนกว่าภาษาไทย-ลาว นอกจากนี้ยังมีคำลาวในวรรณคดีเรื่องท้าวฮุ่งเรียกชาวเวียดนามอย่างเหยียดหยามว่า แย้, แกวแย้ และแกวม้อย (จิตร ภูมิศักดิ์.

ดู ประเทศกัมพูชาและชาวญวน

ชาวจาม

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับความหมายอื่นดูที่ จาม จาม (người Chăm เหงื่อยจัม, người Chàm เหงื่อยจ่าม; จาม: Urang Campa อูรัง จัมปา) จัดอยู่ในตระกูลภาษามาลาโยโพลินีเชียน อาศัยอยู่บริเวณทางใต้ของเวียดนาม และเป็นกลุ่มชนมุสลิมเป็น 1 ใน 54 ชาติพันธุ์ของประเทศเวียดนาม ในอดีตชนชาติจามตั้งอาณาจักรจามปาที่ยิ่งใหญ่ มีความเจริญรุ่งเรืองช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2-15 ด้วยอาณาเขตติดทะเล ชาวจามจึงมีความสามารถเดินเรือและค้าขายไปตามหมู่เกาะ ไกลถึงแถบตะวันออกกลาง รวมถึงประเทศจีน ส่วนใหญ่เป็นผ้าไหม ไม้หอม เครื่องปั้นดินเผา ปัจจุบันคือบริเวณเมืองดานัง เมืองท่าในตอนกลางของเวียดนาม มีเมืองหลวงชื่อ วิชัย (ปัจจุบันคือเมืองบิญดิ่ญ) มีโบราณสถานกระจัดกระจายอยู่ตามภูเขาต่าง ๆ ในเวียดนาม กระทั่งในปี ค.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและชาวจาม

ชาวจีน

รูปวาดในกรุงปักกิ่งแสดงถึงชนเผ่าทั้ง 56 ของจีน ชาวจีน อาจหมายถึง.

ดู ประเทศกัมพูชาและชาวจีน

ชาวเขมร

วเขมร (Khmer people) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีมากที่สุดในประเทศกัมพูชา คิดเป็น 90% ของทั้งประเทศ Accessed July 14, 2008.

ดู ประเทศกัมพูชาและชาวเขมร

บานลุง (เมือง)

นลุง (បានលុង) เป็นเมืองหลักของจังหวัดรัตนคีรี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศกัมพู.

ดู ประเทศกัมพูชาและบานลุง (เมือง)

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ประเทศกัมพูชาและพ.ศ. 2543

พยานพระยะโฮวา

นพระยะโฮวา (Jehovah's Witnesses) คือชื่อเรียกที่มาจากคัมภีร์ไบเบิล อิสยาห์ บทที่ 43 ข้อ 10 ที่ใช้ชื่อนี้เพราะพวกเขาเป็นผู้ที่เป็นพยานให้กับพระยะโฮวา ในเรื่องที่ว่าพระยะโฮวาเป็นพระเจ้าองค์เที่ยงแท้องค์เดียวเป็นผู้เดียวที่สมควรได้รับการนมัสการจากสิ่งมีเชาว์ปัญญาทั้งหลาย และยังเป็นพยานให้กับสิ่งที่พระยะโฮวาได้ทรงทำแล้วในอดีตจนถึงปัจจุบัน.

ดู ประเทศกัมพูชาและพยานพระยะโฮวา

พรรคฟุนซินเปก

รรคฟุนซินเปก (FUNCINPEC; គណបក្ស ហ្វ៊ុនស៊ិនប៉ិច คณปกฺส หฺวุ̃นซินปิจ) เป็นพรรคการเมืองนิยมเจ้าในกัมพูชา โดยเป็นพรรคร่วมรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง..

ดู ประเทศกัมพูชาและพรรคฟุนซินเปก

พรรคประชาชนกัมพูชา

รรคประชาชนกัมพูชา (គណបក្សប្រជាជនកម្ពុជា คณบกฺสบฺรชาชนกมฺพุชา: KPK; Cambodian People’s Party เป็นพรรคที่สืบทอดมาจากพรรคปฏิวัติประชาชนกัมพูชาที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและพรรคประชาชนกัมพูชา

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

ระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี (ព្រះបាទសម្តេចព្រះបរមនាថ នរោត្តម សីហមុនី พฺระบาทสมฺเตจพฺระบรมนาถ นโรตฺตม สีหมุนี; ออกเสียง โนโรด็อม เส็ยหะโมนี; ประสูติ 14 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថ; พระบาทสีสุวัตถิ์, ในเอกสารไทยเรียกว่า "สมเด็จพระศรีสวัสดิ์") พระมหากษัตริย์ผู้ปกครองพระราชอาณาจักรกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

ระบาทสมเด็จพระนโรดม (ព្រះបាទនរោត្តម, พฺระบาทนโรตฺตม "พระบาทนโรดม") หรือ สมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ หรือ นักองค์ราชาวดี (អង្គ រាជាវតី, องคฺราชาวดี "องค์ราชาวดี") เสด็จพระราชสมภพเมี่อ15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา นับตั้งแต่สมัยการยึดครองของฝรั่ง.

ดู ประเทศกัมพูชาและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

พระสีหนุ (เมือง)

มืองพระสีหนุ (ក្រុងព្រះសីហនុ, กรงเปรียะสีหนุ) หรือ กำปงโสม (កំពង់សោម; ก็อมปวงโสม) เป็นเมืองชายทะเลยอดนิยมมากที่สุดของประเทศกัมพูชา และเป็นเมืองเอกของจังหวัดพระสีหนุ อยู่ห่างจากกรุงพนมเปญ 246 กิโลเมตร ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ มีประชากร 89,846 คน เมืองพระสีหนุมีชายหาดทั้งหมด 5 แห่ง ว่ากันว่าที่สวยที่สุด คือ หาดสุขาและหาดโอจือเตียล (Occheuteal) เมืองพระสีหนุติดอันดับ 8 ในการจัดอันดับ 10 สุดยอดหาดในเอเชีย โดยหนังสือพิมพ์ Sunday Herald Sun ของ ประเทศออสเตรเลี.

ดู ประเทศกัมพูชาและพระสีหนุ (เมือง)

พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์

ระอวโลกิเตศวร เป็นพระโพธิสัตว์องค์สำคัญของพระพุทธศาสนามหายาน ที่มีผู้เคารพศรัทธามากที่สุด และเป็นบุคลาธิษฐานแห่งมหากรุณาคุณของพระพุทธเจ้าทั้งปวง เรื่องราวของพระอวโลกิเตศวรปรากฏอยู่ทั่วไปในคัมภีร์สันสกฤตของมหายาน อาทิ ปรัชญาปารมิตาสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร และการัณฑวยูหสูตฺร.

ดู ประเทศกัมพูชาและพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์

พระตะบอง (เมือง)

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង) เป็นเมืองหลักของจังหวัดพระตะบอง ทางตะวันตกเฉียงเหนือของกัมพูชา ก่อตั้งขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 11 โดยกษัตริย์เขมร รู้จักกันในฐานะแหล่งปลูกข้าวชั้นนำของประเทศ สมัยก่อนเคยเป็นเมืองสยาม แต่ต่อมาก็ได้เป็นเมืองของกัมพูชา เมืองนี้ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสังแก.

ดู ประเทศกัมพูชาและพระตะบอง (เมือง)

พระโพธิสัตว์

ระปรัชญาปารมิตา ชวา ศิลปะศรีวิชัย พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ ศิลปะขอม วัดโทได พระโพธิสัตว์ (बोधिसत्त्व bodhisattva; बोधिसत्त bodhisatta) หมายถึง ผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า คำว่า "โพธิสัตว์" แปลว่า ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานเชื่อว่ามีพระโพธิสัตว์เป็นจำนวนมาก แต่รายละเอียดความเชื่อแตกต่างกันไป.

ดู ประเทศกัมพูชาและพระโพธิสัตว์

พระเจ้าชัยวรมันที่ 2

* พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 (ជ័យវរ្ម័នទី២, Jayavarman II) คือผู้รวมอาณาจักรขะแมร์ทางใต้ให้เป็นปึกแผ่นขึ้นมา และประกาศให้เขมรเป็นเอกราชไม่อยู่ใต้อำนาจของชวาอีกต่อไป เป็นผู้วางรากฐานการปกครองที่มีกษัตริย์ อยู่ในฐานะอันสูงส่ง ที่เรียกว่า เทวราชา ในสมัยของ พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ระหว่าง ค.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและพระเจ้าชัยวรมันที่ 2

พนมอาออรัล

นมอาออรัล เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดของประเทศกัมพูชา มีความสูงอยู่ที่ 1,813 เมตร (แหล่งข้อมูลอื่นให้ความสูง 1,771 เมตร และ 1,667 เมตร).

ดู ประเทศกัมพูชาและพนมอาออรัล

พนมตะแบงมีชัย

ตะแบงมีชัย (ត្បែងមានជ័យ) เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดพระวิหาร ทางภาคเหนือของประเทศกัมพูชา โดยตั้งอยู่ใกล้กับเทือกเขาพนมตะแบงมีชัย มีสถานที่สำคัญ เช่น กลุ่มปราสาทเกาะแกร์ กลุ่มปราสาทพระขรรค์ เป็นต้น หมวดหมู่:เมืองในประเทศกัมพูชา หมวดหมู่:จังหวัดพระวิหาร.

ดู ประเทศกัมพูชาและพนมตะแบงมีชัย

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ดู ประเทศกัมพูชาและพนมเปญ

กรมประชาชน

กรมประชาชน (ក្រុមប្រជាជន กฺรุมบฺรชาชน ออกเสียง กร็อมปรอเจียจ็วน, Citizen's Association หรือ People's Association) เป็นพรรคการเมืองในกัมพูชาที่เข้าร่วมในการเลือกตั้งเมื่อ..

ดู ประเทศกัมพูชาและกรมประชาชน

กรมปรึกษาราชบัลลังก์

กรมปรึกษาราชบัลลังก์ (ក្រុមប្រឹក្សារាជបល្ល័ង្ក กฺรุมปรึกฺสาราชปลฺลังฺก) เป็นองค์คณะบุคคลจำนวน 9 คนของประเทศกัมพูชาซึ่งมีหน้าที่คัดเลือกผู้ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชา ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งพระราชอาณาจักรกัมพูชาเมื่อวันที่ 24 กันยายน..

ดู ประเทศกัมพูชาและกรมปรึกษาราชบัลลังก์

กระแจะ (เมือง)

กระแจะ (ក្រចេះ) เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดกระแจะ ประเทศกัมพูชา มีประชากร 38,215 คน เป็นเมืองตลาดการค้า และมีตึกเก่าสมัยอาณานิคม ตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงซึ่งมีชายหาด และยังเป็นแหล่งอาศัยของโลมาอิรวดีอีกด้วย จากการสำรวจในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและกระแจะ (เมือง)

กรณีพิพาทอินโดจีน

กรณีพิพาทอินโดจีน หรือ สงครามอินโดจีน ในต่างประเทศเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส-ไทย เป็นการสู้รบระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศสเขตวีชีเหนือดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศส จอมพล ป.

ดู ประเทศกัมพูชาและกรณีพิพาทอินโดจีน

กลุ่มภาษามอญ-เขมร

กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับกลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ ตามการแบ่งของ Diffloth ที่เขียนไว้ใน Encyclopedia Britannica เมื่อ..

ดู ประเทศกัมพูชาและกลุ่มภาษามอญ-เขมร

กัมพูชาเชื้อสายจีน

วกัมพูชาเชื้อสายจีน (ចិនកម្ពុជា) คือชาวจีนที่เกิดในประเทศกัมพูชา หรือเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือ ชาวจีนโพ้นทะเล โดยอาจเป็นลูกผสมระหว่างชาวกัมพูชากับจีนที่อาศัยอยู่ภายในประเทศกัมพูชา ในช่วง ค.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและกัมพูชาเชื้อสายจีน

กำปอต (เมือง)

กำปอต (ក្រុងកំពត) เป็นเมืองทางตอนใต้ของประเทศกัมพูชา และเป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดกำปอต ตั้งอยู่บริเวณแม่น้ำแพร็กตึกชู ใกล้กับเทือกเขาดมเร็ยและอ่าวไทย กำปอตยังเคยเป็นศูนย์กลางของ Circonscription Résidentielle de Kampot ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส และยังเป็นเมืองท่าที่สำคัญ ก่อนที่เมืองพระสีหนุจะถูกก่อตั้งขึ้น กำปอตแตกต่างจากเมืองอื่น ๆ เพราะมีสิ่งก่อสร้างในยุคอาณานิคมของฝรั่งเศสหลายแห่ง เมืองนี้มีชื่อเสียงในด้านพริกไทย ซึ่งส่งออกไปทั่วโลก และยังส่งออกน้ำปลาท้องถิ่น และทุเรียนอีกด้วย สถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ได้แก่ เทือกเขาดมเร็ย และเทือกเขาบอกอร.

ดู ประเทศกัมพูชาและกำปอต (เมือง)

กำปงชนัง (เมือง)

กำปงชนัง (ក្រុងកំពង់ឆ្នាំង) เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดกำปงชนัง ประเทศกัมพูชา อยู่ทางตะวันตกของโตนเลสาบ เป็นเมืองท่าที่สำคัญ เชื่อมต่อกับพนมเปญได้โดยทางหลวงแผ่นดินและทางรถไฟ มีสถานที่สำคัญคือพนมกงเร พืชเศรษฐกิจที่สำคัญคือข้าว และมีการทำอาชีพตกปลากันมากในช่วงฤดูมรสุม.

ดู ประเทศกัมพูชาและกำปงชนัง (เมือง)

กำปงจาม (เมือง)

กำปงจาม (ក្រុងកំពង់ចាម) เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดกำปงจาม ประเทศกัมพูชา มีประชากร 41,468 คน (ค.ศ. 2010) ตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขง อยู่ห่างจากพนมเปญไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 124 กิโลเมตร สามารถเดินทางได้ทั้งทางถนนและทางน้ำ โดยใช้เวลาเดินทางจากพนมเปญมายังกำปงจาม 2 ชั่วโมงครึ่ง เมืองนี้สามารถเชื่อมต่อกับอำเภอตะบงขะมำโดยสะพานกีซูน.

ดู ประเทศกัมพูชาและกำปงจาม (เมือง)

กำปงธม (เมือง)

กำปงธม (ក្រុងកំពង់ធំ krong kampongthom, "ท่าเรือใหญ่") เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดกำปงธม ประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสตึงแสน เป็นเมืองทางผ่านบนทางหลวงหมายเลข 6 ระหว่างพนมเปญและเสียมราฐ กำปงธมมีแม่น้ำผ่ากลางเมือง โดยมีโรงเรียนมัธยมอยู่ฝั่งเหนือ และมีตลาดอยู่ฝั่งใต้ กำปงธม มีเพื่อนบ้านคือเมืองสตึงแสน (ក្រុងស្ទឹងសែន krong steungsaen) ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศใต้ และยังเป็นอำเภอในจังหวัดกำปงธม นอกจากนี้ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญคือ เจดีย์ลอยน้ำ (វត្ត ក្ដីអណ្ដែត) และวงเวียนรูปปั้นช้างต่อสู้กับเสือ.

ดู ประเทศกัมพูชาและกำปงธม (เมือง)

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและภาษาฝรั่งเศส

ภาษาเขมร

ษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร เพียซา ขฺมะเอ) ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่านศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และภาษาจีนจากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และภาษามลายูจากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมีอาณาจักรจามปาในตอนกลางของประเทศเวียดนาม ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต.

ดู ประเทศกัมพูชาและภาษาเขมร

มหายาน

มหายาน เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายอาจริยวาท ที่นับถือกันอยู่ประเทศแถบตอนเหนือของอินเดีย, เนปาล, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, เวียดนาม, มองโกเลีย ไปจนถึงบางส่วนของรัสเซีย จุดเด่นของนิกายนี้อยู่ที่แนวคิดเรื่องการบำเพ็ญตนเป็นพระโพธิสัตว์สร้างบารมีเพื่อช่วยเหลือสรรพชีวิตในโลกไปสู่ความพ้นทุกข์ ด้วยเหตุที่มีผู้นับถืออยู่มากในประเทศแถบเหนือจึงเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า อุตตรนิกาย ปัจจุบันพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ของโลกเป็นผู้นับถือนิกายมหายาน.

ดู ประเทศกัมพูชาและมหายาน

มอรมอน

รัสเซลล์ เอ็ม. เนลสัน เป็นผู้นำศาสนาคริสต์นิกายมอรมอนคนปัจจุบัน จำนวนสมาชิกของศาสนจักรมอรมอนทั่วโลกเมื่อปี 2009https://www.mormonnewsroom.org/facts-and-statistics มอรมอน (Mormon) เป็นคริสต์ศาสนิกชนกลุ่มหนึ่งในขบวนการวิสุทธิชนยุคสุดท้าย ซึ่งโจเซฟ สมิธ เป็นผู้ริเริ่มขบวนการนี้ขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1820 ปัจจุบันชาวมอรมอนส่วนใหญ่เป็นสมาชิกศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้าย ชาวมอรมอนมีบทบาทมากในรัฐยูทาห์ สหรัฐอเมริกา แต่ศาสนิกชนส่วนมากอาศัยอยู่นอกสหรัฐ ชาวมอรมอนยอมรับคัมภีร์ไบเบิลและคัมภีร์อื่น ๆ ด้วยโดยเฉพาะพระคัมภีร์มอรมอน และเชื่อว่าโจเซฟ สมิธ เป็นผู้ฟื้นฟูคริสตจักรของพระคริสต์ และยังมีการสืบทอดตำแหน่งผู้เผยพระวจนะและอัครทูตในฐานะผู้นำคริสตจักร ในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและมอรมอน

ราชรัฏฐาภิบาลรวบรวมชาติกัมพูชา

ราชรัฏฐาภิบาลรวบรวมชาติกัมพูชา (រាជរដ្ឋាភិបាលរួបរួមជាតិកម្ពុជា ราชรฎฺฐาภิบาลรัวบรัวมชาติกมฺพุชา; Royal Government of National Union of Kampuchea; Gouvernement Royal d'Union Nationale du Kampuchéa: GRUNK) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่นของกัมพูชา ตั้งขึ้นที่ปักกิ่ง คงอยู่ระหว่าง..

ดู ประเทศกัมพูชาและราชรัฏฐาภิบาลรวบรวมชาติกัมพูชา

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ดู ประเทศกัมพูชาและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ดู ประเทศกัมพูชาและรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

รายนามนายกรัฐมนตรีกัมพูชา

นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (នាយករដ្ឋមន្ត្រីកម្ពុជា นายกรฎฺฐมนฺตฺรีกมฺพุชา) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรีในพระราชาณาจักรกัมพูชา (នាយករដ្ឋមន្ត្រីនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា นายกรฎฺฐมนฺตฺรีไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นประธานคณะรัฐมนตรีกัมพูชา ทั้งเป็นผู้แทนรัฐบาลในกิจการภายในและต่างประเทศ ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ไม่จำกัดวาระ ตามรัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีจำต้องเป็นสมาชิกรัฐสภากัมพูชา อันเป็นสภาล่างในสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา และต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อนที่พระมหากษัตริย์กัมพูชาจะทรงแต่งตั้ง อนึ่ง ตามธรรมเนียม เมื่อได้รับแต่งตั้งแล้ว นายกรัฐมนตรีจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์และสังฆราชแห่งมหานิกายกับธรรมยุติกนิกาย ณ พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล นับแต..

ดู ประเทศกัมพูชาและรายนามนายกรัฐมนตรีกัมพูชา

ลอน นอล

ลอน นอล (លន់ នល់ ลน่ นล่; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 - 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1985) เป็นนายทหารและนักการเมืองกัมพูชา เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาสองสมัย และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมอีกหลายครั้ง เป็นผู้ก่อการรัฐประหารล้มอำนาจของรัฐบาลเจ้านโรดม สีหนุในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและลอน นอล

ลัทธิเต๋า

ัญลักษณ์ หยิน-หยาง ลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า (道教 Dàojiao; Taoism) เป็นปรัชญาและศาสนาที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน เน้นการใช้ชีวิตกลมกลืนกับเต๋า ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในสำนักปรัชญาจีนส่วนใหญ่ แต่ในศาสนาเต๋า เต๋าหมายถึงต้นกำเนิด แบบแผน และสารัตถะของสรรพสิ่ง ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่างลัทธิขงจื๊อ แม้แต่ละนิกายมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ "อู๋เหวย์" ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์อี้จิง ต่อมาใช้เต้าเต๋อจิงของเล่าจื๊อและคัมภีร์จวงจื๊อเป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัยราชวงศ์ฮั่น ลัทธิเต๋าในจ๊กก๊กเริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ จนถึงปัจจุบันศาสนาเต๋าแบ่งเป็น 2 นิกายหลักคือ สำนักฉวนเจินและสำนักเจิ้งอี หลังสมัยของเล่าจื๊อและจวงจื๊อ มีการจัดสารบบวรรณกรรมศาสนาเต๋าต่าง ๆ และรวมทุกศาสตร์ทุกแขนงที่เกี่ยวกับเต๋าทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน เช่น พงศาวดาร ประวัติการสร้างศาสนา ตำรายาสมุนไพร ประวัติเทพเซียน องค์การ เพลงสรรเสริญ คู่มือการทำพิธีกรรมทางศาสนา ตำราการทำฮู้(ยันต์) ตำราการทำนายดวงชะตา(อี้จิง) หลักธรรมคำสอนของเล่าจื๊อ,จวงจื๊อ,เลี่ยจื๊อ,และปรมาจารย์ในประวัติศาสตร์ทุกท่านที่ศึกษาเต๋า(ซึ่งบางท่านอาจเกิดก่อนเล่าจื๊อ) บทสวดศาสนา และอื่นๆอีกมากมายเข้าไว้ด้วยกัน จนได้เป็นคัมภีร์เต้าจ้างและพิมพ์เผยแพร่ตามรับสั่งของจักรพรรดิจีน และเป็นศาสนาประจำชาติจีนมาตลอดจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงไม่ได้อยู่ในอุปถัมภ์ของราชสำนัก ปัจจุบัน ศาสนาเต๋าเป็นหนึ่งในห้าศาสนาที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในประเทศจีนและประเทศไต้หวัน แม้ศาสนานี้จะไม่แพร่หลายนอกประเทศจีนนัก แต่ก็พบว่ามีศาสนิกชนจำนวนหนึ่งในฮ่องกง มาเก๊า และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู ประเทศกัมพูชาและลัทธิเต๋า

ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ลาว (ລາວ) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ตระกูลภาษาไท-กะได เป็นชนชาติใหญ่ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในประเทศลาว มีประชากรประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นเป็นจำนวนร้อยละ 53.2 ส่วนที่อื่น ๆ อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ชาวลาวบางส่วนได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ชาวลาวส่วนใหญ่ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน ชาวลาวส่วนมากจะนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และบางส่วนยังนับถือควบคู่ไปกับลัทธิภูตผีวิญญาณต่าง ๆ แม้ชาวลาวจะตกอยู่ภายใต้อำนาจของชนชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนได้เป็นอย่างดี.

ดู ประเทศกัมพูชาและลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ศรีโสภณ

รีโสภณ (សិរីសោភ័ណ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดบันทายมีชัย ประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองใหญ่อันดับที่ 2 ของประเทศกัมพูชา สถานีรถไฟศรีโสภณร้าง.

ดู ประเทศกัมพูชาและศรีโสภณ

ศาล

ล เป็นองค์กรสาธารณะที่มีหน้าที่ในการวินิจฉัยข้อพิพาทเกี่ยวกับพลเมือง แรงงาน กิจการ และอาชญากรรมภายใต้กฎหมาย ในกฎหมายทั่วไปและกฎหมายพลเมือง ศาลนับว่าเป็นทางออกของข้อพิพาทต่างๆ เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ทุกๆ คนมีสิทธิ์ที่จะนำข้อกล่าวหามาใช้ในศาลได้ ในขณะเดียวกัน ผู้ถูกกล่าวหาก็มีสิทธิ์ที่จะแก้ต่างในศาลได้เช่นกัน.

ดู ประเทศกัมพูชาและศาล

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู ประเทศกัมพูชาและศาสนาพุทธ

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ดู ประเทศกัมพูชาและศาสนาอิสลาม

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ดู ประเทศกัมพูชาและศาสนาฮินดู

ศิลปะเขมร

ลปะเขมรเป็นลักษณะศิลปะของอารยธรรมเขมร นับตั้งแต่สมัยก่อนพระนครลงมา แบ่งเป็นยุคได้ดังนี้.

ดู ประเทศกัมพูชาและศิลปะเขมร

สภานิติบัญญัติ

นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.

ดู ประเทศกัมพูชาและสภานิติบัญญัติ

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์

มเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ (នរោត្ដម រណឬទ្ធិ นโรตฺฎม รณฤๅทฺธิ; ประสูติ 2 มกราคม พ.ศ. 2487) พระราชโอรสพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหนุ แห่งกัมพูชา และพระเชษฐาต่างพระมารดากับ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ดู ประเทศกัมพูชาและสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

สวายเรียง (เมือง)

สวายเรียง (ស្វាយរៀង) เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดสวายเรียง ประเทศกัมพูชา ตัวเมืองแบ่งออกเป็น 4 ขุม (khum) และ 18 พุม (phum) เป็นเมืองที่เชื่อมต่อระหว่างกรุงพนมเปญและนครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนามโดยมีทางหลวงหมายเลข 1 เป็นเส้นทางเชื่อมต่อ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสวายเรียง หมวดหมู่:เมืองในประเทศกัมพูชา หมวดหมู่:จังหวัดสวายเรียง.

ดู ประเทศกัมพูชาและสวายเรียง (เมือง)

สวง (เมือง)

กรุงสวง (ក្រុងសួង) เป็นเมืองหลักของจังหวัดตโบงฆมุม ซึ่งเป็นจังหวัดใหม่ที่แยกมาจากจังหวัดกำปงจามเมื่อปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและสวง (เมือง)

สหภาพฝรั่งเศส

หภาพฝรั่งเศส (Union française) เป็นกลุ่มประเทศอธิปไตยก่อตั้งโดยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 เพื่อแทนที่ระบอบอาณานิคมของจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสที่มีอยู่เดิม.

ดู ประเทศกัมพูชาและสหภาพฝรั่งเศส

สังคมราษฎรนิยม

ระนโรดม สีหนุ ผู้นำพรรคสังคมระหว่างพ.ศ. 2498– 2513 สังคมราษฎรนิยม (សង្គមរាស្ត្រនិយម สงฺคมราสฺตฺรนิยม; Sangkum Reastr Niyum; People's Socialist Community) เป็นพรรคการเมืองในกัมพูชา มีชื่อเรียกอย่างสั้น ๆ ว่า สังคม ก่อตั้งเมื่อ..

ดู ประเทศกัมพูชาและสังคมราษฎรนิยม

สารานุกรมบริตานิกา

รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.

ดู ประเทศกัมพูชาและสารานุกรมบริตานิกา

สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา

รณรัฐประชามานิตกัมพูชา หรือในภาษาไทยคือ สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (សាធារណរដ្ឋប្រជាមានិតកម្ពុជា สาธารณรฎฺฐบฺรชามานิตกมฺพุชา; People's Republic of Kampuchea: PRK) เป็นรัฐบาลที่จัดตั้งในกัมพูชาโดยแนวร่วมปลดปล่อย ซึ่งเป็นกลุ่มของกัมพูชาฝ่ายซ้ายที่อยู่ตรงข้ามกับกลุ่มของเขมรแดง ล้มล้างรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของพล พต โดยร่วมมือกับกองทัพของเวียดนาม ทำให้เกิดการรุกรานเวียดนามของกัมพูชา เพื่อผลักดันกองทัพเขมรแดงออกไปจากพนมเปญ มีเวียดนามและสหภาพโซเวียตเป็นพันธมิตรที่สำคัญ สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาไม่ได้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติเพราะไม่ได้รับการสนับสนุนจากจีน อังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่นั่งในสหประชาชาติของประเทศกัมพูชาในขณะนั้นเป็นของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายที่จัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย ซึ่งกลุ่มเขมรแดงของพล พตเข้าร่วมกับกลุ่มที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์อีก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มของนโรดม สีหนุ และซอน ซาน อย่างไรก็ตาม สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาได้ประกาศเป็นรัฐบาลของกัมพูชาระหว่าง..

ดู ประเทศกัมพูชาและสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา

สำโรง (เมือง)

ำโรง (ក្រុងច្បារមន) เป็นเมืองหลักของ จังหวัดอุดรมีชัย เป็นเมืองที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา เป็นเมืองที่เป็นทางผ่านไปยังโอสะเม็ดซึ่งอยู่ชายแดนประเทศไท.

ดู ประเทศกัมพูชาและสำโรง (เมือง)

สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง

งครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งเริ่มในอินโดจีนฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม..

ดู ประเทศกัมพูชาและสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู ประเทศกัมพูชาและสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามเวียดนาม

งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).

ดู ประเทศกัมพูชาและสงครามเวียดนาม

สตึงแตรง (เมือง)

ตึงแตรง (ស្ទឹងត្រែង), (ຊຽງແຕງ) เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดสตึงแตรง ประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่ทางตะวันตกของอุทยานแห่งชาติวีรชัย มีประชากร 29,665 คนในปี..2009 เมืองมีชื่อภาษาลาวคือ ຊຽງແຕງ เมืองนี้ตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขง บริเวณจุดที่แม่น้ำเซกองไหลมาบรรจบด้วย และมีทางหลวงหมายเลข 7 ผ่านตัวเมือง อยู่ห่างจากพนมเปญ 400 กิโลเมตร และห่างจากพรมแดนลาว 50 กิโลเมตร ตัวเมืองมีสะพานสตึงแตรง ซึ่งข้ามแม่น้ำโขง และสะพานเซกอง ซึ่งข้ามแม่น้ำเซกอง ประชากรเป็นชาวเขมรและชาวลาว เมืองนี้ยังมีท่าอากาศยานสตึงแตรง แต่ไม่มีเที่ยวบินพาณิชย์ให้บริการแล้ว.

ดู ประเทศกัมพูชาและสตึงแตรง (เมือง)

อาณาจักรฟูนาน

รัฐฟูนาน (អាណាចក្រនគរភ្នំ ឬ ហ្វូណន) (Phù Nam) เป็นรัฐโบราณที่มีอิทธิพลเหนือดินแดน แห่งลุ่มน้ำแม่โขง แม่น้ำเจ้าพระยา ก่อตั้งขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 7 กษัตริย์องค์แรกคือพราหมณ์โกณฑิญญะ ซึ่งมีเชื้อสายจากอินเดีย ได้มีมเหสีคือ "นางโสมา".

ดู ประเทศกัมพูชาและอาณาจักรฟูนาน

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและอาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ดู ประเทศกัมพูชาและอาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและอาณาจักรอยุธยา

อาณาจักรอิศานปุระ

อาณาจักรอิศานปุระ หรือ อาณาจักรเจนละ เป็นอาณาจักรโบราณ เจริญรุ่งเรืองในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 ปัจจุบันคือภาคอีสานตอนล่างของประเทศไทย ตอนบนของประเทศกัมพูชา และตอนล่างของประเทศลาว สถาปนาขึ้นโดยพระเจ้าอิศานวรมัน ผู้สืบเชื้อสายมาจากกษัตริย์เจนละ คือพระเจ้ามเหนทระวรมัน หรือพระเจ้าจิตรเสน ผู้ครองแคว้นเจนละ ที่ทรงครอบครองดินแดนในพื้นที่อีสานตอนใต้และลาวทางตอนใต้แถบวัดภู หลังจากที่ได้รับการสิบทอดอำนาจจากพระเจ้าจิตรเสน พระเจ้าอิศานวรมันเสด็จขึ้นครองราชย์ราว พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและอาณาจักรอิศานปุระ

อาณาจักรจามปา

นสถานศิลปะจามปา อาณาจักรจามปา เป็นอาณาจักรโบราณตั้งเมื่อพุทธศตวรรษที่ 7 อยู่ทางใต้ของจีน อยู่ทางตะวันออกของฟูนัน ปัจจุบันคือบริเวณเมืองเว้, ตามกี่, ฟานซาง-ท้าปจ่าม และญาจาง เนื่องจากสมัยก่อนพื้นที่นี้เป็นเขตทุรกันดาร จีนจึงไม่สามารถครอบครองพื้นที่นี้ได้ ชนชาติจามสืบเชื้อสายจากชาว มาลาโยโพลินีเชียน พวกจามเป็นชาวทะเลมีความสามารถทางการเดินเรือ ต่อมาราว..

ดู ประเทศกัมพูชาและอาณาจักรจามปา

อินโดจีน

มุทรอินโดจีน เมื่อปี ค.ศ. 1886 '''อินโดจีน''': สีเขียวเข้ม: นับรวมเสมอ, สีเขียวอ่อน: นับรวมเป็นส่วนใหญ่, สีแดง: นับรวมเป็นบางครั้ง'''ภูมิภาคอินโดจีน''' (ชีววิทยา): สีเขียวเข้มและอ่อน อินโดจีน (Indochina) หรือ คาบสมุทรอินโดจีน (Indochinese Peninsula) เป็นคาบสมุทรที่ยื่นออกมาจากแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย และเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มาของชื่อว่าอินโดจีนนั้น ก็เพราะว่าคาบสมุทรนี้ตั้งอยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และทางตะวันออกของประเทศอินเดีย คำว่า "Indochina" มีที่มาจากคำว่า Indochine ในภาษาฝรั่งเศส และถูกใช้ในระหว่างยุคล่าอาณานิคม ในทางประวัติศาสตร์แล้ว ประเทศในอินโดจีนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาระดับที่แตกต่างกัน อย่างเช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนเวียดนามได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมาในยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ชาติส่วนใหญ่ในอินโดจีนก็รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเช่นกัน.

ดู ประเทศกัมพูชาและอินโดจีน

อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและอินโดจีนของฝรั่งเศส

อ่าวไทย

อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้ำที่อยู่ในทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้ว.

ดู ประเทศกัมพูชาและอ่าวไทย

ฮู ยวน

ู ยวน (Hou Yuon) เป็นนักการเมืองที่นิยมระบอบคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา เกิดในครอบครัวของชาวกัมพูชาเชื้อสายจีน เขาเป็นหนึ่งในผู้นำระดับสูงของเขมรแดงที่หายตัวไปหลังพนมเปญแตกเมื่อ..

ดู ประเทศกัมพูชาและฮู ยวน

จบามอน (เมือง)

มอน (ក្រុងច្បារមន) เป็นเมืองหลักของ จังหวัดกำปงสปือ อยู่ตอนกลางของประเทศกัมพูชา ชาวเมืองส่วนใหญ่พูดภาษาเขมร แต่ก็มีพูดภาษาจีนกลางอยู่บ้าง เป็นเมืองที่อยู่ห่างจากกรุงพนมเปญไปทางทิศตะวันตก.

ดู ประเทศกัมพูชาและจบามอน (เมือง)

จักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส

ักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส (French colonial empire) ประกอบด้วยอาณานิคมโพ้นทะเล, รัฐในอารักขา และ รัฐบริวารที่อยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลฝรั่งเศสในกรุงปารีส ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในศตวรรษที่ 16 โดยจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสถูกแบ่งออกเป็นสองยุค คือจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสที่หนึ่ง ซึ่งสิ้นสุดลงในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส

จักรวรรดิขแมร์

ักรวรรดิขแมร์ หรือ อาณาจักรเขมร หรือบางแหล่งเรียกว่า อาณาจักรขอม เป็นหนึ่งในอาณาจักรโบราณ เริ่มต้นขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจากอาณาจักรฟูนัน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณประเทศกัมพูชา โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ ประเทศไทย ลาว และบางส่วนของเวียดนามในปัจจุบัน นับเป็นอาณาจักรที่มีแสนยานุภาพมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาได้อ่อนกำลังลงจนเสียดินแดนบางส่วนให้กับอาณาจักรสุโขทัย และแตกสลายในที่สุดเมื่อตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรเขมรสืบทอดอำนาจจากอาณาจักรเจนฬา มีสงครามผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับอาณาจักรข้างเคียง เช่น อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรจามปา มรดกที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรเขมรคือ นครวัด และ นครธม ซึ่งเคยเป็นนครหลวงเมื่อครั้งอาณาจักรแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด และยังมีลัทธิความเชื่อต่างๆ อย่างหลากหลาย ศาสนาหลักของอาณาจักรนี้ได้แก่ ศาสนาฮินดู พุทธศาสนามหายาน และพุทธศาสนาเถรวาทซึ่งได้รับจากศรีลังกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13.

ดู ประเทศกัมพูชาและจักรวรรดิขแมร์

จังหวัดบันทายมีชัย

ันทายมีชัย หรือ บ็อนเตียย์เมียนเจ็ย (បន្ទាយមានជ័យ, "ปราการแห่งชัยชนะ") เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศกัมพูชา (ภาษาไทยเรียกว่า "จังหวัดบ้านใต้มีชัย", "บันทายมีชัย" หรือ "ศรีโสภณ") อยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ เมืองหลักคือศรีโสภณ จังหวัดบันทายมีชัยติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตกที่เมืองปอยเปต จังหวัดบันทายมีชัยเคยเป็นจังหวัดพิบูลสงครามของสยาม ในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดบันทายมีชัย

จังหวัดพระวิหาร

ระวิหาร หรือ เปรียะวิเฮีย (ព្រះវិហារ) เป็นจังหวัดสำคัญทางภาดเหนือของประเทศกัมพูชา มีชายแดนติดกับประเทศไทยทางด้านจังหวัดศรีสะเกษ มีเมืองพนมตะแบงมีชัยเป็นเมืองหลักของจังหวัด จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของปราสาทพระวิหารซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชาที่มีปัญหาเรื่องพื้นที่ทับซ้อน และได้เกิดกรณีพิพาทเรื่องปราสาทหินนี้จนต้องมีการตัดสินในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อ พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดพระวิหาร

จังหวัดพระสีหนุ

ระสีหนุ หรือ เปรียะสีหนุ (ព្រះសីហនុ) เป็นจังหวัด (ខេត្ត, เขต) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา ติดต่อกับอ่าวไทย เมืองหลักของจังหวัดมีชื่อว่า พระสีหนุ เป็นเมืองท่าเรือน้ำลึก เป็นสถานที่ท่องเที่ยวชั้นนำของประเทศ และเป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดพระสีหนุ

จังหวัดพระตะบอง

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង แปลว่า "ตะบองหาย") เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศกัมพูชา อยู่ทางภาคตะวันตกของประเทศ มีเขตติดต่อกับจังหวัดสระแก้ว และจันทบุรี ประเทศไทย พื้นที่นี้อดีตเคยเป็นจังหวัดพระตะบองในมณฑลบูรพาของสยาม.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดพระตะบอง

จังหวัดกระแจะ

กระแจะ หรือ เกราะเจะ (ក្រចេះ) เป็นจังหวัดหนึ่งทางตะวันออกของประเทศกัมพูชา มีเมืองกระแจะเป็นเมืองหลักของจังหวั.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดกระแจะ

จังหวัดกันดาล

กันดาล หรือ ก็อนฎาล (កណ្ដាល) เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศกัมพูชา มีตาเขมาเป็นเมืองหลักของจังหวัด พื้นที่ของจังหวัดนี้โอบล้อมกรุงพนมเปญซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเท.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดกันดาล

จังหวัดกำปอต

กำปอต หรือ ก็อมโปต (កំពត) เป็นจังหวัด (เขต) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา ติดต่อกับจังหวัดเกาะกงและจังหวัดกำปงสปือทางทิศเหนือ จังหวัดตาแก้วและจังหวัดแกบทางทิศตะวันออก และจังหวัดพระสีหนุทางทิศตะวันตก ส่วนทางทิศใต้ติดต่อกับอ่าวไทยยาวประมาณ 45 กิโลเมตร เมืองหลักคือเมืองกำปอต จังหวัดกำปอตมีประชากร 627,884 คน.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดกำปอต

จังหวัดกำปงชนัง

กำปงชนัง หรือ ก็อมปวงฉนัง (កំពង់ឆ្នាំង, "ท่าหม้อ") เป็นจังหวัดหนึ่งทางตอนกลางของประเทศกัมพูชา เป็นหนึ่งในเก้าจังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับโตนเลสาบ มีเมืองกำปงชนังเป็นเมืองหลักของจังหวัด จังหวัดกำปงชนังมีชื่อเสียงในด้านการผลิตหม้อดิน ชื่อ "กำปงชนัง" หมายถึง เมืองท่าแห่งหม้อดินเผ.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดกำปงชนัง

จังหวัดกำปงสปือ

กำปงสปือ หรือ ก็อมปวงสปือ (កំពង់ស្ពឺ, "ท่ามะเฟือง") เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศกัมพูชา มีจบามอนเป็นเมืองหลักของจังหวั.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดกำปงสปือ

จังหวัดกำปงจาม

กำปงจาม หรือ ก็อมปวงจาม (កំពង់ចាម) เป็นจังหวัดหนึ่งทางตะวันออกของประเทศกัมพูชา มีเมืองกำปงจามเป็นเมืองหลักของจังหวัด ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อยู่ห่างจากกรุงพนมเปญ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 121 กิโลเมตร.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดกำปงจาม

จังหวัดกำปงธม

กำปงธม หรือ ก็อมปวงทม (កំពង់ធំ, "ท่าเรืออันยิ่งใหญ่") เป็นจังหวัด (เขต) ของประเทศกัมพูชา มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเสียมราฐทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, จังหวัดพระวิหารทางทิศเหนือ, จังหวัดสตึงเตรงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, จังหวัดกระแจะทางทิศตะวันออก, จังหวัดกำปงจามและจังหวัดกำปงชนังทางทิศใต้ และติดต่อกับโตนเลสาบทางทิศตะวันตก เมืองหลักของจังหวัด คือ สตึงแสน เป็นเมืองชายฝั่งแม่น้ำแสน มีประชากรประมาณ 30,000 คน จังหวัดกำปงธมเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 เป็นจังหวัดที่มีสถานที่ที่เป็นสถาปัตยกรรมเขมรเป็นจำนวนมาก ได้แก่ ปราสาท Sambor Prei Kuk และปราสาทวัด Andet จังหวัดกำปมธมเป็นหนึ่งในเก้าจังหวัดที่อาณาเขตติดต่อกับโตนเลสาบ และเป็นจังหวัดที่ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเขตสงวนชีวมณฑลโตนเล.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดกำปงธม

จังหวัดมณฑลคีรี

มณฑลคีรี หรือ มวณฑวลกีรี (មណ្ឌលគិរី) เป็นจังหวัดหนึ่งทางตะวันออกของประเทศกัมพูชา มีพรมแดนติดต่อกับจังหวัดกระแจะทางทิศตะวันตก จังหวัดสตึงแตรงทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จังหวัดรัตนคีรีทางทิศเหนือ และติดต่อกับประเทศเวียดนามทางทิศตะวันออกและทิศใต้ เป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ จังหวัดนี้ก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดมณฑลคีรี

จังหวัดรัตนคีรี

รัตนคีรี หรือ รวตตะนะกีรี (រតនគិរី) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศกัมพูชา อยู่ห่างจากกรุงพนมเปญไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 636 กิโลเมตร มีพื้นที่ 10,782 ตารางกิโลเมตร ประชากร 184,000 คน (พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดรัตนคีรี

จังหวัดสวายเรียง

วายเรียง (ស្វាយរៀង, "มะม่วงเรียง") เป็นจังหวัดที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา เมืองหลักคือเมืองสวายเรียง ทางหลวงหมายเลข 1 ของกัมพูชามาสิ้นสุดที่บาเวตก่อนจะเข้าสู่ประเทศเวียดนาม.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดสวายเรียง

จังหวัดสตึงแตรง

ตึงแตรง (ស្ទឹងត្រែង, "แม่น้ำต้นกก") เป็น 1 ใน 2 จังหวัดที่อยู่ทางตอนเหนือสุดของประเทศกัมพูชา ชาวลาวเรียกชื่อที่แห่งนี้ว่า เซียงแตง (ຊຽງແຕງ) ส่วนในภาษาไทยเดิมเรียกตามภาษาลาวว่า เชียงแตง บ้างก็ทับศัพท์เป็น สตึงเตรง หรือ สะตึงแตรง พื้นที่ส่วนนี้เคยเป็นเขตแดนของอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ (ภายหลังเป็นประเทศราชของสยาม) ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 23–25 ก่อนจะตกมาเป็นของกัมพูชาใน พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดสตึงแตรง

จังหวัดอุดรมีชัย

อุดรมีชัย หรือ อุดดอร์เมียนเจ็ย (ឧត្ដរមានជ័យ อุตฺฎรมานชัย) เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคเหนือของประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่เลียบแนวชายแดนของประเทศไทย คำว่า อุดรมีชัย แปลว่า ทางเหนือมีชั.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดอุดรมีชัย

จังหวัดของประเทศกัมพูชา

ประเทศกัมพูชาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 24 จังหวัด และ 1 เทศบาลนคร เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม..

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดของประเทศกัมพูชา

จังหวัดตาแก้ว

ตาแก้ว หรือ ตาแกว (តាកែវ) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา เมืองหลักคือเมืองโฎนแกว (เดิมชื่อตาแก้ว) ซึ่งมีประชากร 39,186 คน จังหวัดนี้ติดต่อกับจังหวัดกำปอตทางตะวันตก จังหวัดกำปงสปือและจังหวัดกันดาลทางเหนือ และทางใต้ติดต่อกับประเทศเวียดนาม แบ่งออกเป็น 10 อำเภอ, 100 ตำบล และ 1,117 หมู่บ้าน บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เป็นชาวจังหวัดตาแก้วคือ ตา มอก ผู้นำเขมรแดง และเกม โซคา หัวหน้าพรรคสิทธิมนุษยชน.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดตาแก้ว

จังหวัดตโบงฆมุม

ตโบงฆมุมสำนักงานราชบัณฑิต.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดตโบงฆมุม

จังหวัดแกบ

แกบ (កែប, "อานม้า") เป็นจังหวัดที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา แบ่งเป็น 2 อำเภอ คือแกบและฎ็อมนักจองเออ ห่างจากกรุงพนมเปญไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 164 กิโลเมตร อยู่ห่างจากจังหวัดห่าเตียนของประเทศเวียดนามไม่กี่กิโลเมตร แกบเป็นจังหวัดที่มีประชากรน้อยเพียง 40,280 คน และเป็นจังหวัดที่เล็กที่สุดของประเทศ พื้นที่จังหวัดแกบเป็นส่วนหนึ่งของบริเวณกำปอตในสมัยที่เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ต่อมาเมืองแกบได้รับการก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดแกบ

จังหวัดโพธิสัตว์

ัตว์สำนักงานราชบัณฑิต.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดโพธิสัตว์

จังหวัดไพรแวง

รแวงสำนักงานราชบัณฑิต.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดไพรแวง

จังหวัดไพลิน

ลิน หรือ ไปเลิน (ប៉ៃលិន) เป็นจังหวัด (เขต) ทางตะวันตกของประเทศกัมพูชา อยู่ทางด้านทิศเหนือของทิวเขาบรรทัด ติดชายแดนประเทศไทย จังหวัดนี้ถูกล้อมรอบด้วยจังหวัดพระตะบอง โดยได้แยกพื้นที่ออกจากจังหวัดพระตะบอง ตั้งเป็นเขตเทศบาลและยกฐานะเป็นจังหวัดในเวลาต่อม.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดไพลิน

จังหวัดเกาะกง

กาะกง (កោះកុង) เดิมไทยเรียก ปัจจันตคิรีเขตรรุ่งมณี เมฆโสภณ.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดเกาะกง

จังหวัดเสียมราฐ

ียมราฐ หรือ เสียมเรียบ (សៀមរាប) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ อยู่ริมฝั่งทะเลสาบเขมร ห่างจากกรุงพนมเปญ 314 กิโลเมตร โดยใช้เวลาเดินทางด้วยรถยนต์ประมาณ 5 ชั่วโมง จังหวัดเสียมราฐเป็นที่ตั้งของนครวัดและกลุ่มปราสาทหินหลายแห่ง อาทิ หมู่ปราสาทหินจากอาณาจักรขอม ได้แก่ ปราสาทนครวัด, กลุ่มปราสาทนครธม, (ตาพรหม และบายน, บันทายศรี, บากอง, โลเลย, พนมบาเค็ง, พนมกุเลน และบารายตะวันตก เมืองหลักของจังหวัดนี้ (เทียบได้กับอำเภอเมืองในจังหวัดของไทย) ก็มีชื่อว่า เสียมราฐ เช่นกัน โดยเมืองเสียมราฐนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดของประเทศกัมพูชา แต่ละปีมีนักท่องเที่ยวไปเยี่ยมชมนครวัดประมาณ 1,600,000 คน.

ดู ประเทศกัมพูชาและจังหวัดเสียมราฐ

ทิวเขาพนมดงรัก

ทิวเขาพนมดงรัก (เขมร: ជួរភ្នំដងរែក, Chuor Phnom Dângrêk; ทิวเขาพนมดงรัก,, ลาว: Sayphou Damlek) มีความหมายว่า "ภูเขาไม้คาน" ในภาษาเขมร เป็นภูเขาที่ทอดตัวในแนวตะวันออก-ตะวันออก เป็นพรมแดนกั้นระหว่าง ประเทศไทย และประเทศกัมพู.

ดู ประเทศกัมพูชาและทิวเขาพนมดงรัก

คริสต์

ริสต์ อาจหมายถึง.

ดู ประเทศกัมพูชาและคริสต์

คริสต์ศตวรรษที่ 13

ริสต์ศตวรรษที่ 13 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1201 ถึง ค.ศ. 1300.

ดู ประเทศกัมพูชาและคริสต์ศตวรรษที่ 13

ตาเขมา (เมือง)

ตาเขมา (តាខ្មៅ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดกันดาล ประเทศกัมพูชา เมืองนี้ห่างจากกรุงพนมเปญไปทางทิศใต้ประมาณ 11 กิโลเมตร (7 ไมล์) แบ่งเป็น 6 ตำบล และ 20 หมู่บ้าน.

ดู ประเทศกัมพูชาและตาเขมา (เมือง)

ประวัติศาสตร์กัมพูชา

ประวัติศาสตร์กัมพูชา เริ่มตั้งแต่ยุคของอาณาจักรฟูนัน อาณาจักรเจนละ พัฒนามาสู่กัมพูชายุคเมืองพระนคร ซึ่งมีความยิ่งใหญ่จนสามารถสร้างนครวัด นครธม เป็นศูนย์กลางของอาณาจักร จนกระทั่งพ่ายแพ้แก่อยุธยากลายเป็นรัฐบรรณาการของอยุธยา จนเมื่อฝรั่งเศสเข้ามามีอำนาจในอินโดจีน กัมพูชากลายเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส และเป็นรัฐในอารักขาของญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสิ้นสุดสงครามโลก กัมพูชาได้เป็นประเทศเอกราช แต่เกิดความสับสนวุ่นวายภายในประเทศเนื่องจากความขัดแย้งภายใน ประเทศตกอยู่ภายใต้การปกครองของเขมรแดงอยู่ระยะหนึ่ง จนกองกำลังของเฮงสัมรินที่มีเวียดนามหนุนหลังเข้ามาขับไล่เขมรแดงออกไป และการเข้ามาไกล่เกลี่ยของสหประชาชาติ เพื่อยุติสงครามกลางเมือง.

ดู ประเทศกัมพูชาและประวัติศาสตร์กัมพูชา

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ดู ประเทศกัมพูชาและประเทศญี่ปุ่น

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ดู ประเทศกัมพูชาและประเทศลาว

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและประเทศจีน

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู ประเทศกัมพูชาและประเทศไทย

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ดู ประเทศกัมพูชาและประเทศเวียดนาม

ประเทศเวียดนามใต้

รณรัฐเวียดนาม เป็นรัฐที่ปกครองบริเวณตอนใต้ของเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2498 ถึง พ.ศ. 2518 ซึ่งต่างชาติโดยเฉพาะรัฐประชาธิปไตยและชาติต่อต้านคอมมิวนิสต์นิยมเรียกในชื่อว่า เวียดนามใต้ คำเรียก เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปี พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและประเทศเวียดนามใต้

ประเทศเวียดนามเหนือ

วียดนามเหนือ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (Việt Nam Dân Chủ Cộng Hòa) คือประเทศที่เกิดจากการรวมของแคว้นตังเกี๋ยและแคว้นอันนัมของฝรั่งเศส ประกาศก่อตั้งเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและประเทศเวียดนามเหนือ

ปราสาทบายน

หอสูง รูปหน้าบริเวณศูนย์กลางของปราสาทหินบายน หอใจกลางปราสาทบายนที่มีจำนวนหน้ามากกว่าบริเวณอื่น รูปสลักนูนต่ำหินทราย นางอัปสรร่ายรำ ปราสาทบายน (ប្រាសាទបាយ័ន) เป็นปราสาทหินของอาณาจักรเขมร อยู่ในบริเวณของใจกลางนครธม สร้างขึ้นเป็นวัดประจำสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ก่อสร้างในราวปี พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและปราสาทบายน

ปราสาทพระวิหาร

ปราสาทพระวิหาร (ប្រាសាទព្រះវិហារ บฺราสาทพฺระวิหาร; Temple of Preah Vihear) เป็นปราสาทหินตามแบบศาสนาฮินดูที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก (ភ្នំដងរែក ภฺนํฎงแรก; "ภูเขาไม้คาน") สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม เขาพระวิหาร (ភ្នំព្រះវិហារ ภฺนํพฺระวิหาร) อยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน..

ดู ประเทศกัมพูชาและปราสาทพระวิหาร

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและปักกิ่ง

นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย

ร้อยตำรวจเอก นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย เดิมชื่อ นิติภูมิ นวรัตน์ (ชื่อเล่น: หมู; 5 มิถุนายน พ.ศ. 2503 —) เกิดที่ บ้านดงกลาง ตำบลเขาสมิง อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด แต่มาเติบโตที่บ้านซึ้งล่าง ตำบลวันยาว อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี บิดาชื่อ มิ่ง อยู่พร้อม มารดาชื่อ เชื้อน อยู่พร้อม (สกุลเดิมกลิ่นอยู่ มีเชื้อสายสกุลชัชวาลย์, พูลเกษม และเจริญลาภ) มีเชื้อสายฝ่ายแม่เป็นคนจีนแซ่ลี้ และบรรพบุรุษบางสายมาจากอินเดีย เขานับถือศาสนาพุทธ จบการศึกษาระดับปริญญาเอกทางประวัติศาสตร์ จากสถาบันเอเชียและแอฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยมอสโก อดีตสหภาพโซเวียต เดิมนามสกุล อยู่พร้อม แต่เปลี่ยนมาใช้นามสกุลของบิดาบุญธรรมคือ หม่อมราชวงศ์เชาวน์ นวรัตน์ และเมื่อวันจันทร์ที่ 12 กันยายน..

ดู ประเทศกัมพูชาและนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย

นครราช

นครราช (នគររាជ นครราช) เป็นชื่อของเพลงชาติกัมพูชาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ มีความหมายว่า "เมืองของพระเจ้าแผ่นดิน" ทำนองของเพลงประพันธ์ขึ้นโดยอาศัยทำนองของเพลงเขมรโบราณที่มีชื่อเดียวกันเมื่อ พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและนครราช

นครวัด

นครวัด (អង្គរវត្ត) เป็นหมู่ปราสาทในประเทศกัมพูชาและเป็นศาสนสถานที่ใหญ่ที่สุดในโลก ด้วยพื้นที่รวมกว่า 162.6 เฮกเตอร์ (1.6 ล้านตารางเมตร ซึ่งเท่ากับ 402 เอเคอร์) แรกเริ่มนั้นสร้างขึ้นเป็นเทวลัยในศาสนาฮินดูเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุ ก่อนจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงกลายเป็นวัดในศาสนาพุทธในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 นครวัดสร้างขึ้นในช่วงต้นของคริสศตวรรษที่ 12 โดยพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 แห่งเมืองยโสธรปุระ (ในปัจจุบันคือเมืองพระนคร) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิเขมร สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นเทวลัยประจำรัฐและเป็นสุสานฝังพระศพ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการนับถือในลัทธิไศวนิกายของกษัตริย์องค์ก่อนๆ เหตุเพราะนครวัดนั้นสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุแทนที่จะเป็นพระศิวะ และเนื่องจากเป็นปราสาทที่ได้รับการอนุรักษ์ดีที่สุดในบริเวณที่ตั้งโดยรอบ นครวัดจึงเป็นปราสาทเพียงแห่งเดียวที่ยังคงความเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่มีความสำคัญมาตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง โดยนครวัดถือจุดสูงสุดของรูปแบบการสร้างสถาปัตยกรรมเขมรแบบดั้งเดิม และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศกัมพูชา มีการปรากฏอยู่บนธงชาติ และได้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชาที่มีความสำคัญที่สุดในหมู่นักท่องเที่ยว นครวัดได้รวมเอาการวางผังพื้นฐานในสถาปัตยกรรมเขมรสองแบบมาใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ซึ่งก็ได้แก่ ผังการสร้างปราสาทให้เสมือนภูเขา (ปราสาทบนฐานชั้น) และการสร้างปราสาทแบบมีระเบียงคดที่มีภาพสลัก การสร้างปราสาทรูปแบบนี้ได้สื่อถึงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นสถานที่ที่สถิตของเทพเทวัญในปกรณัมของศาสนาฮินดู ด้านนอกมีคูน้ำและกำแพงล้อม ความยาวรวมกว่า 3.6 กิโลเมตร โดยตัวปราสาทประกอบด้วยระเบียงคดสี่เหลี่ยมที่มีภาพสลักทั้งหมดสามชั้น แต่ละชั้นตั้งอยู่สูงกว่าชั้นล่าง ตรงกลางของปราสาทคือพระปรางค์ที่มีทั้งหมด 5 ยอด นครวัดมีความแตกต่างจากปราสาทในพระนครปราสาทอื่นๆ เนื่องจากมีการหันหน้าไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนักวิชาการต่างก็มีความเห็นที่แตกต่างออกไปในเรื่องนัยยะของการสร้างในลักษณะนี้ นครวัดยังได้รับการยกย่องในด้านความงามและความกลมกลืนของตัวสถาปัตยกรรม อาทิ ภาพสลักนูนต่ำที่ใหญ่โต รวมถึงภาพเทวดาที่มีการตกแต่งตามผนังเป็นจำนวนมาก.

ดู ประเทศกัมพูชาและนครวัด

นครธม

อวโลกิเตศวร ที่ประตูด้านใต้ ประตูทางเข้านครธมด้านใต้ นครธม (អង្គរធំ) เป็นเมืองหลวงแห่งสุดท้ายและเมืองที่เข้มแข็งที่สุดของอาณาจักรขะแมร์ สถาปนาขึ้นในปลายคริสต์ศวรรษที่ 12 โดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ 9 ตารางกิโลเมตร อยู่ทางทิศเหนือของ นครวัด ภายในเมืองมีสิ่งก่อสร้างมากมายนับแต่สมัยแรกๆ และที่สร้างโดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 และรัชทายาท ใจกลางพระนครเป็นปราสาทหลักของพระเจ้าชัยวรมัน เรียกว่า ปราสาทบายน และมีพื้นที่สำคัญอื่นๆ รายล้อมพื้นที่ชัยภูมิถัดไปทางเหนือ จุดเด่นที่สุดคือทางเข้าด้านใต้ ที่มีลักษณะเป็นหน้า 4 หน้า ก่อนจะเข้าสู่บริเวณนี้ จะเป็นแถวของยักษ์ (อสูร) ทางด้านขวา และเทวดาทางด้านซ้าย เรียงรายแบกพญานาคอยู่สองข้างสะพาน เมื่อเข้าสู่ใจกลางนครธมจะพบสิ่งก่อสร้างต่างๆ บริเวณประตูด้านใต้นี้ได้รับการอนุรักษ์ฟื้นฟูไว้ได้ดีกว่าบริเวณอื่นๆ อีก 3 ด้าน.

ดู ประเทศกัมพูชาและนครธม

แบปทิสต์

นิกายแบปทิสต์ (ศัพท์ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ แบ๊บติสต์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Baptists) เป็นนิกายในศาสนาคริสต์ฝ่ายโปรเตสแตนต์ ชื่อของนิกายนี้มาจากหลักปฏิบัติที่ปฏิเสธการทำพิธีบัพติศมาแก่ทารก แต่ยอมรับเฉพาะพิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อเท่านั้น คณะแบปทิสต์กำเนิดขึ้นในระหว่างการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ในประเทศอังกฤษราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากนั้นจึงแพร่ไปทั่วยุโรปเหนือ และทวีปอื่น ๆ ตามลำดับ ในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและแบปทิสต์

แกบ (เมือง)

กรุงแกบ (ក្រុងកែប) เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดแกบ ทางตอนใต้ของประเทศกัมพูชา มีสถานที่สำคัญคือ อุทยานแห่งชาติแกบ ตัวเมืองมีประชากร 35,990 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมง และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางทะเล ที่มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลอ่าวไท.

ดู ประเทศกัมพูชาและแกบ (เมือง)

แม่น้ำบาสัก

ภาพมุมกว้างของแม่น้ำบาสักใกล้เมืองเกิ่นเทอ สะพานเกิ่นเทอ แม่น้ำบาสัก (Bassac River; ទន្លេបាសាក់) เป็นแม่น้ำที่ไหลออกจากโตนเลสาบและแม่น้ำโขง แม่น้ำเริ่มต้นที่กรุงพนมเปญและไหลลงใต้ผ่านแนวชายแดนเข้าสู่ประเทศเวียดนามใกล้เมืองเจิวด๊ก (โชฎก) ในเวียดนามเรียก แม่น้ำเหิ่ว (Sông Hậu) แม่น้ำบาสักเป็นเส้นทางการติดต่อที่สำคัญระหว่างเวียดนามกับกัมพูชา สะพานข้ามแม่น้ำบาสักมีสองแห่งคือสะพานมุนีวงศ์ที่พนมเปญ กัมพูชา และสะพานเกิ่นเทอที่เมืองเกิ่นเทอ ประเทศเวียดนาม หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศกัมพูชา หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศเวียดนาม.

ดู ประเทศกัมพูชาและแม่น้ำบาสัก

แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง (မဲခေါင်မြစ်; ແມ່ນ້ຳຂອງ; ទន្លេដ៏ធំ; Mê Kông) มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านบริเวณที่ราบสูงทิเบตและมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศจีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ หลานชางเจียง (จีนตัวย่อ: 澜沧江, จีนตัวเต็ม: 瀾滄江) แปลว่า "แม่น้ำที่มีความเชี่ยวกราก" และเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึงคำเมืองล้านนาก็เรียก น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูบตะวันออก นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ ปลาบึก.

ดู ประเทศกัมพูชาและแม่น้ำโขง

แสนมโนรมย์

แสนมโนรมย์ (ក្រុងសែនមនោរម្យ "น่ารื่นรมย์") เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดมณฑลคีรี ประเทศกัมพูชา มีประชากรประมาณ 7000 คน ส่วนใหญ่เป็นชาวปะนง เมืองนี้มีนักองค์กรพัฒนาเอกชน นักตัดไม้ และนักท่องเที่ยว เดินทางมาจำนวนมาก จากรายงานของโกลบอลวิตเนส เมืองนี้ประสบปัญหาการตัดไม้ทำลายจากนักตัดไม้ที่ผิดกฎหมาย เนื่องจากการพัมนาที่รวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านอสังหาริมทรัพย์ ทำให้ค่าครองชีพจาก 150 ดอลลาร์ในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและแสนมโนรมย์

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและแปลก พิบูลสงคราม

โพธิสัตว์ (เมือง)

ัตว์สำนักงานราชบัณฑิต.

ดู ประเทศกัมพูชาและโพธิสัตว์ (เมือง)

โฎนแกว (เมือง)

นแกว (ក្រុងដូនកែវ) เป็นเมืองหลักของ จังหวัดตาแก้ว ประเทศกัมพูชา ในปี..

ดู ประเทศกัมพูชาและโฎนแกว (เมือง)

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p.

ดู ประเทศกัมพูชาและโรมันคาทอลิก

โตนเลสาบ

ทะเลสาบเขมร หรือ โตนเลสาบ (បឹងទន្លេសាប บึงทนฺเลสาบ) เป็นทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บริเวณตรงกลางของประเทศกัมพูชา มีพื้นที่ ประมาณ 7,500 ตารางกิโลเมตร หรือใหญ่กว่ากรุงเทพฯ ประมาณ 7 เท่า ความลึกโดยเฉลี่ย อยู่ที่ 10 เมตร และเมื่อถึงฤดูน้ำหลาก น้ำจะท่วมพื้นที่บริเวณรอบ ๆ ทำให้โตนเลสาบขยายตัวออกกว้างมากถึง 6 เท่า ทะเลสาบเขมรเกิดจากแม่น้ำโขง ซึ่งแม่น้ำโขงไหลผ่านมีความยาวถึง 500 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัดของกัมพูชา ได้แก่ กำปงธม กำปงชนัง โพธิสัตว์ พระตะบอง และเสียมราฐ เป็นทะเลสาบที่มีปลาน้ำจืดชุกชุมมากแห่งหนึ่งประมาณ 300 ชนิด จึงมีชาวกัมพูชาเป็นจำนวนมากที่ประกอบอาชีพประมงในบริเวณทะเลสาบแห่งนี้ ทะเลสาบเขมรยังเป็นที่ที่ค้นพบหนึ่งในราชกกุธภัณฑ์ พระแสงขรรค์ชัยศรี อีกด้ว.

ดู ประเทศกัมพูชาและโตนเลสาบ

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ดู ประเทศกัมพูชาและโปรเตสแตนต์

ไพรแวง (เมือง)

รแวง หรือ กรุงไพรแวง (ក្រុងព្រៃវែង) เป็นเมืองหลักของจังหวัดไพรแวง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกัมพูชา เมืองนี้เป็นที่อยู่อาศัยของชาวฝรั่งเศสในยุคอินโดจีน ซึ่งสถาณที่หลายแห่งทรุดโทรมแล้ว มีทะเลสาบขนาดใหญ่ทางตะวันตกของเมือง ซึ่งโดยปกติจะแห้งตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนสิงหาคม.

ดู ประเทศกัมพูชาและไพรแวง (เมือง)

ไทยเกาะกง

วกัมพูชาเชื้อสายไทย หรือเรียกอย่างเฉพาะเจาะจงว่า "ไทยเกาะกง" (សៀមកោះកុង) เนื่องจากมีผู้สืบเชื้อสายไทยอาศัยอยู่ในเขตจังหวัดเกาะกงของประเทศกัมพูชาเป็นจำนวนมาก ถือเป็นชาวไทยกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานในจังหวัดปัจจันตคิรีเขตร ซึ่งแต่เดิมเป็นของไทย แต่ปัจจุบันเป็นจังหวัดเกาะกงของประเทศกัมพูชา ซึ่งต่อมาเกาะกงได้กลายเป็นของฝรั่งเศส ชาวไทยจำนวนมากได้อพยพไปที่เกาะกูด และอำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด เนื่องจากไม่ต้องการอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส แต่ปัจจุบันในเกาะกง ปรากฏว่ามีชาวไทยในเกาะกง เพียงร้อยละ 25 เท่านั้น ที่เหลือเป็นชาวเขมรจากจังหวัดอื่นที่อพยพมาทำงาน ปัจจุบันชาวไทยเกาะกงถูกกำหนดให้มีสัญชาติเขมรอย่างถูกต้องตามกฎหมาย แม้ในอดีตชาวไทยเกาะกงจะถูกจำกัดสิทธิ์ทางภาษา วัฒนธรรม และประเพณีแต่ก็มีคนเฒ่าคนแก่ที่ยังรักษาประเพณี และเอกลักษณ์ การใช้ภาษาไท.

ดู ประเทศกัมพูชาและไทยเกาะกง

เรียลกัมพูชา

ัญลักษณ์ เรียล เรียล (រៀល; สัญลักษณ์: ៛) เป็นสกุลเงินของกัมพู.

ดู ประเทศกัมพูชาและเรียลกัมพูชา

เสียมราฐ

ียมราฐ หรือ เสียมเรียบ อาจหมายถึง.

ดู ประเทศกัมพูชาและเสียมราฐ

เสียมราฐ (เมือง)

ียมราฐ หรือชื่อท้องถิ่นว่า เสียมเรียบ (សៀមរាប) เป็นเมืองในประเทศกัมพูชา มีฐานะเป็นเมืองเอกของจังหวัดเสียมราฐ (เทียบได้กับอำเภอเมืองของจังหวัดในประเทศไทย) มีประชากรประมาณ 171,800 คน เมืองเสียมราฐเป็นที่รู้จักกันดีเนื่องจากตั้งอยู่ใกล้นครวัด นครธม และปราสาทขอมอื่น ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของเมืองพระนคร แหล่งมรดกโลกของกัมพู.

ดู ประเทศกัมพูชาและเสียมราฐ (เมือง)

เหมา เจ๋อตง

หมา เจ๋อตง หรือ เหมา เจ๋อตุง (26 ธันวาคม พ.ศ. 2436 — 9 กันยายน พ.ศ. 2519) หรือที่นิยมเรียกอีกอย่างว่า ท่านประธานเหมา เป็นผู้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน และทำให้จีนเปลี่ยนระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์มาจนถึงปัจจุบัน.

ดู ประเทศกัมพูชาและเหมา เจ๋อตง

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ดู ประเทศกัมพูชาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ดู ประเทศกัมพูชาและเถรวาท

เทือกเขาอันนัม

ทือกเขาอันนัม เทือกเขาอันนัม (Annamite Range, Annamese Mountains, Annamese Range, Annamese Cordillera, Annamite Mountains, Annamite Cordillera) เป็นเทือกเขาในภูมิภาคอินโดจีน มีความยาวประมาณ 1,100 กิโลเมตร (680 ไมล์) เป็นชายแดนตลอดแนวทิศตะวันตกของประเทศเวียดนามต่อกับลาวและทางตอนเหนือของกัมพูชา มีชื่อเรียกในภาษาเวียดนามว่า "สายเจื่องเซิน" (Dãy Trường Sơn) และ "สายภูหลวง" (ພູຫລວງ) ในภาษาลาว เทือกเขาอันนัมประกอบด้วยภูเขาและยอดเขาเป็นจำนวนมาก โดยยอดเขาที่สูงที่สุด คือ ภูเบี้ย ที่ความสูง 2,819 เมตร และยังเป็นถิ่นที่อยู่ของชนพื้นเมืองต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแหล่งกำเนิดของแม่น้ำหลายสาย ทางด้านชีววิทยา เทือกเขาอันนัมเป็นที่อยู่ของสัตว์ป่าและพรรณไม้ชนิดต่าง ๆ ซึ่งหลายชนิดเป็นการค้นพบใหม่หรือไม่ได้มีศึกษาทางสัตววิทยามาก่อนจำนวนมาก อาทิ ซาวลา (Pseudoryx nghetinhensis), เก้งยักษ์ (Muntiacus vuquangensis), เก้งเจื่องเซิน (M.

ดู ประเทศกัมพูชาและเทือกเขาอันนัม

เขมรภูมินทร์

มรภูมินทร์ (ខេមរភូមិន្ទ; Khemarak Phumin) หรือ เมืองเกาะกง (ក្រុងកោះកុង) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่ใกล้ปากแม่น้ำเกาะปอที่ไหลลงสู่อ่าวไทยในเขตอำเภอสมัคเมียนเจย เมืองเขมรภูมินทร์อยู่ห่างจากชายแดนไทยเพียง 10 กิโลเมตร ห่างจากเมืองแซรแอมเปิล (นาเกลือ) 138 กิโลเมตร และเดินทางอีก 133 กิโลเมตร ก็จะถึงพนมเปญ หลังจากการก่อสร้างสะพาน และปรับปรุงทางหลวงหมายเลข 48 ซึ่งก่อสร้างในช่วงปี พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและเขมรภูมินทร์

เขมรอิสระ

งของเขมรอิสระฝ่ายซ้ายที่นิยมเวียดมิญจะมีปราสาทนครวัดห้ายอด ธงนี้ต่อมาใช้เป็นธงของแนวร่วมประชาชาติกู้ชาติกัมพูชาที่ร่วมมือกับเวียดนามต่อต้านเขมรแดง และใช้เป็นธงชาติของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาMargaret Slocomb, ''The People's Republic of Kampuchea, 1979-1989: The revolution after Pol Pot'' ISBN 9789749575345 เขมรอิสระ (Khmer Issarak; ภาษาเขมร: ខ្មែរឥស្សរៈ) เป็นกลุ่มต่อต้านฝรั่งเศสและกลุ่มชาตินิยมเขมร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู ประเทศกัมพูชาและเขมรอิสระ

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและเขมรแดง

เขมรเสรี

มรเสรี (ខ្មែរសេរី; Khmer Serei) เป็นขบวนการที่ก่อตั้งโดย เซิง งอกทัญในไทยและเวียดนามใต้ภายใต้การสนับสนุนของสหรัฐอเมริกา เพื่อต่อต้านกองโจรคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ขบวนการเขมรเสรีมีการเชื่อมโยงกับขบวนการของชาวขแมร์กรอมในเวียดนามใต้อย่างหลวม ๆ โดยทหารของสองกลุ่มนี้ได้รับการฝึกจากสหรัฐอเมริกาเหมือนกัน ในช่วงที่เฟื่องฟูสุดเมื่อราว..

ดู ประเทศกัมพูชาและเขมรเสรี

เขียว สัมพัน

ียว สัมพัน ก่อนการพิจารณาคดีที่ศาลพิเศษคดีอาชญากรสงคราม กรุงพนมเปญ ในปี 2009 เขียว สัมพัน (ខៀវ សំផន เขียว สํผน; เกิด 27 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ประเทศกัมพูชาและเขียว สัมพัน

เซิน หง็อก ถั่ญ

ซิน หง็อก ถั่ญ (Sơn Ngọc Thành; សឺង ង៉ុកថាញ់) เป็นนักการเมืองชาตินิยมและนิยมสาธารณรัฐในกัมพูชา มีประวัติการต่อสู้ที่ยาวนานในฐานะกบฏผู้ต่อต้านรัฐบาลและได้เป็นนายกรัฐมนตรีในเวลาสั้น.

ดู ประเทศกัมพูชาและเซิน หง็อก ถั่ญ

.kh

.kh เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศกัมพูชา เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2539.

ดู ประเทศกัมพูชาและ.kh

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ดู ประเทศกัมพูชาและ25 พฤศจิกายน

ดูเพิ่มเติม

ประเทศในทวีปเอเชีย

ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

รัฐพุทธ

รัฐสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

รัฐสมาชิกองค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส

รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2496

รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2536

ราชอาณาจักร

อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศส

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Cambodiaกัมพูชาราชอาณาจักรกัมพูชาพระราชอาณาจักรกัมพูชาพระราชาณาจักรกัมพูชาประเทศเขมรเขมร

ศิลปะเขมรสภานิติบัญญัติสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนสวายเรียง (เมือง)สวง (เมือง)สหภาพฝรั่งเศสสังคมราษฎรนิยมสารานุกรมบริตานิกาสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาสำโรง (เมือง)สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่สองสงครามเวียดนามสตึงแตรง (เมือง)อาณาจักรฟูนานอาณาจักรล้านช้างอาณาจักรสุโขทัยอาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอิศานปุระอาณาจักรจามปาอินโดจีนอินโดจีนของฝรั่งเศสอ่าวไทยฮู ยวนจบามอน (เมือง)จักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสจักรวรรดิขแมร์จังหวัดบันทายมีชัยจังหวัดพระวิหารจังหวัดพระสีหนุจังหวัดพระตะบองจังหวัดกระแจะจังหวัดกันดาลจังหวัดกำปอตจังหวัดกำปงชนังจังหวัดกำปงสปือจังหวัดกำปงจามจังหวัดกำปงธมจังหวัดมณฑลคีรีจังหวัดรัตนคีรีจังหวัดสวายเรียงจังหวัดสตึงแตรงจังหวัดอุดรมีชัยจังหวัดของประเทศกัมพูชาจังหวัดตาแก้วจังหวัดตโบงฆมุมจังหวัดแกบจังหวัดโพธิสัตว์จังหวัดไพรแวงจังหวัดไพลินจังหวัดเกาะกงจังหวัดเสียมราฐทิวเขาพนมดงรักคริสต์คริสต์ศตวรรษที่ 13ตาเขมา (เมือง)ประวัติศาสตร์กัมพูชาประเทศญี่ปุ่นประเทศลาวประเทศจีนประเทศไทยประเทศเวียดนามประเทศเวียดนามใต้ประเทศเวียดนามเหนือปราสาทบายนปราสาทพระวิหารปักกิ่งนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัยนครราชนครวัดนครธมแบปทิสต์แกบ (เมือง)แม่น้ำบาสักแม่น้ำโขงแสนมโนรมย์แปลก พิบูลสงครามโพธิสัตว์ (เมือง)โฎนแกว (เมือง)โรมันคาทอลิกโตนเลสาบโปรเตสแตนต์ไพรแวง (เมือง)ไทยเกาะกงเรียลกัมพูชาเสียมราฐเสียมราฐ (เมือง)เหมา เจ๋อตงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เถรวาทเทือกเขาอันนัมเขมรภูมินทร์เขมรอิสระเขมรแดงเขมรเสรีเขียว สัมพันเซิน หง็อก ถั่ญ.kh25 พฤศจิกายน