โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประวัติศาสตร์อังกฤษ

ดัชนี ประวัติศาสตร์อังกฤษ

อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..

285 ความสัมพันธ์: บริษัทเซาธ์ซีบริเตนสมัยโรมันบริเตนใหญ่บันทึกดูมสเดย์บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซันชาวแองโกล-แซกซันชาวไวกิงชาวเคลต์พ.ศ. 1143พ.ศ. 1408พ.ศ. 1409พ.ศ. 1413พ.ศ. 1414พ.ศ. 1421พ.ศ. 1523พ.ศ. 1573พ.ศ. 1579พ.ศ. 1583พ.ศ. 1585พ.ศ. 1593พ.ศ. 1603พ.ศ. 1609พ.ศ. 1629พ.ศ. 1682พ.ศ. 1690พ.ศ. 1696พ.ศ. 1758พ.ศ. 1779พ.ศ. 1820พ.ศ. 1836พ.ศ. 1857พ.ศ. 1880พ.ศ. 1892พ.ศ. 1901พ.ศ. 1903พ.ศ. 1918พ.ศ. 1924พ.ศ. 1942พ.ศ. 1943พ.ศ. 1953พ.ศ. 1958พ.ศ. 1962พ.ศ. 1972พ.ศ. 1996พ.ศ. 1998พ.ศ. 2003พ.ศ. 2004พ.ศ. 2013พ.ศ. 2014พ.ศ. 2026...พ.ศ. 2028พ.ศ. 2052พ.ศ. 2054พ.ศ. 2056พ.ศ. 2068พ.ศ. 2074พ.ศ. 2076พ.ศ. 2077พ.ศ. 2078พ.ศ. 2079พ.ศ. 2083พ.ศ. 2085พ.ศ. 2086พ.ศ. 2090พ.ศ. 2092พ.ศ. 2096พ.ศ. 2097พ.ศ. 2101พ.ศ. 2102พ.ศ. 2108พ.ศ. 2130พ.ศ. 2131พ.ศ. 2146พ.ศ. 2148พ.ศ. 2154พ.ศ. 2168พ.ศ. 2170พ.ศ. 2180พ.ศ. 2183พ.ศ. 2184พ.ศ. 2185พ.ศ. 2188พ.ศ. 2189พ.ศ. 2191พ.ศ. 2192พ.ศ. 2193พ.ศ. 2194พ.ศ. 2195พ.ศ. 2196พ.ศ. 2202พ.ศ. 2203พ.ศ. 2205พ.ศ. 2206พ.ศ. 2208พ.ศ. 2209พ.ศ. 2211พ.ศ. 2213พ.ศ. 2221พ.ศ. 2222พ.ศ. 2230พ.ศ. 2231พ.ศ. 2232พ.ศ. 2240พ.ศ. 2243พ.ศ. 2244พ.ศ. 2247พ.ศ. 2250พ.ศ. 2257พ.ศ. 2258พ.ศ. 2260พ.ศ. 2262พ.ศ. 2270พ.ศ. 2288พ.ศ. 2297พ.ศ. 2299พ.ศ. 2300พ.ศ. 2301พ.ศ. 2303พ.ศ. 2306พ.ศ. 2308พ.ศ. 2316พ.ศ. 2318พ.ศ. 2319พ.ศ. 2321พ.ศ. 2324พ.ศ. 2326พ.ศ. 2331พ.ศ. 2332พ.ศ. 2336พ.ศ. 2341พ.ศ. 2343พ.ศ. 2344พ.ศ. 586พ.ศ. 953พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707พระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนาพระราชบัญญัติความมั่นคง ค.ศ. 1704พระราชวังไวต์ฮอลพระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปนพระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ดพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชพระเจ้าฮาร์ธาคนุตพระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษพระเจ้าคนุตมหาราชพระเจ้าแอเทลสแตนแห่งอังกฤษพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนพระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโสพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขีพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพันธบัตรกฎหมายแซลิกกองทัพตัวแบบใหม่การยุบอารามการลอบวางแผนโพพิชการปฏิวัติฝรั่งเศสการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์การปฏิวัติอเมริกากาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษมหาอัคคีภัยแห่งลอนดอนมินอร์กามุมไบมนุษย์ยุทธการที่ปลาศียุครัฐในอารักขายุคสัมฤทธิ์ยุคหินกลาง (ยูเรเชีย)ยุคหินใหม่ยุคน้ำแข็งยุคเหล็กรอเบิร์ต ไคลฟ์รัฐฟลอริดารัฐสภาชุมนุมรัฐสภายาวรัฐสภารัมป์รัฐสภาสั้นรัฐสภาอังกฤษรัฐสภาแบร์โบนราชวงศ์กาเปเซียงราชวงศ์สจวตราชวงศ์ทิวดอร์ราชวงศ์แพลนแทเจเนตราชวงศ์แฮโนเวอร์ราชอาณาจักรอีสต์แองเกลียราชอาณาจักรซัสเซกซ์ราชอาณาจักรนอร์ทัมเบรียราชอาณาจักรเมอร์เซียราชอาณาจักรเวสเซกซ์ราชอาณาจักรเคนต์ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ริชาร์ด ครอมเวลล์ลอนดอนวิลเลียม เชกสเปียร์สมัยการปกครองส่วนพระองค์สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษสหรัฐสหราชอาณาจักรสงครามร้อยปีสงครามศาสนาของฝรั่งเศสสงครามสามสิบปีสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนสงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรียสงครามดอกกุหลาบสงครามครูเสดครั้งที่ 3สงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์สงครามเก้าปีสงครามเจ็ดปีสโตนเฮนจ์หัวเกรียนออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรีออร์กนีย์อาร์มาดาสเปนจอร์จ เกรนวิลล์จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดินีมาทิลดาจูเลียส ซีซาร์ทวีปอเมริกาคริสตจักรแห่งอังกฤษงานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตันประเทศสกอตแลนด์ประเทศอังกฤษประเทศไอร์แลนด์ประเทศเวลส์ประเทศเซเนกัลปราสาทนีแอนเดอร์ทาลนโปเลียนแอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษแอนน์แห่งคลีฟส์ พระราชินีแห่งอังกฤษแควาเลียร์แคเธอรีน พารร์ พระราชินีแห่งอังกฤษแคเธอรีน ฮอเวิร์ด พระราชินีแห่งอังกฤษโรมโบราณโรคระบาดครั้งใหญ่ในลอนดอนโอลิเวอร์ ครอมเวลล์โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์เฟิร์ธออฟฟอร์ธเลดีเจน เกรย์เศาะลาฮุดดีนเอลิเนอร์แห่งอากีแตนเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษเจ็ดอาณาจักรเจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์กเจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าผู้อารักขาเทวสิทธิราชย์เดนลอว์เครือจักรภพแห่งอังกฤษ ขยายดัชนี (235 มากกว่า) »

บริษัทเซาธ์ซี

“เหตุการณ์ฟองสบู่แตกเซาธ์ซี” โดยเอ็ดเวิร์ด แม็ทธิว วอร์ด, หอศิลป์เทท บริษัทเซาธ์ซี (South Sea Company) เป็นบริษัทร่วมหุ้น (joint stock company) ของราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ที่ทำการค้าขายในทวีปอเมริกาใต้ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 บริษัทก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและบริษัทเซาธ์ซี · ดูเพิ่มเติม »

บริเตนสมัยโรมัน

ริเตนสมัยโรมัน หรือ โรมันบริเตน (Britannia Romana) หมายถึงบริเวณเกาะอังกฤษส่วนที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันระหว่าง ค.ศ. 43 ถึง ค.ศ. 410 โรมันเรียกจังหวัดนี้ว่า “บริทานเนีย” (Britannia) หรือบริทานยา ก่อนที่โรมันจะเข้ามารุกรานบริเตนยุคเหล็กก็มีวัฒนธรรมและเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินใหญ่ยุโรปอยู่แล้ว แต่ผู้รุกรานก็ยังนำการการวิวัฒนาการใหม่ๆ ทางด้านการเกษตรกรรม, การจัดระบบเมือง (urbanization), การอุตสาหกรรม และสถาปัตยกรรมเข้ามาเผยแพร่และยังทิ้งร่องรอยให้เห็นจนถึงทุกวันนี้ หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการรุกรานเมื่อเริ่มแรกมีน้อย นักประวัติศาสตร์โรมันก็กล่าวถึงเพียงผ่านๆ ความรู้ส่วนใหญ่ของสมัยนี้มาจากหลักฐานทางโบราณคดีโดยเฉพาะจากหลักฐานที่สลักไว้บนหินหรือวัตถุอื่นๆ (epigraphic evidence).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและบริเตนสมัยโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

บริเตนใหญ่

ริเตนใหญ่ (Great Britain) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะบริติช ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของภาคพื้นทวีปยุโรป มีเกาะไอร์แลนด์ตั้งอยู่ทางตะวันตก เกาะบริเตนใหญ่เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป ล้อมรอบด้วยเกาะเล็กนับร้อยเกาะ บริเตนใหญ่เนื้อที่ส่วนใหญ่ของสหราชอาณาจักร เป็นที่ตั้งของอังกฤษ สกอตแลนด์ และเวลส์ บริเตนใหญ่เป็นเกาะที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากเกาะชวาและเกาะฮนชู คำว่าบริเตนใหญ่บางครั้งใช้ในความหมายของสหราชอาณาจักร ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ ซึ่งเป็นรัฐที่เกิดจากการรวมตัวของอังกฤษและสกอตแลนด์ในช่วงพ.ศ. 2250–2344 ก่อนที่นอร์เทิร์นไอร์แลนด์จะเข้าร่วม เป็นสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และนอร์เทิร์นไอร์แลน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

บันทึกดูมสเดย์

ันทึกดูมสเดย์ (Domesday Book) เป็นบันทึกจากการสำรวจสำมะโนประชากรในอังกฤษที่ทำเสร็จใน ค.ศ. 1086 ตามพระราชโองการในพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 การสำรวจดูมสเดย์ก็คล้ายกับการสำรวจสำมโนประชากรที่ทำกันในคริสต์ศตวรรษที่ 20 และ 21 บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซันกล่าวว่าขณะที่ประทับอยู่ที่กลอสเตอร์ระหว่างคริสต์มาสในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและบันทึกดูมสเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน

ันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxon Chronicle) เป็นชุดหนังสือรายปีที่เขียนด้วยภาษาอังกฤษเก่า เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชาวแองโกล-แซกซัน เขียนขึ้นราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 อาจจะที่เวสเซ็กซ์ในรัชสมัยของพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช หลังจากนั้นต้นฉบับก็ถูกส่งไปตามอารามต่างๆ ทั่วอังกฤษ แต่ละอารามต่างก็แก้ไขเพิ่มเติมต่อมาเรื่อย ๆ ในกรณีหนึ่งบันทึกถูกเพิ่มเติมมาจนถึงปี ค.ศ. 1154 ในปัจจุบันบันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซันมีเหลืออยู่ 9 ฉบับทั้งสมบูรณ์และเหลือแต่บางส่วน คุณค่าของแต่ละฉบับก็ต่างกันใน 9 ฉบับนี้ไม่มีฉบับใดที่เป็นฉบับดั้งเดิมแท้ ๆ ฉบับที่เก่าที่สุดสันนิษฐานกันว่าเริ่มเขียนราวปลายรัชสมัยของพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช และฉบับล่าสุดเป็นฉบับที่เขียนที่มหาวิหารปีเตอร์บะระหลังจากไฟใหม้อารามในปี ค.ศ. 1116 เนึ้อหาของบันทึกเป็นการบันทึกเหตุการณ์ประจำปี เหตุการณ์ปีแรกที่สุดที่บันทึกคือปี 60 ก่อนคริสต์ศักราชมาจนถึงปีที่เขียน ต่อจากนั้นเนื้อหาก็เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยของการเขียน บันทึกต่าง ๆ เหล่านี้เรียกรวมกันว่า “บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน” เนื้อหาของบันทึกไม่เป็นกลางนักในบางบันทึกเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับเอกสารจากสมัยกลางอื่น ๆ จะพบว่าผู้เขียนละเว้นเหตุการณ์บางเหตุการณ์ หรือเขียงจากมุมมองของผู้เขียน หรือบางฉบับก็จะแตกต่างจากฉบับอื่นเมื่อกล่าวถึงเหตุการณ์เดียวกันหรือข้อมูลที่บันทึกขัดแย้งกันเอง แต่เมื่อพิจารณาโดยทั่วไปแล้วพงศาวดารเป็นหลักฐานชิ้นที่สำคัญที่สุดทางประวัติศาสตร์ระหว่างสมัยโรมันหมดอำนาจในอังกฤษไปจนถึงการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน ข้อมูลที่บันทึกในพงศาวดารไม่พบในเอกสารอื่นใด นอกจากนั้นบันทึกยังเป็นเอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์ภาษาอังกฤษโดยเฉพาะฉบับที่เขียนที่ปีเตอร์บะระซึ่งเป็นตัวอย่างแรกที่สุดของภาษาอังกฤษสมัยกลาง เจ็ดในเก้าฉบับปัจจุบันเก็บรักษาไว้หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ (British Library) อึกสองฉบับอยู่ที่หอสมุดบอดเลียนของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดและวิทยาลัยคอร์พัสคริสติของมหาวิทยาลัยเคมบร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและบันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแองโกล-แซกซัน

ราชอาณาจักรแองโกล-แซกซัน ราว ค.ศ. 600 หมวกนักรบที่พบในซัตตันฮูที่อาจจะเป็นของเรดวอลดแห่งอีสแองเกลีย (Raedwald of East Anglia) (ราว ค.ศ. 625) ออกแบบตามแบบหมวกนักรบของโรมันและตกแต่งแบบหมวกนักรบของสวีเด็นที่ทำในสมัยเดียวกันที่โอลด์อุพพ์ซาลา แองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxons) เป็นคำที่ใช้เรียกชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางใต้และตะวันออกของสหราชอาณาจักรระหว่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนกระทั่งถึงการรุกรานของนอร์มัน ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและชาวแองโกล-แซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไวกิง

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ. 901-1000, และสีเหลือง-ระว่าง ค.ศ. 1001-1100, บริเวณสีเขียวแสดงพื้นที่ที่มักถูกโจมตีโดยพวกไวกิงบ่อยแต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานมาก ไวกิง (Vikings) ในความหมายหลักหมายถึงชนเผ่านักรบ นักการค้า และนักตั้งถิ่นฐานจากนอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก ซึ่งบุกรบชนะ ยึดครอง และตั้งอาณานิคมอาณาเขตในส่วนใหญ่ของอังกฤษ นอร์ม็องดี และรัสเซียเมื่อระหว่างประมาณ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและชาวไวกิง · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเคลต์

ริเวณที่ยังมีการใช้ภาษากลุ่มเคลต์อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน เคลต์ หรือ เซลต์ (Celts; หรือ) เป็นคำที่ใช้เรียกชนยุโรปที่เดิมพูดหรือยังพูดภาษากลุ่มเคลต์ (Celtic languages) นอกจากนั้นก็ยังเป็นคำที่ใช้ในความหมายกว้าง ๆ ในการบรรยายผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวเคลต์ที่ยังคงรักษาวัฒนธรรมเคลต์อยู่ เคลต์ในประวัติศาสตร์เป็นกลุ่มชนหลายกลุ่มในยุคเหล็กยุโรป อารยธรรมเคลต์ดั้งเดิมเริ่มก่อตั้งในสมัยต้นยุคเหล็กในตอนกลางของทวีปยุโรป (สมัยวัฒนธรรมฮัลล์ชตัทท์ที่ตั้งชื่อตามบริเวณที่เป็นออสเตรียปัจจุบัน) พอมาถึงปลายยุคเหล็ก (สมัยลาแตน) เคลต์ก็ขยายตัวไปในดินแดนต่าง ๆ ที่รวมทั้งทางตะวันตกที่ไปถึงไอร์แลนด์และคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตะวันออกไปสุดที่กาเลเชีย (Galatia) (กลางอานาโตเลีย) และทางเหนือสุดที่สกอตแลนด์ หลักฐานแรกที่บ่งถึงภาษาเคลต์อยู่ในคำจารึกในภาษาเลพอนติค (Lepontic language) จากคริสต์ศตวรรษที่ 6 กลุ่มภาษาเคลต์ภาคพื้นยุโรปมีหลักฐานเฉพาะชื่อสถานที่ กลุ่มภาษาเคลต์เกาะ (Insular Celtic) ปรากฏในหลักฐานจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ในคำจารึกออกัม (Ogham inscription) อารยธรรมทางวรรณกรรมเริ่มด้วยการใช้ภาษาไอริชเก่าตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 8 วรรณกรรมไอริชสมัยต้น เช่น "Táin Bó Cúailnge" มีหลักฐานมาจนถึงฉบับแก้ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งหลังการขยายดินแดนของจักรวรรดิโรมันและสมัยการย้ายถิ่นฐาน (Migration Period) ของกลุ่มชนเจอร์แมนิกแล้ว อารยธรรมเคลต์ก็จำกัดอยู่แต่เพียงหมู่เกาะบริติช (ภาษาเคลต์เกาะ) และภาษาเคลต์ยุโรปก็หยุดใช้กันไปในคริสต์ศตวรรษที่ 6 เคลต์เกาะที่ว่าหมายถึงดินแดนรอบทะเลไอริช รวมทั้งคอร์นวอลล์และบริตตานีบนสองฝั่งของช่องแคบอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและชาวเคลต์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1143

ทธศักราช 1143 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1143 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1408

ทธศักราช 1408 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1408 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1409

ทธศักราช 1409 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1409 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1413

ทธศักราช 1413 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1413 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1414

ทธศักราช 1414 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1414 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1421

ทธศักราช 1421 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1421 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1523

ทธศักราช 1523 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1573

ทธศักราช 1573 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1573 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1579

ทธศักราช 1579 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1579 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1583

ทธศักราช 1583 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1583 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1585

ทธศักราช 1585 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1042.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1585 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1593

ทธศักราช 1593 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1050.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1593 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1603

ทธศักราช 1603 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1603 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1609

ทธศักราช 1609 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1609 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1629

ทธศักราช 1629 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1629 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1682

ทธศักราช 1682 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1682 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1690

ทธศักราช 1690 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1690 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1696

ทธศักราช 1696 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1696 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1758

ทธศักราช 1758 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1758 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1779

ทธศักราช 1779 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1779 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1820

ทธศักราช 1820 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1820 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1836

ทธศักราช 1836 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1836 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1857

ทธศักราช 1857 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1857 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1880

ทธศักราช 1880 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1880 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1892

ทธศักราช 1892 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1892 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1901

ทธศักราช 1901 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1901 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1903

ทธศักราช 1903 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1903 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1918

ทธศักราช 1918 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1924

ทธศักราช 1924 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1924 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1942

ทธศักราช 1942 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1942 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1943

ทธศักราช 1943 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1943 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1953

ทธศักราช 1953 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1953 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1958

ทธศักราช 1958 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1958 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1962

ทธศักราช 1962 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1962 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1972

ทธศักราช 1972 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1996

ทธศักราช 1996 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1998

ทธศักราช 1998 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 1998 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2003

ทธศักราช 2003 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2003 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2004

ทธศักราช 2004 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2013

แผนที่ทวีปยุโรปเมื่อ ค.ศ. 1470 พุทธศักราช 2013 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2013 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2014

ทธศักราช 2014 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2014 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2026

ทธศักราช 2026 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2026 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2028

ทธศักราช 2028 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2028 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2052

ทธศักราช 2052 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2052 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2054

ทธศักราช 2054 เทียบเคียงกั..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2054 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2056

ทธศักราช 2056 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2056 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2068

ทธศักราช 2068 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2068 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2074

ทธศักราช 2074 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2074 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2076

ทธศักราช 2076 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2076 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2077

ทธศักราช 2077 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2077 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2078

ทธศักราช 2078 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1535 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2078 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2079

ทธศักราช 2079 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2079 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2083

ทธศักราช 2083 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2083 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2085

ทธศักราช 2085 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2085 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2086

ทธศักราช 2086 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2086 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2090

ทธศักราช 2090 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2090 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2092

ทธศักราช 2092 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2092 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2096

ทธศักราช 2096 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2096 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2097

ทธศักราช 2097 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2097 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2101

ทธศักราช 2101 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2101 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2102

ทธศักราช 2102 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2102 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2108

ทธศักราช 2108 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2108 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2130

ทธศักราช 2130 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2130 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2131

ทธศักราช 2131 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2131 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2146

ทธศักราช 2146 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2146 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2148

ทธศักราช 2148 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2148 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2154

ทธศักราช 2154 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2154 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2168

ทธศักราช 2168 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2168 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2170

ทธศักราช 2170 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2170 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2180

ทธศักราช 2180 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2180 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2183

ทธศักราช 2183 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2183 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2184

ทธศักราช 2184 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2184 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2185

ทธศักราช 2185 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2185 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2188

ทธศักราช 2188 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2188 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2189

ทธศักราช 2189 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2189 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2191

ทธศักราช 2191 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2191 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2192

ทธศักราช 2192 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2192 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2193

ทธศักราช 2193 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2193 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2194

ทธศักราช 2194 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2194 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2195

ทธศักราช 2195 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2195 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2196

ทธศักราช 2196 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2196 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2202

ทธศักราช 2202 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2202 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2203

ทธศักราช 2203 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2203 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2205

ทธศักราช 2205 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2205 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2206

ทธศักราช 2206 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2206 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2208

ทธศักราช 2208 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2208 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2209

ทธศักราช 2209 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2209 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2211

ทธศักราช 2211 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2211 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2213

ทธศักราช 2213 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2213 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2221

ทธศักราช 2221 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2221 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2222

ทธศักราช 2222 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2222 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2230

ทธศักราช 2230 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2230 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2231

ทธศักราช 2231 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2231 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2232

ทธศักราช 2232 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2232 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2240

ทธศักราช 2240 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2240 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2243

ทธศักราช 2243 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2243 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2244

ทธศักราช 2244 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2244 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2247

ทธศักราช 2247 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2247 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2250

ทธศักราช 2250 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2250 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2257

ทธศักราช 2257 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2257 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2258

ทธศักราช 2258 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2258 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2260

ทธศักราช 2260 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2260 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2262

ทธศักราช 2262 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2262 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2270

ทธศักราช 2270 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2270 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2288

ทธศักราช 2288 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2288 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2297

ทธศักราช 2297 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2297 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2299

ทธศักราช 2299 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2299 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2300

ทธศักราช 2300 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2300 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2301

ทธศักราช 2301 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2301 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2303

ทธศักราช 2303 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2303 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2306

ทธศักราช 2306 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2306 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2308

ทธศักราช 2308 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2308 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2316

ทธศักราช 2316 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2316 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2318

ทธศักราช 2318 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2318 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2319

ทธศักราช 2319 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2319 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2321

ทธศักราช 2321 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2321 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2324

ทธศักราช 2324 ตรงกับคริสต์ศักราช 1781 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2324 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2326

ทธศักราช 2326 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2326 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2331

ทธศักราช 2331 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2331 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2332

ทธศักราช 2332 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2332 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2336

ทธศักราช 2336 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1793.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2336 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2341

ทธศักราช 2341 ตรงกับคริสต์ศักราช 1798 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2341 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2343

ทธศักราช 2343 ตรงกับคริสต์ศักราช 1800 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2343 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2344

ทธศักราช 2344 ตรงกับคริสต์ศักราช 1801 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 2344 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 586

ทธศักราช 586 ใกล้เคียงกับ คริสต์ศักราช 43.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 586 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 953

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพ.ศ. 953 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701

ระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707

งราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ ค.ศ. 1707-1800) พระราชบัญญัติสห..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนา

ระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ พระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนา (Act of Supremacy) พระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนาฉบับแรกมอบอำนาจให้สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษเป็น “ประมุขสูงสุดของคริสตจักรแห่งอังกฤษ” ซึ่งยังคงเป็นอำนาจตามกฎหมายของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรมาจนถึงทุกวันนี้ ประมุขสูงสุดกำหนดขึ้นโดยเฉพาะในการบรรยายอำนาจทางกฎหมายแพ่งของพระมหากษัตริย์ที่มีอำนาจเหนือกฎบัตรของคริสต์ศาสนจักรในอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติความมั่นคง ค.ศ. 1704

ระราชบัญญัติเพื่อความปลอดภั..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระราชบัญญัติความมั่นคง ค.ศ. 1704 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังไวต์ฮอล

ระราชวังไวต์ฮอล (Palace of Whitehall) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ในลอนดอนในสหราชอาณาจักร ที่ประทับหลักของพระมหากษัตริย์อังกฤษในลอนดอนระหว่าง ค.ศ. 1530 - ค.ศ. 1698 ยกเว้นเมื่อตึกเลี้ยงรับรอง (Banqueting House) ที่สร้างโดยอินิโก โจนส์ (Inigo Jones) ในปี ค.ศ. 1622 เกิดเพลิงไหม้ ก่อนที่ไฟจะไหม่พระราชวังไวต์ฮอลเป็นพระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปที่ประกอบด้วยห้องทั้งหมดกว่า 1,500 ห้อง ชื่อของวังใช้เป็นชื่อถนนที่เป็นที่ตั้งของพระราชวังที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักงานบริหารต่างๆ ของรัฐบาลอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระราชวังไวต์ฮอล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส (Charles V of France หรือ Charles the Wise หรือ Charles le Sage; 21 มกราคม ค.ศ. 1338 - 16 กันยายน ค.ศ. 1380) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1364 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1380 รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยของสงครามร้อยปีที่ทรงยึดดินแดนที่เสียไปแก่ราชอาณาจักรอังกฤษในสนธิสัญญาเบรทินยี (Treaty of Brétigny) พระเจ้าพระเจ้าชาร์ลที่ 5 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1338 ที่แว็งแซนในประเทศฝรั่งเศส พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าจอห์นที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและ โบนนีแห่งโบฮีเมีย ดัชเชสแห่งนอร์ม็องดีผู้ที่สิ้นพระชนม์ไม่นานก่อนที่พระสวามีจะขึ้นครองราชย์ ต่อมาพระองค์ทรงเสกสมรสกับฌานแห่งบูร์บง ในปี ค.ศ. 1350 และมีพระราชโอรสธิดาด้วยกันเก้าพระองค์ที่รวมทั้งพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส, หลุยส์ที่ 1 ดยุคแห่งออร์เลอ็อง และกาเตอรีนแห่งวาลัว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (Charles II of England; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685) พระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ และพระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ ในราชวงศ์สจวต ระหว่างปี ค.ศ. 1660 ถึงปี ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 ที่พระราชวังเซนต์เจมส์ในกรุงลอนดอน เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ได้อภิเษกสมรสกับพระนางแคเธอริน และครองสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 ถึงวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 และ อังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 ถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ที่พระราชวังไวท์ฮอลในกรุงลอนดอน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายหลังจากพระราชบิดาพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ถูกประหารชีวิตที่พระราชวังไวต์ฮอลเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 แต่รัฐสภาอังกฤษมิได้ประกาศแต่งตั้งให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์และผ่านบัญญัติว่าเป็นการดำรงตำแหน่งของพระองค์เป็นการผิดกฎหมาย จึงเกิดช่วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ แต่ทางรัฐสภาสกอตแลนด์ประกาศให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ของชาวสกอตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649 ที่เอดินบะระ และรับพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1651 หลังจากที่พ่ายแพ้ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็เสด็จหนีไปยุโรปภาคพื้นทวีปและไปประทับลี้ภัยเป็นเวลา 9 ปีในประเทศฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ของสเปน หลังจากที่รัฐบาลสาธารณรัฐภายใต้การนำของริชาร์ด ครอมเวลล์ล่มในปี ค.ศ. 1659 นายพลจอร์จ มองค์ก็อัญเชิญชาลส์ให้กลับมาเป็นสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษในสมัยที่เรียกกันว่า “การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ” พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เสด็จกลับถึงอังกฤษเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และเสด็จเข้าลอนดอนในวันประสูติครบ 30 พรรษาเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษและ ไอร์แลนด์เมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1660 รัฐสภาภายใต้การนำของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ออกพระราชบัญญัติต่อต้านพิวริตันที่รู้จักกันในชื่อ “ประมวลกฎหมายแคลเรนดัน” (Clarendon code) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อหนุนสถานะของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แม้ว่าในทางส่วนพระองค์แล้วพระเจ้าชาลส์ที่ 2 จะทรงสนับสนุนนโยบายความมีเสรีภาพในการนับถือศาสนาก็ตาม ส่วนปัญหาใหญ่ในด้านการต่างประเทศในต้นรัชสมัยก็คือการสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1670 พระเจ้าชาลส์ทรงไปทำสัญญาลับกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสที่ระบุว่าฝรั่งเศสจะช่วยอังกฤษในสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม และจะถวายเงินบำนาญแก่พระองค์โดยมีข้อแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าชาลส์ต้องสัญญาว่าจะเปลื่ยนจากการนับถือนิกายแองกลิคันไปเป็นการนับถือนิกายโรมันคาทอลิก แต่พระเจ้าชาลส์มิได้ทรงระบุเวลาที่แน่นอนในเรื่องการเปลี่ยนนิกาย แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงพยายามเพิ่มสิทธิและเสรีภาพให้แก่ผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโปรเตสแตนต์ต่าง ๆ มากขึ้นโดยการออกพระราชปฏิญญาพระคุณการุญในปี ค.ศ. 1672 แต่รัฐสภาบังคับให้ทรงถอนในปี ค.ศ. 1679 ในปี ค.ศ. 1679 ไททัส โอตส์สร้างข่าวลือเรื่อง “การลอบวางแผนโพพิช” ที่เป็นผลให้เกิดวิกฤตกาลการกีดกัดต่อมา เมื่อเป็นที่ทราบกันว่าดยุกแห่งยอร์กพระอนุชาของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และรัชทายาทผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 2เปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้บ้านเมืองแบ่งเป็นสองฝักสองฝ่าย ฝ่ายวิกสนับสนุนการยกเว้นไม่ให้ดยุกแห่งยอร์กขึ้นครองราชย์และฝ่ายทอรีต่อต้านการยกเว้น พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเข้าข้างฝ่ายหลัง หลังจากที่ผู้ก่อการโปรเตสแตนต์วางแผน “การลอบวางแผนไรย์เฮาส์” ที่จะปลงพระองค์เองและดยุกแห่งยอร์กในปี ค.ศ. 1683 ที่ทำให้ผู้นำพรรควิกหลายคนถูกประหารชีวิตหรือถูกเนรเทศ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 จึงทรงยุบสภาในปี ค.ศ. 1679 และทรงราชย์โดยไม่มีรัฐสภาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ก่อนจะเสด็จสวรรคตพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็ทรงเปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิกบนพระแท่นที่ประชวร พระเจ้าชาลส์ไม่มีพระราชโอรสธิดากับพระนางแคเธอรินแห่งบราแกนซา เพราะพระนางทรงเป็นหมัน แต่ทรงยอมรับว่ามีพระราชโอรสธิดานอกสมรส 12 องค์กับพระสนมหลายคน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนาม “ราชาเจ้าสำราญ” (Merrie Monarch) ซึ่งหมายถึงการใช้ชีวิตในราชสำนักของพระองค์ที่เต็มไปด้วยความสนุกสำราญซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการที่ถูกเก็บกดมาเป็นเวลานานภายใต้การปกครองของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์และกลุ่มพิวริตัน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส (Philip IV of France หรือ Philip the Fair หรือ Philip le Bel) (เมษายน–มิถุนายน ค.ศ. 1268 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1314) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1285 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1314 และเนื่องจากทรงอภิเสกสมรสกับสมเด็จพระราชินีโจนที่ 1 แห่งนาวาร์ ทำให้ทรงเป็นพระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งราชอาณาจักรนาวาร์ และเคานท์แห่งชองปาญด้วย พระเจ้าฟิลิปที่ 4 เสด็จพระราชสมภพเมื่อราวเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1268 ที่พระราชวังฟองแตงโบลในประเทศฝรั่งเศส พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศสและ พระราชินีอิสซาเบลลา พระเจ้าฟิลิปที่ 4 ทรงได้รับพระนามว่า “le Bel” เพราะมีพระโฉมงาม แต่แท้จริงพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทะเยอทะยานและมีความชาญฉลาดในการปกครอง รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยของการเริ่มรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางของฝรั่งเศส จากที่เคยเป็นสังคมแบบขุนศึกศักดินามาก่อน พระเจ้าฟิลิปปกครองโดยอาศัยข้าราชบริพารที่มีทักษะความสามารถสูง เช่น กิโยม เดอ โนกาเร (Guillaume de Nogaret) แทนที่จะอาศัยขุนศึกบารอน พระองค์แสวงหาความเด็ดขาดในอำนาจของสถาบันกษัตริย์โดยการใช้สงครามกดดันขุนศึกใต้ปกครอง และจำกัดการใช้วิธีปกครองแบบศักดินา นอกจากนี้พระองค์ยังขวนขวายให้พระประยูรญาติของพระองค์ได้ครองราชบัลลังก์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วยุโรป ความทะเยอทะยานนี้ทำให้พระองค์ทรงมีอิทธิพลในการเมืองระหว่างประเทศสูง และภายใต้รัชสมัยของพระองค์ฝรั่งเศสได้ขยายดินแดนออกไปทางตะวันออกผ่านการรวบรวมเอาพื้นที่ปกครองศักดินา (fief) ที่กระจัดกระจายกันเข้ามาไว้ในอาณัติ การแสวงหาอำนาจที่เด็ดขาดของราชบัลลังก์ทำให้พระองค์พยายามเข้าควบคุมสถาบันสงฆ์ในฝรั่งเศสและนำไปสู่ความขัดแย้งกับสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 (Pope Boniface VIII) เหตุการณ์นี้นำไปสู่สมณสมัยอาวีญง ซึ่งเป็นช่วงที่พระสันตปาปาทรงประทับอยู่ ณ เมืองอาวีญง ราชอาณาจักรฝรั่งเศส แทยที่จะเป็นกรุงโรม ความขัดแย้งทางทหารที่รู้จักกันดีที่สุดในรัชสมัยของพระเจ้าฟิลิปที่ 4 คือสงครามกับพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ ในช่วงเดียวกันนี้พระองค์ยังได้เข้าเป็นพันธมิตรกับราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ซึ่งเริ่มในรัชสมัยของจอห์น บัลลิออลเพื่อต่อต้านแผนการรุกรานฝรั่งเศสของพระเจ้ากรุงอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปน

พระปรมาภิไธยของพระองค์ พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปน (Carlos II de España, Charles II of Spain) ทรงปกครองทั้งสเปนและโปรตุเกสในฐานะ พระมหากษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยเป็นพระราชโอรสพระองค์เดียว ทีมีพระชนม์ชีพอยู่ของ พระเจ้าเฟลิเปที่ 4 แห่งสเปน และ สมเด็จพระราชินีมาเรียนา เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 1665 เจ้าชายการ์โลสราชโอรสองค์เดียวของพระองค์ชันษาเพียง 3 พรรษา จึงเสด็จขึ้นครองราชย์แทนทรงพระนามว่า พระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปน ทรงอภิเษกทั้งหมด 2 ครั้งกับ มาเรีย หลุยส์แห่งออร์เลอองส์ และ มาเรีย อันนาแห่งพาลาทิเนท-น็อยแบร์ก เสด็จสวรรคตก่อนวันประสูติเพียง 5 วันคือวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1700 ขณะพระชนม์เพียง 38 พรรษา ครองสิริราชสมบัติได้ 35 ปีสวรรคตโดยไร้รัชทายาท กษัตริย์สเปนสาย พระเจ้าการ์โลสที่ 1 แห่งสเปน จึงสิ้นสุดลง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2204 หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สเปน หมวดหมู่:ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ซิซิลี หมวดหมู่:ดยุกแห่งบราบันต์ หมวดหมู่:ดยุกแห่งเกลเดอร์ส หมวดหมู่:ดยุกแห่งโลเธียร์ หมวดหมู่:ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก หมวดหมู่:ดยุกแห่งมิลาน หมวดหมู่:เคานต์แห่งแฟลนเดอส์ หมวดหมู่:เคานท์แห่งเอโนต์ หมวดหมู่:เจ้าชายสเปน หมวดหมู่:บุคคลจากมาดริด หมวดหมู่:ดยุกแห่งมงบล็อง หมวดหมู่:เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ในสมัยใหม่.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าการ์โลสที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

ปูนปั้นของพระเจ้าริชาร์ดใจสิงห์จากหลุมฝังพระศพของพระองค์ พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (8 กันยายน พ.ศ. 1700 – 6 เมษายน พ.ศ. 1742) ครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษระหว่างปี พ.ศ. 1732 ถึง พ.ศ. 1742 มักจะถูกเรียกพระนามว่า ริชาร์ดใจสิงห์ (Richard the Lionheart) เนื่องจากในสมัยของพระองค์ พระองค์ทรงเป็นวีรบุรุษในหมู่ชาวชนบท และในวรรณกรรมก็มักจะกล่าวถึงพระองค์ในแง่นั้น ทรงเป็นผู้บัญชาการกองทัพกลาง ใน สงครามครูเสด ครั้งที่ 3 และมีชัยชนะเหนือ ซาลาดิน โดยไม่ได้ยึดครองเยรูซาเร็ม เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษมีพระชนม์ชีพตรงกับต้นสมัยอาณาจักรเชียงแสน หรือก่อนสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยประมาณ 76ปี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ (Richard II of England) (6 มกราคม ค.ศ. 1367 – 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1400) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าริชาร์ดที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1367 ที่บอโดซ์ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ หรือเจ้าชายดำ และ โจนแห่งเค้นท์ เจ้าหญิงแห่งเวลส์ ทรงเสกสมรสกับสมเด็จพระราชินีแอนน์และต่อมา สมเด็จพระราชินีอิสซาเบลลาแห่งวาลัวร์ส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1377 จนกระทั่งถูกปลดจากราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1399 พระเจ้าริชาร์ดที่ 2 เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1399 ที่ปราสาทพอนติแฟรคท์, ยอร์คเชอร์ตะวันตก, อังกฤษ (ไม่แน่ชัดว่าทรงถูกลอบปลงพระชนม์หรือไม่) บทบาทในการปกครองของพระองค์เป็นผลให้เกิด การกบฏชาวนา (Peasants' Revolt) ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าริชาร์ดที่ 3 (2 ตุลาคม ค.ศ. 1452 – 22 สิงหาคม ค.ศ. 1485) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ (William I of England) หรือพระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต (William the Conqueror) หรือพระเจ้าวิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี (William II of Normandy) หรือบ้างเรียก พระเจ้าวิลเลียมลูกนอกสมรส (William the Bastard) พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ประสูติเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1027 (พ.ศ. 1570) และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1087 (พ.ศ. 1630) ทรงเป็นลูกนอกสมรสของโรเบิร์ตที่ 2 ดยุกแห่งนอร์ม็องดีและเฮอร์เลวา เดิมทรงมีฐานะเป็นดยุกแห่งนอร์ม็องดีในฝรั่งเศส เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1066 (พ.ศ. 1609) หลังจากที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขีสิ้นพระชนม์เมื่อ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

ลายเซ็นของพระองค์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (William III of England; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650 — 8 มีนาคม ค.ศ. 1702) ทรงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า วิลเลียมที่ 2 แห่งสกอตแลนด์ และ วิลเลมที่ 3 แห่งออเรนจ์ ทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง และทรงเป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายวิลเลมแห่งออเรนจ์และเจ้าหญิงแมรี สจวตประสูติที่ The Hague ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์ประสูติ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้นจึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2203 เมื่อพระเจ้าวิลเลียมมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระราชมารดาก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษในระหว่างที่ทรงเยี่ยมพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเชษฐาของพระองค์ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชาลส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชาลส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชาลส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด ในปี พ.ศ. 2217 พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับแมรีหลานสาวของพระองค์เอง ซึ่งแมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยาก ลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2220 พระองค์ได้ทรงเข้าไปมีส่วนร่วมในสงครามที่ต่อต้านอำนาจพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสหลายต่อหลายครั้งด้วยกัน เหล่าสมาชิกนิกายโปรแตสแตนต์ถึงกับได้มอบเหรียญตราและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เนื่องจากเลื่อมใสศรัทธาในพระองค์ แต่นั่นก็เป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้น ชื่อเสียงและกิตติศัพท์ของพระองค์ทำให้พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในเวลาต่อมา ถึงแม้ว่าจะมีเหตุผลอื่น ในการประสบความสำเร็จของพระองค์จะเป็นในด้านการทหาร หรือกองเรือรบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดก็ตาม พระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2245 ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า "the little gentleman in the black velvet waistcoat." และในปีถัดมา ท่านเซอร์วินสตัน เชอร์ชิล ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า "opened the trapdoor to a host of lurking foes".

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ด

มเด็จพระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ด หรือ สมเด็จพระเจ้าสเวนที่ 1 แห่งเดนมาร์ก (Sweyn I Forkbeard หรือ Sweyn Forkbeard) (ราว ค.ศ. 960 - ค.ศ. 1014) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ราชอาณาจักรนอร์เวย์ และ ราชอาณาจักรอังกฤษ สมเด็จพระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ด เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ ราว ค.ศ. 960 ในประเทศเดนมาร์กปัจจุบัน เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าฮารัลด์ที่ 1 แห่งเดนมาร์ก (ฮาราลด์ บลูทูธ) และ กิริธ โอลาฟสดอทเทียร์ ทรงเสกสมรสกับกันฮิลด์แห่งเว็นเด็นและต่อมาอาจจะกับซิกริดผู้ทรนง และทรงราชย์บัลลังก์เดนมาร์กระหว่างค.ศ. 986 ถึง 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014, ราชย์บัลลังก์นอร์เวย์ระหว่างค.ศ. 999 ถึง 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014 และ ราชย์บัลลังก์อังกฤษระหว่างค.ศ. 1014 ถึง 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014 พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ดเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014 พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ด ทรงมีหลายพระนาม ในพงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน (Anglo-Saxon Chronicles) ใช้ “Sven the Dane” หรือ “Swegen” หรือ “Tuck”; ในภาษานอร์เวย์โบราณ “Sveinn Tjúguskegg”; ในภาษานอร์เวย์ “Svein Tjugeskjegg”; ในภาษาสวีเดน “Sven Tveskägg”; ในภาษาเดนมาร์ก “Svend Tveskæg” จาก “Tjugeskæg” เดิม หรือ “Tyvskæg” พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ดทรงเป็นผู้นำไวกิงและเป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราช เมื่อพระเจ้าฮาโรลด์ที่ 1พระราชบิดาเสด็จสวรรคตราวปลายปี ค.ศ. 986 หรือต้นปี ค.ศ. 987 สเวน ฟอร์คเบียร์ดก็ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งเดนมาร์ก ในปี ค.ศ. 1000 ทรงเป็นพันธมิตรกับ Trondejarl Erik of Lade ซึ่งทำให้ได้ครองราชอาณาจักรนอร์เวย์เกือบทั้งหมด และเมื่อไม่นานก่อนที่จะเสด็จสวรรคตก็ได้รับชัยชนะต่ออังกฤษและได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษในปี ค.ศ. 1013 ในเดือนสุดท้ายก่อนที่จะเสด็จสวรรคตเป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิทะเลเหนือ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ด · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส (Louis XIII de France; หลุยส์เตร์ซเดอฟร็องส์) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บองผู้ปกครองแผ่นดินฝรั่งเศสตั้งแต..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส (Louis VIII of France) (5 กันยายน ค.ศ. 1187 - 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1226) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1223 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1226 พระเจ้าหลุยส์ที่ 8 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1187 ที่ปารีส ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส และ พระราชินีอิสซาเบลล.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช

ระเจ้าอัลเฟรดมหาราช (Alfred the Great; Ælfrēd) (ค.ศ. 849 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 899) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ในสมัยราชวงศ์เวสเซ็กซ์ เสด็จพระราชสมภพที่เวนเทจ บาร์กเชอร์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเอเธลวูล์ฟแห่งเวสเซกซ์และออสเบอร์กา ทรงเสกสมรสกับเอลสวิธ และทรงราชย์เป็นกษัตริย์ของชนแองโกล-แซ็กซอนภายใต้ราชอาณาจักรเวสเซกซ์ระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 871 พระเจ้าอัลเฟรดทรงมีชื่อเสียงในการป้องกันราชอาณาจักร จากการรุกรานของชาวไวกิงจากเดนมาร์ก และเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษพระองค์เดียวที่รับสมญานามว่า “มหาราช” พระเจ้าอัลเฟรดทรงเป็นกษัตริย์แห่งแซกซันตะวันตกพระองค์แรก ที่ทรงแสดงพระองค์ว่าเป็นกษัตริย์แห่งชาวแองโกล-แซกซัน ทรงเป็นผู้มีการศึกษาดี และทรงส่งเสริมการศึกษาและปรับปรุงทางด้านกฎหมายในราชอาณาจักรและระบบการทหาร พระราชประวัติของพระองค์ถูกกล่าวถึงในงานเขียนของแอสเซอร์ (Asser) นักปราชญ์ชาวเวล.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮาร์ธาคนุต

ระเจ้าฮาร์ธาคนุต หรือ พระเจ้าคนุตที่ 3 แห่งเดนมาร์ก (Harthacanute หรือ Canute the Hardy หรือ Hardecanute; Hörthaknútr หรือ Hardeknud) (ค.ศ. 1018 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 1042) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ และ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก สมเด็จพระเจ้าฮาร์ธาคนุต เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี ค.ศ. 1018 เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าคนุตมหาราช และ เอ็มมาแห่งนอร์ม็องดี สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ และทรงราชบัลลังก์เดนมาร์กระหว่างปี ค.ศ. 1035 ถึงปี ค.ศ. 1042 และราชบัลลังก์อังกฤษระหว่างวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1040 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1042 พระเจ้าฮาร์ธาคนุตได้รับราชบัลลังก์เดนมาร์กเมื่อปี ค.ศ. 1035 หลังจากที่พระราชบิดาพระเจ้าคนุตมหาราชเสด็จสวรรคต แต่การรุกรานของพระเจ้าแม็กนัสที่ 1 แห่งนอร์เวย์ทำให้ไม่ทรงสามารถมารับราชบัลลังก์อังกฤษได้ ทางอังกฤษจึงตกลงยกพระราชบัลลังก์ให้ฮาโรลด์ แฮร์ฟุตพระเชษฐาต่างพระมารดาผู้เป็นพระโอรสนอกสมรสของพระเจ้าคนุตมหาราชเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ชั่วคราว แต่พระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตทรงยึดราชบัลลังก์เป็นของพระองค์เองในปี ค.ศ. 1037 ฮาร์ธาคนุต “ถูกทิ้งเพราะไปอยู่เสียไกลในเดนมาร์ก”The Anglo-Saxon Chronicle — และเอ็มมาแห่งนอร์ม็องดีพระราชมารดาของฮาร์ธาคนุตผู้ที่ประทับอยู่ที่วินเชสเตอร์กับกองทหารของฮาร์ธาคนุตก็ทรงถูกบังคับให้หนีไปบรูจส์ (Bruges) ในฟลานเดอร์ส พระเจ้าฮาร์ธาคนุตทรงสงบศึกกับทางสแกนดิเนเวียด้วยสนธิสัญญาที่ทรงทำกับพระเจ้าแม็กนัสราวปี ค.ศ. 1038 หรือ ค.ศ. 1039 โดยตกลงกันว่าถ้าคนหนี่งคนใดตายดินแดนของผู้ที่ตายไปก็จะตกไปเป็นของผู้ที่มีชีวิตอยู่ หลังจากนั้นพระเจ้าฮาร์ธาคนุตก็เตรียมการรุกรานอังกฤษเพื่อที่จะไปปลดพระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตจากราชบัลลังก์ แต่พระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตเสด็จสวรรคตเสียก่อนเมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1040 พระเจ้าฮาร์ธาคนุตจึงได้รับการอัญเชิญจากอังกฤษ ทรงขึ้นฝั่งอังกฤษที่แซนด์วิชในเค้นท์ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1040 พร้อมกับเรือรบ 62 ลำ เมื่อเสด็จมาถึงก็มีพระราชโองการให้ขุดร่างของพระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตขึ้นมาแล้วเอาไปโยนทิ้ง พระเจ้าฮาร์ธาคนุตเป็นพระมหากษัตริย์ที่โหดร้ายและไม่เป็นที่นิยม ทรงเรียกเก็บภาษีอย่างหนักเพื่อที่ทรงใช้ในการบำรุงกองทัพเรือของพระองค์ ในปี ค.ศ. 1041 ชาววูสเตอร์สังหารทหารสองคนของพระเจ้าฮาร์ธาคนุตที่มาเก็บภาษี พระเจ้าฮาร์ธาคนุตทรงตอบโต้โดยการเผาเมือง เกี่ยวกับเรื่องภาษีมีตำนานเล่ากันว่าเลดี้โกไดวาเปลือยร่างขี่ม้ารอบเมืองโคเวนทรีเพื่อเรียกร้องให้เอิร์ลลดภาษีที่พระเจ้าฮาร์ธาคนุตสั่งให้เก็บ พงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน (Anglo-Saxon Chronicle) กล่าวถึงพระองค์อย่างผ่านๆ ว่าไม่ทรงประสบความสำเร็จอะไรในฐานะพระเจ้าแผ่นดินระหว่างเวลาที่ทรงครองราชย์ นอกจากนั้นก็ยังกล่าวว่าในปี ค.ศ. 1041 พระเจ้าฮาร์ธาคนุตทรงละเมิดสัญญาและทรยศต่อเอิร์ลเอดวูลฟแห่งนอร์ทธัมเบรียผู้อยู่ในความคุ้มครองของพระองค์ ในปี ค.ศ. 1041 พระเจ้าฮาร์ธาคนุตทรงอัญเชิญพระอนุชาต่างพระบิดาสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ กลับจากการลี้ภัยในนอร์ม็องดีมาอยู่ในราชสำนักของพระองค์และคงคิดจะตั้งเอ็ดเวิร์ดให้เป็นรัชทายาทด้วย พระเจ้าฮาร์ธาคนุตมิได้ทรงเสกสมรสและไม่มีพระราชโอรสธิดา แต่ก็มีข่าวลือว่ามีพระโอรสนอกสมรส วิลเลียม คนุต พระเจ้าฮาร์ธาคนุตเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1042 ที่แลมเบ็ธ พระบรมศพถูกฝังไว้ที่วินเชสเตอร์ที่เดียวกับพระราชบิดาและพระราชมารดา เอ็ดเวิร์ดขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ ฟื้นฟูราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของแซ็กซอน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าฮาร์ธาคนุต · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุต

มเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุต (Harold Harefoot หรือ Harold I) (ราว ค.ศ. 1015 – 17 มีนาคม ค.ศ. 1040) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ระหว่าง วันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1035 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1040 พระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 1015 เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราช และ เอลกิฟูแห่งนอร์ทแธมตัน แต่ความเชื่อที่ว่าเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าคานูทจริงก็ไม่เป็นที่แน่นอนThe Anglo-Saxon Chronicle, 1035-40, M. Swanton translation (1996).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุต · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่

ระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (George I of Great Britain, George I von Großbritannien) (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 – 11 มิถุนายน ค.ศ. 1727) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่

ระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ (George II of Great Britain) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ

ระเจ้าจอห์น หรือที่รู้จักในพระนาม “จอห์นผู้เสียแผ่นดิน” (John หรือ John Lackland ค.ศ. 1166-1216) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคนุตมหาราช

ระเจ้าคนุตมหาราช (Canute the Great หรือ Cnut the Great; นอร์สโบราณ: Knútr inn ríki; Knut den mektige; Knut den Store; Knud den Store) หรือ คานุต กษัตริย์แห่งอังกฤษตั้งแต่ปี..1016 เดนมาร์ตั้งแต่ปี..1018 และสวีเดนตั้งแต่ปี..1028 พระองค์เริ่มต้นชีวิตวัยหนุ่มด้วยการเป็นนักรบไวกิ้งและกลายเป็นผู้ปกครองของจักรวรรดิที่ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุดประกอบด้วยอังกฤษ เดนมาร์ก นอร์เวย์ และส่วนหนึ่งของสวีเดน คานุตรุกรานอังกฤษในปี..1013 ร่วมกับพระราชบิดา สเวน กษัตริย์แห่งเดนมาร์ก หลังการสวรรคตของสเวนในปี..1014 พระองค์ได้รับการยกย่องเป็นกษัตริย์โดยกองกำลังไวกิ้ง คานุตปราบเอ็ดมุนด์ที่ 2 จอมพลังที่อาสซานดุน เอสเซ็กซ์ ในปี..1016 พระองค์กับเอ็ดมุนด์จอมพลังแยกอังกฤษออกจากกัน คานุตได้ปกครองเมอร์เซียและนอร์ธัมเบรียจนกระทั่งพระองค์ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ของอังกฤษทั้งหมดหลังการสวรรคตของเอ็ดมุนด์ พระองค์สืบสันตติวงศ์เป็นกษัตริย์แห่งเดนมาร์กต่อจากพระเชษฐา ฮารัลด์ ในปี..1018 ทรงบังคับให้พระเจ้าแมลคอล์มถวายความจงรักภักดีด้วยการรุกรานสก็อตแลนด์ในช่วงราวปี..1027 และพิชิตนอร์เวย์ในปี..1028 พระองค์ได้รับการสืบสันตติวงศ์โดยพระโอรสนอกกฎหมาย แฮโรลด์ที่ 1 ภายใต้การปกครองของคานุต การค้าของอังกฤษเจริญรุ่งเรืองขึ้น และพระองค์ได้รับความนิยมจากไพร่ฟ้าชาวอังกฤษจากการส่งทหารกลับเดนมาร์ก ทว่าจักรวรรดิทะเลเหนือที่ประกอบด้วยเดนมาร์ก อังกฤษ และนอร์เวย์ล่มสลายหลังการสวรรคตของพระองค์ ทรงถูกฝังที่วินเชสเตอร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าคนุตมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแอเทลสแตนแห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอเธลสตานแห่งอังกฤษ (Athelstan of England; Æþelstān) (ราว ค.ศ. 895 - ค.ศ. 940) กษัตริย์แห่งอังกฤษปี..924-940 โอรสของเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส เอเธลสตานนำอังกฤษสู่ความเป็นหนึ่งโดยการปกครองทั้งเมอร์เซียและเวสเซ็กซ์ พระองค์ปราบการรุกรานของชาวสก็อตแลนด์, ชาวไอร์แลนด์ และชาวสแตรธไคลด์ ที่บรูนันเบอร์ในปี..937 พระองค์เอาชนะอาณาจักรของชาวสแกนดิเนเวียที่ตั้งรกรานอยู่ในยอร์กและเพิ่มอำนาจของอังกฤษในชายแดนของเวลส์และสก็อตแลน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าแอเทลสแตนแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน (Felipe V de España, Philip V II of Spain, filippo v di spagna, philippe v roi d'espagne) (19 ธันวาคม ค.ศ. 1683 - 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1746) เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส และดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย ประสูติ ณ พระราชวังแวร์ซายส์ และเป็นพระราชนัดดาใน พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงขึ้นครองราชย์ ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ

ระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ (Edgar the Peaceful หรือ Edgar the Peaceable) (ราว ค.ศ. 943 หรือ ค.ศ. 944 - ค.ศ. 975) พระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์เวสเซ็กซ์ พระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบเสด็จพระราชสมภพเมื่อราวปี ค.ศ. 943 หรือปี ค.ศ. 944 ที่เวสเซ็กซ์ ในอังกฤษ เป็นพระราชโอรสพระองค์รองในพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเอ็ดจิวาแห่งเคนต์ อภิเษกสมรสกับเอเธลฟรีด วูลฟธริธ และเอลฟริธ และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 959 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 975 ที่วินเชสเตอร์ อังกฤษ พระนาม “ผู้รักสงบ” ไม่ได้บ่งถึงพระลักษณะตามความหมายเพราะทรงเป็นนายทหารผู้เข้มแข็งซึ่งจะเห็นได้จากการยึดราชอาณาจักรนอร์ทธัมเบรีย และราชอาณาจักรเมอร์เซียจากพระเจ้าเอ็ดวีพระเชษฐาในปี ค.ศ. 958 พระเจ้าเอ็ดการ์ทรงปกครองบริเวณเหนือแม่น้ำเทมส์กับขุนนางของพระองค์กลุ่มหนึ่ง เมื่อพระเจ้าเอ็ดวีเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 959 พระเจ้าเอ็ดการ์ก็ทรงเรียกตัวโดยดันสตัน (ต่อมาเป็นนักบุญดันสตัน) จากที่ทรงลี้ภัยกลับมาและแต่งตั้งให้เป็นบิชอปแห่งวูสเตอร์และต่อมาเป็นบิชอปแห่งลอนดอนและในที่สุดอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี ดันสตันเมื่อเริ่มแรกไม่ยอมสวมมงกุฏให้พระเจ้าเอ็ดการ์เพราะไม่ยอมรับวิธีดำเนินชีวิตของพระองค์เกี่ยวกับพระสนม วูลฟธริธ (ต่อมาเป็นนักพรตหญิงที่วิลตัน) มึพระธิดา อีดิธแห่งวิลตัน แต่ดันสตันก็เป็นที่ปรึกษาของพระเจ้าเอ็ดการ์ตลอดรัชสมัย รัชสมัยของพระเจ้าเอ็ดการ์เป็นรัชสมัยที่บ้านเมืองมีความสงบสุขและอาจจะเป็นสมัยที่เรียกได้ว่าเป็นสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของอังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน แม้ว่าการรวมตัวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอังกฤษจะเป็นผลที่มาจากผู้ที่ครองบัลลังก์มาก่อนพระองค์ ในปลายรัชสมัยของพระเจ้าเอ็ดการ์ อังกฤษก็เกือบจะไม่มีศัตรูที่จะมาแบ่งราชอาณาจักรอย่างที่เคยเป็นมาก่อน ในสมัยนี้ดันสตันก็มีบทบาทในการปฏิรูปอารามที่ออกจะเริ่มหย่อนยานให้กลับไปถือวินัยของนักบุญเบเนดิกต์อย่างที่เคยเป็นมา แต่บทบาทอันนี้ก็ยังเป็นที่ถกเถึยงกันในบรรดาผู้รู้ในวงการศึกษา พระเจ้าเอ็ดการ์ได้ทำพิธีสวมมงกุฏที่บาธในปี ค.ศ. 973 ซึ่งมิใช่ราชาภิเศกในการฉลองการเริ่มรัชกาล พระราชพิธีครั้งนี้เตรียมการโดยดันสตันเองโดยมีโคลงเฉลิมพระเกียรติที่บันทึกในบันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน เป็นพระราชพิธีที่เป็นพื้นฐานในการทำพิธีบรมราชาภิเศกของอังกฤษมาจนถึงปัจจุบันนี้ พระราชพิธีเป็นพิธีสัญลักษณ์โดยมีเจ้าผู้ครองอาณาจักรในอังกฤษมาแสดงความสวามิภักดิ์ต่อพระองค์ที่เชสเตอร์ กษัตริย์หกพระองค์ในบริเตนและสกอตแลนด์ปฏิญาณว่าจะเป็นผู้ป้องกันพระองค์ไม่ว่าจะเป็นทางบกหรือทางทะเล ต่อมาบันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซันกล่าวว่ามีแปดองค์ แต่พระราชพิธีประกาศการสวามิภักดิ์ที่เชสเตอร์ (submission at Chester) ดูเหมือนว่จะเป็นเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้น พระเจ้าเอ็ดการ์มีพระราชโอรสธิดาเจ็ดพระองค์ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขีพระราชโอรสพระองค์ใหญ่สืบราชบัลลังก์ต่อจากพระองค์ หลังจากที่เสด็จสวรรคตมาจนถึงการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันไม่มีราชบัลลังก์ใดที่ได้รับการสืบทอดโดยไม่มีปัญหาในการแก่งแย่ง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเอ็ดการ์ผู้รักสงบ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ หรือ เอ็ดมันด์ ไอรอนไซด์ (Edmund II หรือ Eadmund II หรือ Edmund Ironside) (ราว ค.ศ. 988–ค.ศ. 993–ค.ศ. 993 - 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1016) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ สมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 988–ค.ศ. 993 ที่เวสเซ็กซ์ อังกฤษ เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าเอเธลเรดที่ 2 แห่งอังกฤษ และ เอลกิฟูแห่งยอร์ค พระเจ้าเอ็ดมันด์ทรงได้รับขนานพระนามว่า “ไอรอนไซด์” (Ironside) เพราะความสามารถในการต่อต้านการรุกรานของเดนมาร์กโดยสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราช ทรงเสกสมรสกับอีดิธแห่งอีสแองเกลีย และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1016 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1016 ที่กลาสตันบรี อังกฤษ พระบรมศพตั้งอยู่ที่ แอบบีกลาสตันบรี ซึ่งปัจจุบันตัวแอบบีถูกทำลายจนสิ้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส

มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส (Edward the Elder; Ēadweard se Ieldra) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของราชอาณาจักรอังกฤษ ประสูติเมื่อคริสต์ทศวรรษ 870 และสวรรคตเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 924 พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโสเสด็จพระราชสมภพเมื่อประมาณปี ค.ศ. 870 ที่เวสเซ็กซ์ ในอังกฤษ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช และ เอลสวิธ ทรงเสกสมรสกับ เอ็กกวินน์, เอลเฟลด และ อีดกิฟู และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 899 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 924 ที่ฟาร์นดัน ออน ดี, เชสเชอร์, อังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี หรือนักบุญเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี (Edward the Confessor หรือ Saint Edward the Confessor) (ราว ค.ศ. 1003/1004 – 4 มกราคม ค.ศ. 1066) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์เวสเซ็กซ์แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (Edward I of England) (17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307) หรือพระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ด ลองแชงก์ส (Edward Longshanks) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์แพลนแทเจเนต พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 รู้จักกันในนามว่า “Longshanks” เพราะพระวรกายที่สูงราว 6 ฟุต 2 นิ้ว หรือ “ผู้พระราชทานกฎหมาย” (the Lawgiver) เพราะทรงเป็นผู้ปฏิรูปกฎหมายของอังกฤษ และ “ผู้ปราบชาวสกอต” (Hammer of the Scots) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 ที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอนของประเทศอังกฤษ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ และพระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ ได้อภิเษกสมรสกับเอลินอร์แห่งคาสตีล และต่อมากับพระนางมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1272 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 ที่บรัฟบายแซนด์ส คัมเบอร์แลนด์ อังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ได้รับชัยชนะต่อเวลส์และทรงพยายามปราบปรามสกอตแลนด์แต่ไม่สำเร็จ แม้ว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 จะเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์ที่ 4 ที่มีพระนามว่า “เอ็ดเวิร์ด” หลังจาก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขี และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี แต่การลำดับนามเดียวกันด้วยตัวเลขเป็นประเพณีของชาวนอร์มัน ฉะนั้นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดสามพระองค์ที่ทรงปกครองอังกฤษก่อนหน้าการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันจึงมิได้รับการเรียงลำดับแต่ทรงใช้พระสมัญญานามเพื่อบ่งความแตกต่างของแต่ละพระองค์แทน เอ็ดเวิร์ด ลองแชงค์จึงกลายเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ (Edward II of England) (25 เมษายน ค.ศ. 1284 – 21 กันยายน ค.ศ. 1327) พระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ดแห่งคายร์นาร์ฟอน (Edward of Caernarfon) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1284 ที่ปราสาทคาร์นาร์ฟอน เกว็นเน็ด เวลส์ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 และ สมเด็จพระราชืนีเอเลเนอร์แห่งคาสตีล ทรงเสกสมรสกับสมเด็จพระราชินีอิสซาเบลลาแห่งฝรั่งเศส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 จนจนกระทั่งถูกปลดจากราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1327 และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1327 ที่ปราสาทบาร์คลีย์ กลอสเตอร์เชอร์ อังกฤษ การที่พระองค์ทรงละเลยขุนนางผู้มีอำนาจไปเข้ากับผู้ที่ทรงโปรดปรานทำให้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองและในที่สุดก็ทรงถูกปลดจากการครองราชย์และปลงพระชนม์ในที่สุด พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงเป็นที่รู้จักกันในฐานะที่เป็นฆาตกรและข้อกล่าวหาที่เป็นผู้ที่รักเพศเดียวกัน พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์องค์แรกที่ก่อตั้งวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยอ็อกฟอร์ดและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงก่อตั้งวิทยาลัยคิงส์ฮอล (King's Hall) เมื่อปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ (Edward III of England; Édouard III d'Angleterre; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1377) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1327 ถึงปี ค.ศ. 1377 พระองค์นับเป็นกษัตริย์อังกฤษผู้ประสบความสำเร็จที่สุดพระองค์หนึ่งในยุคกลาง โดยทรงฟื้นฟูความมั่นคงของราชบัลลังก์ หลังจากที่เสื่อมโทรมลงไปมากในรัชสมัยของพระราชบิดา พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 และทรงเป็นผู้ที่ทำให้ราชอาณาจักรอังกฤษเป็นรัฐที่มีอำนาจทางทหารมากที่สุดในยุโรป และเป็นรัชสมัยที่มีการวิวัฒนาการทางการปกครองทางนิติบัญญัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวิวัฒนาการของระบบรัฐสภา แต่ในสมัยเดียวกันนี้พระองค์ก็ทรงต้องเผชิญกับความหายนะจากกาฬโรคระบาดในยุโรป พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงครองราชย์เป็นเวลานานถึง 50 ปีซึ่งไม่มีพระเจ้าแผ่นดินองค์ใดที่ครองราชย์นานเช่นนั้นตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 2 และต่อจากนั้นก็ไม่มีพระองค์ใดจนมาถึงรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 3 ในฐานะกษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อพระชนมายุได้เพียง 14 พรรษา หลังจากที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 พระราชบิดา ทรงถูกถอดจากการเป็นกษัตริย์ เมื่อพระชนมายุได้ 17 พรรษา พระองค์ก็ทรงเป็นผู้นำในรัฐประหารโค่นล้มโรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลแห่งมาร์ชที่ 1 ผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และทรงเริ่มครองราชย์ด้วยพระองค์เอง หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ก็ทรงประกาศอ้างสิทธิ์ของพระองค์ว่าเป็นผู้สืบทอดอันชอบธรรมต่อราชบัลลังก์ฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ (Edward IV of England) (28 เมษายน ค.ศ. 1442 – 9 เมษายน ค.ศ. 1483) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษและลอร์ดแห่งไอร์แลนด์ในราชวงศ์ยอร์ก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1442 – 9 เมษายน ที่รูออง ในประเทศฝรั่งเศส เป็นบุตรคนที่ 2 ของริชาร์ด แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 3 แห่งยอร์กและเซซิลี เนวิลล์ ดัชเชสแห่งยอร์ก ได้อภิเษกกสมรสกับเอลิซาเบธ วูดวิลล์ และครองราชย์ครั้งแรกระหว่างวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1461 – 2 ตุลาคม ค.ศ. 1470 และอีกครั้งหนึ่งระหว่างวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1471 จนสวรรคตเมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1483 ที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ในประเทศอังกฤษ พระบรมศพอยู่ที่เซนต์จอร์จส์แชเปิล ใน พระราชวังวินด์เซอร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 แห่งอังกฤษ (Edward V of England) (4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1470– ราว ค.ศ. 1483) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์ยอร์คของราชอาณาจักรอังกฤษ สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ ตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Henry I of England) (ราว ค.ศ. 1068/ค.ศ. 1069 – 1 ธันวาคม ค.ศ. 1135) เป็นพระเจ้าแผ่นดินของราชอาณาจักรอังกฤษในราชวงศ์นอร์มัน พระเจ้าเฮนรีที่ 1 เสด็จพระราชสมภพราว ค.ศ. 1068/ค.ศ. 1069 ที่เซลบี ในยอร์กเชอร์ ในประเทศอังกฤษ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สี่ในพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางมาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกของพระเจ้าวิลเลียมที่เกิดหลังจากทรงได้รับชัยชนะในการรุกรานอังกฤษ และทรงราชย์หลังจากพระเจ้าวิลเลียมที่ 2 พระเชษฐาธิราชระหว่างวันที่ 3 สิงหาคม ค.ศ. 1100 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1135 ที่ลียง ลา ฟอเรสต์, นอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Henry II of England หรือ “Curtmantle”) (25 มีนาคม ค.ศ. 1133 – 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1189) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชอาณาจักรอังกฤษองค์แรกในสมัยราชวงศ์แพลนแทเจเนต.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ (Henry III of England) (1 ตุลาคม ค.ศ. 1207 – 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1272) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์แพลนแทเจเนต พระเจ้าเฮนรีที่ 3 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1207 ที่ปราสาทวินเชสเตอร์ แฮมเชอร์ ประเทศอังกฤษ เป็นพระราชโอรสองค์โตในพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ หรือจอห์น แลกแลนด์ และอิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม อภิเษกสมรสกับพระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1216 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1272 ที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ลอนดอน อังกฤษ พระบรมศพอยู่ที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ พระเจ้าเฮนรีที่ 3 ทรงขึ้นครองราชสมบัติตั้งแต่ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ แม้ว่าจะทรงราชย์เป็นระยะเวลานานแต่ไม่ทรงมีความสำเร็จอะไรมากนักและมิได้ทรงเป็นนักการทหารหรือนักการปกครองผู้สามารถแต่อย่างใด แต่อังกฤษมีความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจในรัชสมัยของพระองค์ ทรงใช้เมืองวินเชสเตอร์เป็นที่ว่าราชการ พระองค์ทรงขยายแอบบีและทรงสร้างอนุสรณ์แก่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี ระหว่างที่ยังทรงพระเยาว์พระเจ้าเฮนรีทรงมีวิลเลียม มาร์แชลเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ อังกฤษที่พระองค์ได้รับมาผ่านการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในสมัยของพระราชบิดา ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่ในรัชสมัยต่อสู้กับขุนนางเรื่องมหากฎบัตร (Magna Carta) และสิทธิในการเป็นพระมหากษัตริย์ ในที่สุดก็ทรงถูกบังคับให้เรียกประชุมรัฐสภาเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ (Henry IV of England) (3 เมษายน ค.ศ. 1367 – 20 มีนาคม ค.ศ. 1413) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แลงคาสเตอร์ของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 3 เมษายน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ (Henry V of England) (16 กันยายน ค.ศ. 1387 – 31 สิงหาคม ค.ศ. 1422) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แลงคาสเตอร์ของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ (Henry VI of England) (6 ธันวาคม ค.ศ. 1421 – 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1471) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์แลงคาสเตอร์ของราชอาณาจักรอังกฤษและฝรั่งเศส สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ (Henry VII of England) (28 มกราคม ค.ศ. 1457 – 21 เมษายน ค.ศ. 1509) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์ทิวดอร์ ระหว่างปี ค.ศ. 1485 ถึงปี ค.ศ. 1509.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (Henry VIII of England) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษตั้งแต่ 21 เมษายน 1509 จนสวรรคต นอกจากนี้ยังทรงเป็นชาวอังกฤษพระองค์แรกที่ได้เป็นกษัตริย์แห่งไอร์แลนด์ และยังเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสอีกด้วย พระเจ้าเฮนรีทรงเป็นกษัตริย์รัชกาลที่สองของราชวงศ์ทิวดอร์ ซึ่งครองราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา พระเจ้าเฮนรีที่ 7 นอกจากการอภิเษกสมรสทั้ง 6 ครั้งและความสัมพันธ์กับสตรีนอกสมรสแล้ว อีกหนึ่งเรื่องราวสำคัญในรัชสมัยของพระองค์คือการประกาศให้การอภิเษกกับแคเธอรีนแห่งอารากอน มเหสีคนแรกเป็นโมฆะ ซึ่งนำไปสู่ความขัดแย้งกับพระสันตะปาปา และนำประเทศไปสู่การแยกตัวออกจากศาสนจักรโรมันคาทอลิก โดยการสถาปนาคริสตจักรแห่งอังกฤษขึ้นมาแทน ซึ่งเป็นคริสตจักรที่ไม่ขึ้นกับพระสันตะปาปา และถือเอาตัวพระองค์เองในฐานะกษัตริย์เป็น "ประมุขสูงสุดของคริสตจักรในอังกฤษ" และนำไปสู่การยุบอารามขึ้น แต่ในด้านความเชื่อพระองค์ยังคงถือคำสอนหลายอย่างตามโรมันคาทอลิก แม้ว่าจะถูกพระสันตะปาปาประกาศตัดขาดจากศาสนาไปแล้วก็ตาม นอกจากนี้ พระองค์ยังคอยควบคุมการรวมสหภาพระหว่างอังกฤษกับเวลส์ และพระองค์ยังได้ขึ้นชื่อว่าทรงเป็นศัตรูตลอดกาลกับพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส และ จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งตลอดรัชสมัยได้ทำสงครามกันหลายต่อหลายครั้ง พระเจ้าเฮนรีถือเป็นกษัตริย์ที่มีเสน่ห์ มีการศึกษาดี และทรงคุณวุฒิ และเป็นประมุขที่ทรงบารมีที่สุดแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ แม้จะทรงใช้อำนาจปกครองประเทศอย่างเด็ดขาดแต่ก็ทรงสนพระทัยการเขียนและนิพนธ์ ทรงเห็นว่าสตรีไม่สามารถสร้างความเจริญและมั่นคงแก่ราชวงศ์ทิวดอร์ได้ จึงมีพระราชประสงค์อย่างมากที่จะได้รัชทายาทชายสืบทอดราชบัลลังก์ ทำให้ทรงอภิเษกสมรสหลายครั้งและต่อมาต้องดำเนินการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ ซึ่งนำให้อังกฤษกลายเป็นชาติโปรเตสแตนต์ ช่วงบั้นปลายพระชนม์ชีพ พระองค์เป็นโรคอ้วนซึ่งทำให้พระพลานามัยย่ำแย่ มีพระรสนิยมผิดปกติ พระสาทิสลักษณ์ของพระองค์จึงมักแสดงออกถึงความมักมาก เห็นแก่ตัว โหดร้าย พระอารมณ์ไม่มั่นคง ภายหลังสวรรคต พระราชโอรส(ตามกฎหมาย)องค์เดียวของพระองค์ ได้สืบราชบัลลังก์ต่อเป็น พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 ขณะมีพระชันษาเพียง 9 ปี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2109 – 27 มีนาคม พ.ศ. 2168) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษหรือพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ พระเจ้าเจมส์ที่ 2แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2228 – พ.ศ. 2232) หรือ พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ และพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2228 ถึง 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2232 นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์สุดท้ายที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษทรงครองราชย์ในเวลาเดียวกันกับระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าเจมส์เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ประสูติที่พระราชวังเซนต์เจมส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พันธบัตร

พันธบัตร คือ ตราสารทางการเงินรูปแบบหนึ่งที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐบาล จุดประสงค์ในการออกพันธบัตรก็เพื่อระดมเงินทุนจากนักลงทุนสถาบันและประชาชนทั่วไป โดยถือว่าผู้ออกพันธบัตรนั้นมีฐานะเป็นลูกหนี้ที่จะต้องมีภาระในการจ่ายคืนหนี้ให้กับผู้ถือพันธบัตรซึ่งมีฐานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้ออกพันธบัตรต่อไปในอนาคต โดยที่จำนวนเงินที่ต้องจ่ายคืน ระยะเวลา และ อัตราผลตอบแทน ขึ้นกับกำไรที่ได้กำหนดเอาไว้ หมวดหมู่:ตราสารทางการเงิน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและพันธบัตร · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายแซลิก

ระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสทรงแถลงกฎหมายแซลิก ท่ามกลางแม่ทัพนายกองของพระองค์ กฎหมายแซลิก (Lex Salica; Salic law) หรือ ประชุมกฎหมายอนารยชน (Code of the Barbaric Laws) เป็นกลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับชนชาติแฟรงค์แซเลียน (Salian Franks) เมื่อต้นยุคกลางระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 6 โดยสันนิษฐานกันว่ากฎหมายแซลิกรวบรวมขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 507 ถึงปี ค.ศ. 511.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและกฎหมายแซลิก · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพตัวแบบใหม่

หน้าปก "กฎ, กฎหมาย และระเบียบการฝึก" ของกองทัพตัวแบบใหม่ กองทัพตัวแบบใหม่ (New Model Army) ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและกองทัพตัวแบบใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

การยุบอาราม

อดีตกลาสตันบรีแอบบีย์ การยุบอาราม (Dissolution of the Monasteries; Suppression of the Monasteries) เป็นกระบวนการตามกฎหมายและการปกครองในช่วง ค.ศ. 1538 ถึงปี ค.ศ. 1541 โดยพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษโปรดให้ยุบอาราม ไพรออรี คอนแวนต์ และไฟรอารี ในประเทศอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์ ตามอำนาจใน “พระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนา” อนุมัติโดยรัฐสภาเมื่อปี ค.ศ. 1534 ซึ่งระบุให้พระเจ้าแผ่นดินอังกฤษเป็น “ประมุขสูงสุดของคริสตจักรในอังกฤษ” (Supreme Head of the Church in England) ซึ่งถือเป็นการแยกตัวออกมาจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกอย่างเป็นทางการ และโดย “พระราชบัญญัติปราบปรามฉบับที่ 1 (ค.ศ. 1536)” และ “พระราชบัญญัติปราบปรามฉบับที่ 2 (ค.ศ. 1539)” การยุบอารามในอังกฤษเป็นเหตุการณ์ทางการเมืองหนึ่งเพื่อต่อต้านคริสตจักรโรมันคาทอลิกซึ่งเริ่มคุกรุ่นอยู่ในทวีปยุโรปขณะนั้น ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์จาก แต่เหตุผลการแยกตัวจากนิกายโรมันคาทอลิกของอังกฤษมิใช่ข้อขัดแย้งทางปรัชญาทางศาสนาดังเช่นในประเทศอื่นๆ เช่น ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส หรือ โบฮีเมีย แต่เป็นเหตุผลส่วนพระองค์ของพระเจ้าเฮนรีที่ 8.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและการยุบอาราม · ดูเพิ่มเติม »

การลอบวางแผนโพพิช

“การคบคิดพ็อพพิช” แสดงการสังหารนักบวชเยซูอิด การคบคิดพ็อพพิช (Popish Plot) (ค.ศ. 1678 - ค.ศ. 1681) เป็นข่าวลือที่ไม่มีมูลที่สร้างขึ้นโดยไททัส โอตส์ ที่เป็นผลที่ทำให้ประชาชนเกิดมีความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์ต่อโรมันคาทอลิกอย่างรุนแรงไปทั่วราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1678 ถึงปี ค.ศ. 1681 โอตส์อ้างว่ามีการคบคิดกันอย่างกว้างขวางในหมู่ผู้นับถือโรมันคาทอลิกที่จะปลงพระชนม์พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ข่าวลือนี้ทำให้มีผู้ถูกจับและถูกประหารชีวิตไปอย่างน้อย 15 คน และเป็นสาเหตุที่นำไปสู่การออกร่างพระราชบัญญัติยกเว้น ในที่สุดข่าวลืออันซับซ้อนของโอตส์ก็เป็นที่เปิดเผยซึ่งทำให้ถูกจับในข้อหาการสร้างเรื่องเท็.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและการลอบวางแผนโพพิช · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) ยังรู้จักกันในชื่อ การปฏิวัติปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอเมริกา

รัฐแรกทั้ง 13 รัฐ การปฏิวัติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิอังกฤษของประชาชนชาวอเมริกา จึงได้มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ้นในเวลาต่อมาหลังจากได้รับชัยชนะในการปฏิวัติในครั้งนี้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและการปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

กาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ

ระนางกาตาลินาแห่งอารากอน (Catalina de Aragón; Catherine of Aragon, Katharine of Aragon; พ.ศ. 2028 — พ.ศ. 2079) พระราชินีแห่งอังกฤษ พระมเหสีพระองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2052-2090) อภิเษกสมรสครั้งแรกในปี พ.ศ. 2044 กับเจ้าชายอาร์เธอร์ พระโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2029-2045) แต่เมื่อพระสวามีสิ้นพระชนม์เสียตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เจ้าหญิงกาตาลินาก็ได้ทรงรับหมั้นกับเจ้าชายที่เป็นน้องสามี ซึ่งต่อมาคือพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ในขณะที่มีพระชนมายุเพียง 11 ขวบ และได้อภิเษกสมรสกันในเวลาต่อมาเมื่อ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มหาอัคคีภัยแห่งลอนดอน

วาดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ในลอนดอน ค.ศ. 1666 โดยจิตรกรนิรนามแสดงเพลิงที่กำลังลุกไหม้ในช่วงเย็นวันอังคาร โดยมองจากเรือที่อยู่ใกล้ๆ อู่เรือแคธารีน หอคอยลอนดอนอยู่ด้านขวาและสะพานลอนดอนอยู่ด้านซ้าย ในภาพจะเห็นอาสนวิหารเซนต์พอลอยู่ท่ามกลางวงล้อมของเปลวเพลิงที่สูง มหาอัคคีภัยแห่งลอนดอน (Great Fire of London) คือการเกิดเพลิงเผาผลาญครั้งใหญ่ที่ลุกลามใหญ่โตทำลายพื้นที่ส่วนกลางของกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษตั้งแต่วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน ถึงวันพุธที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและมหาอัคคีภัยแห่งลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

มินอร์กา

มินอร์กา (Minorca), มานอร์กา (Menorca) หรือ เมนอร์กา (Menorca) เป็นเกาะในประเทศสเปน เป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 2 ของหมู่เกาะแบลีแอริก ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ชื่อในภาษาละตินคือ Insula Minor (หรือต่อมาคือ Minorica "เกาะน้อย") เพราะเล็กกว่าเกาะข้างคือคือ เกาะมายอร์กา มินอร์กามีประชากรราว 94,383 คน (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2010) ตั้งอยู่ระหว่าง 39°47' to 40°00' เหนือ และ 3°52' to 4°24' ตะวันตก มีจุดสูงสุดเรียกเอลโตโรหรือมอนเตโตโร มีความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 358 เมตร เมืองหลักของเกาะชื่อ มาออน มีภูมิประเทศเป็นที่สูง ๆ ต่ำ ๆ ชายฝั่งมีลักษณะเว้าแหว่ง มีอ่าวจำนวนมาก ภูมิประเทศทางด้านเหนือเป็นเนินเขาและแห้งแล้ง ด้านใต้เป็นที่ราบสูงดินอุดมสมบูรณ์ มีอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ผลิตเนยแข็ง รองเท้าหนัง เลี้ยงปศุสัตว์ ผลิตผลสำคัญ เช่น ธัญพืช มันฝรั่ง อัลมอนด์ แตง ทับทิม หมวดหมู่:เกาะในประเทศสเปน หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ หมวดหมู่:หมู่เกาะแบลีแอริก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและมินอร์กา · ดูเพิ่มเติม »

มุมไบ

มุมไบ มุมไบ (Mumbai; มราฐี: मुंबई;สัท.: /'mumbəi/) เดิมชื่อ บอมเบย์ (Bombay) ที่ตั้งอยู่บนริมฝั่งทะเลอาหรับในประเทศอินเดีย ท่ามกลางชายฝั่งที่ทอดยาวกับภูเขาสูงที่ปกคลุมด้วยป่าเขตร้อนชื้นและป่าผลัดใบ มุมไบมีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองท่า และเป็นศูนย์กลางทางการค้า การท่องเที่ยว บอมเบย์ (Bombay) หรือมุมไบ เป็นเมืองท่าที่สำคัญทางฝั่งทะเลอาหรับของอินเดีย และเป็นเมืองหลวงของรัฐมหาราษฏระ ในช่วงเวลาระหว่าง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและมุมไบ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ปลาศี

ทธการที่ปลาศี (Battle of Plassey) เป็นการต่อสู้ระหว่างบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษกับแคว้นเบงกอลของจักรวรรดิโมกุลที่มีฝรั่งเศสหนุนหลัง การต่อสู้เกิดขึ้นในภาคเบงกอลซึ่งอยู่ทางตะวันออกของอินเดียในวันที่ 23 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและยุทธการที่ปลาศี · ดูเพิ่มเติม »

ยุครัฐในอารักขา

รัฐในอารักขา (Protectorate) เป็นช่วงสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์เครือจักรภพอังกฤษซึ่งดินแดนอังกฤษและเวลส์, ไอร์แลนด์, และสกอตแลนด์ มีสถานะเป็นสาธารณรัฐ และมีผู้ปกครองเรียกว่า "เจ้าผู้อารักขา" (Lord Protector) เริ่มขึ้นใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและยุครัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

ยุคสัมฤทธิ์

ำริดคือยุคที่มนุษย์อาศัยอยู่เป็นชุมชนที่ใหญ่ขึ้น ดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก ปลูกข้าว มีการเลี้ยงสัตว์ ชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีขึ้นกว่ายุคหิน รู้จักการทำสำริดเป็นเครื่องประดับ ยุคสำริดสิ้นสุดลงในช่วง 1206-1150 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่จักรวรรดิฮิตไทต์ และอาณาจักรไมซีเนียล่มสลาย ยุคต่อมาหลังยุคสัมฤทธิ์ คือ ยุคเหล็ก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและยุคสัมฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินกลาง (ยูเรเชีย)

ยุคหินกลาง (Mesolithic Period) เป็นช่วงเวลาระหว่างยุคหินเก่ากับยุคหินใหม่ ในช่วงเวลาประมาณ 5,000 - 10,000 ปีที่แล้ว เป็นเวลาที่มนุษย์ในช่วงเวลานี้เริ่มมีการนำวัสดุธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ เช่น ทำตะกร้าสาน ทำรถลาก และเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยหินก็มีความประณีตมากขึ้น ตลอดจนรู้จักนำสุนัขมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง ในสมัยยุคหินกลาง มนุษย์รู้จักการเลี้ยงสัตว์และเริ่มมีการเพาะปลูกพืช แต่อาชีพหลักของมนุษย์ในสมัยนี้ยังคงเป็นการล่าสัตว์ และยังเร่ร่อนไปตามแหล่งสมบูรณ์ โดยมักตั้งหลักแหล่งอยู่ตามแหล่งน้ำ ชายฝั่งทะเล ประกอบอาชีพประมง ล่าสัตว์และบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยที่จีนมีการสร้างกำแพงหิน ขวานหิน ขุดอุโมงหิน ยุคต่อมาหลังจากยุคหินกลาง คือ ยุคหินใหม่ (Neolithic) หมวดหมู่:ยุคหิน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและยุคหินกลาง (ยูเรเชีย) · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินใหม่

หมู่บ้านในสมัยยุคหินใหม่ ในสกอตแลนด์ที่สมบูรณ์ที่สุดในทวีปยุโรป ยุคหินใหม่ (Neolithic หรือ New Stone Age) อยู่ในช่วงเวลาประมาณ 10200-4500/2000 ปีก่อนคริสตกาล โดยเป็นช่วงเวลาระหว่างยุคหินกลางกับยุคโลหะซึ่งมนุษย์ในยุคนี้อาศัยรวมกันอยู่เป็นหมู่บ้าน เริ่มรู้จักทำการเกษตรอย่างเป็นระบบ สามารถเพาะปลูกพืชและเก็บไว้เป็นอาหาร รู้จักทอผ้าและทำเครื่องปั้นดินเผา และเลี้ยงสัตว์ การเพาะปลูกได้เปลี่ยนวิถีชีวิตของมนุษย์จากสังคมล่าสัตว์มาเป็นสังคมเกษตรกรรม ที่ตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง มีการสร้างที่พักอาศัยถาวรเป็นกระท่อมดินเหนียวและตั้งหลักแหล่งตามบริเวณลุ่มน้ำ ยุคหินใหม่เป็นยุคเกษตรกรรม พืชเพาะปลูกที่สำคัญ คือ ข้าวสาลี ข้าวบาเลย์ และพืชอื่นๆ รู้จักใช้เครื่องมือล่าสัตว์และทำภาชนะจากดินเหนียว สำหรับเก็บข้าวเปลือกและใส่อาหาร สัตว์เลี้ยง ได้แก่ สุนัข แพะ แกะ และยังคงล่าสัตว์ เช่น กวาง กระต่าย หมูป่า สภาพชีวิตมนุษย์ในยุคหินใหม่ เปลี่ยนแปลงชีวิตตามความเป็นอยู่จากที่สูงมาอยู่ที่ราบใกล้แหล่งน้ำ โดยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่บ้านบนเนิน และดำรงชีวิตตามเศรษฐกิจใหม่ ได้แก่ เกษตรกรรม และพบว่ามีผลิตผลมากกว่าที่จะบริโภค ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและการค้าขาย สมัยหินใหม่จัดเป็นการปฏิวัติครั้งแรกของมนุษย์ ที่ประสบความสำเร็จขั้นต้นในการปรับตัวให้เข้ากับข้อจำกัดของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ต้องร่อนเร่ย้ายถิ่น และเป็นช่วงเวลา เริ่มต้นการรวมกลุ่มเป็นหลักแหล่ง ในบริเวณที่มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์ ยุคหลังจากยุคหินใหม่คือ ยุคทองแดง (Chalcolithic) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของยุคสำริด (Bronze Age).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและยุคหินใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคน้ำแข็ง

แผ่นน้ำแข็งที่ขยายระหว่างยุคน้ำแข็ง ภาพนี้เป็นแผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก ยุคน้ำแข็ง หรือยุคไครโอจีเนีย (Ice Age)เป็นช่วงเวลาที่มีการลดลงของอุณหภูมิอย่างยาวนานบนพิ้นผิวและชั้นบรรยากาศโลกและโลกเกือบถึงจุดจบ ทำให้เกิดการขยายตัวของแผ่นน้ำแข็งในผืนทวีป แผ่นน้ำแข็งขั้วโลก และธารน้ำแข็งอัลไพน์ เมื่อเริ่มเข้าสู่ยุคน้ำแข็ง หรือยุคไครโอจีเนีย จะมีหิมะตกลงมาอย่างหนักทั่วผืนผิวโลก ทั้งพื้นดิน และพื้นน้ำ เช่น มหาสมุทรแปซิฟิก เป็นต้น เมื่อพื้นผิวมหาสมุทรถูกปกคลุมด้วยหิมะ ทำให้ใต้ท้องมหาสมุทรไม่ได้รับแสงอาทิตย์ หรือได้รับน้อยมาก และหลังจากนั้นได้มีการระเบิดของภูเขาไฟครั้งใหญ่ขึ้น และพ่นเถ้าถ่านออกมาจากปล่องภูเขาไฟจำนวนมาก ทำให้โลกเกิดปรากฏการณ์โลกร้อน(Green House Effect)แล้วน้ำแข็ง และหิมะที่ปกคลุมทั่วโลกนั้นได้ละลายกลายเป็นน้ำ เมื่อน้ำแข็งละลายกลายเป็นน้ำ ทำให้น้ำที่ละลายไปนั้นไหลย้อนกลับขึ้นมาสู่พื้นดินดังเดิม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและยุคน้ำแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเหล็ก

หล็ก เกิดหลังจากยุคสำริดสิ้นสุดลงในช่วง 1206-1150 ปีก่อนคริสตกาล เป็นยุคที่มนุษย์เริ่มใช้เหล็กในการทำเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ในการดำรงชีวิต ยุคต่อมาหลังยุคเหล็ก คือ สมัยโบราณ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและยุคเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต ไคลฟ์

ลตรี รอเบิร์ต ไคลฟ์ บารอนไคลฟ์ที่ 1 (Robert Clive, 1st Baron Clive) หรือเป็นที่รู้จักในนาม ไคลฟ์แห่งอินเดีย (Clive of India) เป็นหนึ่งในนักการทหารที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอังกฤษ เขาเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของบริติชอินเดีย เขาสามารถมีชัยในยุทธการที่ปลาศีในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและรอเบิร์ต ไคลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฟลอริดา

รัฐฟลอริดา (Florida, เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ สหรัฐอเมริกา ทิศตะวันตกติดต่อกับอ่าวเม็กซิโก ทิศเหนือติดต่อกับรัฐอะลาบามา และรัฐจอร์เจีย ทิศตะวันออกติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้ติดต่อกับช่องแคบฟลอริดา รัฐฟลอริดาเป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 22 มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 และหนาแน่นมากเป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา แจ็กสันวิลล์เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐฟลอริดา และมีพื้นที่มากที่สุดในสหรัฐอเมริกาแผ่นดินใหญ่ มีเขตเมืองไมแอมี (Miami metropolitan area) เป็นเขตเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา และมีแทลลาแฮสซีเป็นเมืองหลวงของรัฐ รัฐฟลอริดาเป็นที่รู้จักกันในนาม ซันไชน์สเตต (Sunshine State) คำว่า "ฟลอริดา" เป็นภาษาสเปนซึ่งหมายถึง "ที่ซึ่งอุดมไปด้วยดอกไม้" ชื่อของแหลมฟลอริดาตั้งชื่อโดยควน ปอนเซ เด เลออง (Juan Ponce de León) ซึ่งมาเทียบที่ชายฝั่งเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2056 (ค.ศ. 1513) ในช่วงเทศกาล "ปัสกวาโฟลรีดา" (Pascua Florida) หรือช่วงเทศกาลอีสเตอร์ของชาวสเปน วันปัสกวาโฟลรีดาจัดขึ้นในวันที่ 2 เมษายนของทุกปี และยังเป็นวันหยุดราชการด้วย ฟลอริดาเป็นหนึ่งในเจ็ดรัฐที่ไม่เก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและรัฐฟลอริดา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาชุมนุม

รัฐสภาชุมนุม (Convention Parliament) เป็นรัฐสภาในประวัติศาสตร์อังกฤษซึ่งชุมนุมกันโดยไม่มีการเรียกประชุมอย่างเป็นทางการจากพระมหากษัตริย์ เพราะพระองค์ยังไม่มีพระราชอำนาจบริบูรณ์ หมวดหมู่:รัฐสภาอังกฤษ หมวดหมู่:หน่วยการบริหารของประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและรัฐสภาชุมนุม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภายาว

การประชุมของรัฐสภายาว รัฐสภายาว (ภาษาอังกฤษ: Long Parliament) เป็นชื่อของรัฐสภาแห่งอังกฤษสมัยหนึ่งที่ถูกเรียกโดยสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1640 หลังจากที่สงครามบาทหลวง (Bishops' Wars) สิ้นสุดลง นามของสภาที่ได้รับเป็นเพราะเป็นสมัยประชุมที่ได้รับอนุมัติจากพระราชบัญญัติพิเศษเพื่อเป็นการป้องกันจากการยุบโดยมิได้รับมติเห็นชอบจากสมาชิกของรัฐสภาเอง สมาชิกของรัฐสภาก็มิได้ยุบสภานี้จนกระทั่งหลังจากสงครามกลางเมืองอังกฤษ และหลังจากสมัยไร้กษัตริย์ ในปี ค.ศ. 1660 16 March 1660 รัฐสภาเริ่มเปิดประชุมครั้งแรกในปี ค.ศ. 1640 แต่มาหยุดชะงักลงชั่วคราวในปี ค.ศ. 1649 เมื่อผู้สนับสนุน “กองทัพตัวอย่าง” ลาออก รัฐสภาหลังจากการหยุดชะงักก็กลายเป็น “รัฐสภารัมพ์” (Rump Parliament) ระหว่างสมัยการปกครองของรัฐบาลผู้พิทักษ์อังกฤษ (The Protectorate) รัฐสภารัมพ์ก็ถูกแทนด้วยการประชุมรัฐสภาอื่นๆ แต่ก็ถูกเรียกกลับมาหลังจากที่โอลิเวอร์ ครอมเวลล์เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1658 โดยฝ่ายทหารเพื่อช่วยพยุงฐานะของการทหาร เมื่อไม่สำเร็จ นายพลจอร์จ มองค์ (George Monck, 1st Duke of Albemarle) ก็อนุญาตให้ผู้ที่ถูกกีดกันจากรัฐสภาในปี ค.ศ. 1649 กลับมาเข้าร่วมประชุมได้อีก เพื่อที่จะทำให้สามารถผ่านกฎหมายที่จำเป็นในการฟื้นฟูราชวงศ์และยุบรัฐสภายาวเอง ซึ่งเป็นการปูทางสำหรับรัฐสภาที่จะได้รับเลือกตั้งใหม่ที่เรียกว่า “รัฐสภาคอนเว็นท์ชั่น” (Convention Parliament).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและรัฐสภายาว · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภารัมป์

รัฐสภารัมป์ (ภาษาอังกฤษ: Rump Parliament) เป็นชื่อของรัฐสภาแห่งอังกฤษรัฐสภาหนึ่งที่เกิดจากการยึดรัฐสภายาวโดยนายพันทอมัส ไพรด์ (Thomas Pride) เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1648 ซึ่งเป็นรัฐสภาที่ประกอบด้วยสมาชิกที่มีเสียงข้างมากในการเป็นปฏิปักษ์ต่อการพิจารณาโทษของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษในข้อหากบฏต่อแผ่นดิน “รัมป์” ตามปกติหมายถึงส่วนบั้นท้ายของสัตว์ แต่บันทึกของการใช้ในความหมายนี้หมายถึง “เศษ” ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและรัฐสภารัมป์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสั้น

รัฐสภาสั้น (Short Parliament; 13 เมษายน ค.ศ. 1640 – 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1640) เป็นชื่อของรัฐสภาแห่งอังกฤษรัฐสภาหนึ่งของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ที่มีอายุเพียงสามอาทิตย์ หลังจากที่พระเจ้าชาร์ลส์ทรงปกครองอังกฤษภายใต้สมัยการปกครองส่วนพระองค์ (Personal Rule) อยู่สิบเอ็ดปี พระองค์ก็เรียกประชุมรัฐสภาในปี ค.ศ. 1640 โดยการถวายคำแนะนำโดยทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1 พระเจ้าชาร์ลส์ทรงถูกบังคับให้เรียกประชุมรัฐสภาเพื่อที่จะหาทุนในการสนับสนุนสงครามบาทหลวง (Bishops' Wars) ต่อสกอตแลนด์ แต่ก็เช่นเดียวกับรัฐสภาชุดก่อนหน้านั้นที่มีความสนใจในเสนอข้อเรียกร้องต่างๆ ที่เกี่ยวกับวิธีการปกครองของพระเจ้าชาร์ลส์อันไม่ยุติธรรมแทนที่จะสนใจกับการอนุมัติเงินในการทำสงคราม จอห์น พิม (John Pym) สมาชิกรัฐสภาจากทาวิสสต็อคกลายเป็นผู้นำในการเรียกร้องและกล่าวสุนทรพจน์อย่างยืดยาวเมื่อวันที่ 17 เมษายนที่มีใจความว่านอกจากว่าพระเจ้าชาร์ลส์จะทรงยอมรับฟังข้อเรียกร้องต่างๆ สภาสามัญชนก็จะไม่ยอมออกเสียงสนับสนุนทุนการสงครามของพระองค์ ส่วนจอห์น แฮมพ์เด็น (John Hampden) พยายามชักชวนเป็นการภายในและเป็นสมาชิกของคณะกรรมการต่างๆ เก้าคณะกรรมการ พระเจ้าชาร์ลส์ทรงพยายามต่อรองโดยทรงเสนอว่าจะหยุดเก็บภาษีเรือ แต่ก็ยังไม่เป็นที่พอใจของรัฐสภา ขณะเดียวกันคำร้องต่างๆ ของการใช้อำนาจในทางที่ผิดก็หลั่งไหลเข้ามาจากทั่วประเทศ เมื่อทรงหมดความอดทนกับการกลับมาโต้แย้งของรัฐสภาที่ทิ้งไว้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1629 และการบิดเบือนสถานการณ์ที่เลวลงในสกอตแลนด์ พระเจ้าชาร์ลส์ก็ตัดสินพระทัยยุบรัฐสภาเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1640 หลังจากที่ประชุมกันได้เพียงสามอาทิตย์ “รัฐสภาสั้น” ตามมาด้วย “รัฐสภายาว”.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและรัฐสภาสั้น · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาอังกฤษ

รัฐสภาอังกฤษและพระมหากษัตริย์ ราว ค.ศ. 1300 รัฐสภาอังกฤษ (Parliament of England) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในราชอาณาจักรอังกฤษ รัฐสภาอังกฤษวิวัฒนาการมาจากสภาของต้นยุคกลางซึ่งมีหน้าที่ให้คำปรึกษาต่อพระมหากษัตริย์อังกฤษ การวิวัฒนาการทำให้อำนาจของรัฐสภาเพิ่มมากขึ้นในขณะที่อำนาจของพระมหากษัตริย์ลดน้อยลง เมื่อรัฐสภาอังกฤษและรัฐสภาแห่งสกอตแลนด์ลงนามในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 ซึ่งรวมราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์เข้าด้วยกัน รัฐสภาอังกฤษและรัฐสภาแห่งสกอตแลนด์ก็ถูกยุบ รัฐสภาใหม่กลายเป็นรัฐสภาแห่งบริเตนใหญ่ และในที่สุดก็เป็นรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรซึ่งเป็นรากฐานของระบบรัฐสภาของอังกฤษในปัจจุบัน ซึ่งทำให้ระบบรัฐสภาของสหราชอาณาจักรเป็นระบบรัฐสภาที่เก่าแก่ที่สุดในโลกจนได้รับสมญานามว่า “แม่แห่งรัฐสภา” ซึ่งเป็นระบบประชาธิปไตยที่เป็นรากฐานของมาตรฐานในการก่อตั้งระบบรัฐสภาทั่วโลก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและรัฐสภาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาแบร์โบน

รัฐสภาแบร์โบนส์ (Barebone's Parliament, Nominated Assembly หรือ Parliament of Saints; 14 เมษายน ค.ศ. 1653 – 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1653) เป็นชื่อของรัฐสภาแห่งอังกฤษรัฐสภาหนึ่งที่เรียกประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1653 ที่เป็นความพยายามครั้งสุดท้ายของเครือจักรภพในการแสวงหาความมั่นคงของรัฐบาลก่อนที่จะแต่งตั้งให้โอลิเวอร์ ครอมเวลล์เป็น “เจ้าผู้พิทักษ์” ผู้เป็นสมาชิกของ “รัฐสภาแบร์โบนส์” ทั้งหมดเป็นผู้ที่เสนอที่เสนอโดยโอลิเวอร์ ครอมเวลล์และสภานายทหาร (Army Council (1647)) ของกองทัพตัวแบบใหม่ (New Model Army) ที่ได้รับชื่อจากจากสมาชิกคนหนึ่งของนครหลวงลอนดอนที่เป็นคนขายหนังและนักเทศน์ที่เรียกกันว่า “เพรส-กอด แบร์โบน” (Praise-God Barebone) ประธานรัฐสภาคือเรเวอเรนด์ฟรานซิส รูส (Francis Rous) จำนวนสมาชิกมีดัวยกันทั้งหมด 140 คน: 129 จากอังกฤษ, 5 จากสกอตแลนด์ และ 6 ไอร์แลนด์ องค์การประชุมได้รับอิทธิพลจากแซนฮดริน (sanhedrin) ซึ่งเป็นสภาการปกครองของอิสราเอลโบราณ หลังจากเกิดความขัดแย้งภายในต่างๆ สมาชิกสภาก็ตัดสินใจยุบสภาเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1653 รัฐสภาก่อนหน้านั้นคือรัฐสภารัมป์ และรัฐสภาที่มาแทนคือรัฐสภาผู้พิทักษ์ชุดแรก (First Protectorate Parliament).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและรัฐสภาแบร์โบน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์กาเปเซียง

ราชวงศ์กาเปเซียง (Capétiens) หรือ ราชวงศ์คะพีเชียน (Capetians) คือ ราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรฝรั่งเศสในสมัยกลาง มีพระเจ้าอูก กาแป (Hugh Capet) แห่งฝรั่งเศส เป็นต้นพระราชวงศ์ ปัจจุบันราชวงศ์กาเปเซียงที่ยังคงมีพระชนม์ชีพและถือพระราชสมบัติอยู่ คือ กษัตริย์แห่งสเปนและแกรนด์ดุ๊กแห่งลักเซมเบิร์กผ่านทางราชวงศ์บูร์บง คำว่า "คาพีเชียน" มาจากพระนามพระเจ้าอูก กาแป ทั้งที่ "กาแป" มิได้เป็นนามสกุลแต่เป็นฉายานาม แต่กษัตริย์ฝรั่งเศสก็ทรงใช้ "กาแป" เป็นพระนามของพระราชสกุล เช่นเมื่อ พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ทรงถูกประหารด้วยกิโยตีนใน ค.ศ. 1793 การปกครองปฏิวัติในสมัยนั้นบันทึกในมรณบัตรว่า "หลุยส์ กาแป" บรรพบุรุษของราชวงศ์กาเปเซียง คือ ตระกูลรอแบร์ (Robertian) ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นเคานต์แห่งปารีสในอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ปัจจุบันคือฝรั่งเศส ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 และ 10 ตระกูลรอแบร์อภิเษกกับราชวงศ์คาโรลินเจียน (Carolingian dynasty) ราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตกขณะนั้น ทำให้ตระกูลรอแบร์บางคนได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ด้วย แต่ใน ค.ศ. 987 ราชวงศ์กาโรแล็งเชียงสิ้นสุดลงในอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก อูก กาแป เคานต์แห่งปารีสที่สืบเชื้อสายจากตระกูลรอแบร์นั้น ได้ขึ้นครองราชย์เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์กาเปเซียง ราชวงศ์กาเปเซียงในสายตรงฝรั่งเศสสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1328 ด้วยการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าชาร์ลที่ 4 ที่ทรงไร้ทายาท แต่ ราชวงศ์วาลัว (Valois dynasty) และราชวงศ์บูร์บง (Bourbon dynasty) อันเป็นสาขาย่อยของราชวงศ์กาเปเซียงยังคงปกครองฝรั่งเศสต่อไป.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชวงศ์กาเปเซียง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สจวต

ตราประจำพระองค์สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ กษัตริย์พระองค์แรกของราชวงศ์สจวต ราชวงศ์สจวต อังกฤษ: House of Stuart หรือ Stewart) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ซึ่งภายหลังได้ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษ และได้ปกครองราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ได้ทรงรับเอาการสะกดชื่อพระราชวงศ์ว่า Stuart มาจากภาษาฝรั่งเศส ในขณะที่ในฝรั่งเศสยืนยันว่าในภาษาสกอต Stewart นั้นออกเสียงได้ถูกต้องแล้ว ชื่อราชวงศ์มาจากพระอิสสริยยศโบราณของสกอตแลนด์ สจวตสูงแห่งสกอตแลนด์ (High Steward of Scotland) ราชวงศ์สจวตปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นเวลานาน 336 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 1914 ถึงปี พ.ศ. 2250 องค์รัชทายาทที่ใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษคือสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษโดยผ่านทางสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ทิวดอร์ เจมส์ สจวตสืบทอดราชบัลลังก์ทั้งราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ พระองค์ทรงครองราชบัลลังก์ของทั้ง 3 ชาติ (Home Nations) (และยังสืบทอดการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของกษัตริย์อังกฤษด้วย) ในระหว่างปี พ.ศ. 2146 ถึง พ.ศ. 2250 ในระยะหลังราชวงศ์สจวตได้สถาปนาตนเองเป็น กษัตริย์แห่งบริเตนใหญ่ (Kings/Queens of Great Britain) จนถึงรัชสมัยของราชินีองค์สุดท้ายของราชวงศ์สจวตคือสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ได้สืบทอดราชบัลลังก์ต่อเนื่องจากพระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ พ.ศ. 2244 (Act of Settlement 1701) ที่กำหนดให้ผู้ที่สามารถขึ้นครองราชย์ต่อไปต้องเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อประโยชน์ในการรวมไอร์แลนด์ให้อยู่ภายใต้รัฐบาลลอนดอน ในปัจจุบันยังคงมีสมาชิกของราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายราชวงศ์สจวตมีชีวิตอยู่ และยังคงมีผู้ที่ยังคงสนับสนุนราชวงศ์สจวตอยู่ เรียกขานกันว่า พวกจาโคไบท์ (Jacobite) โดยขบวนการนี้ถือเอา ฟรานซ์ ดยุคแห่งบาวาเรีย เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ, สกอตแลนด์, ไอร์แลนด์ และ ฝรั่งเศสโดยชอบธรรม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชวงศ์สจวต · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ทิวดอร์

ราชวงศ์ทิวดอร์ (อังกฤษ: Tudor, เวลส์: Tudur) เป็นเชื้อพระวงศ์ชาวเวลส์ มีกษัตริย์ที่ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2028 ถึง พ.ศ. 2146 กษัตริย์สามในหกพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7, สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 เป็นกษัตริย์องค์สำคัญที่ทรงเปลี่ยนแปลงอังกฤษจากชาติที่ค่อนข้างอ่อนแอเมื่อเทียบกับชาติอื่นๆ ในยุคกลางมาสู่ชาติมหาอำนาจในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ซึ่งในศตวรรษต่อมาอังกฤษกลายมาเป็นชาติที่มีอิทธิพลอย่างมากในโลก สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตริย์อังกฤษที่มีชื่อเสียงมากที่สุดตลอดกาล.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชวงศ์ทิวดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์แพลนแทเจเนต

ราชวงศ์แพลนทาเจเน็ท (อังกฤษ: House of Plantagenet) หรือ ราชวงศ์อองชู หรือ เดิมเป็นตระกูลขุนนางมาจากฝรั่งเศส ซึ่งปกครองแคว้นอองชู (County of Anjou) ในภายหลังราชวงศ์นี้ได้ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษในปี พ.ศ. 1697 - พ.ศ. 2028 รวมทั้งราชอาณาจักรเยรูซาเล็มในปี พ.ศ. 1674 - พ.ศ. 1748 แคว้นนอร์มังดี (พ.ศ. 1687 - พ.ศ. 1747 และ พ.ศ. 1958 - พ.ศ. 1993) แคว้นกาสโกนีและกุยแยน (แคว้นอากีแตนในปัจจุบัน) (พ.ศ. 1696 - พ.ศ. 1996) หมวดหมู่:ราชวงศ์อ็องฌู หมวดหมู่:ราชสำนักอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชวงศ์แพลนแทเจเนต · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์แฮโนเวอร์

ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หรือ ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ. 2257 ราชวงศ์นี้ยังปกครองรัฐฮันโนเฟอร์ในประเทศเยอรมนีอันเป็นดินแดนที่ราชวงศ์นี้เป็นเจ้าของ ในบางครั้งอาจเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์เบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก สายฮันโนเฟอร์ (House of Brunswick and Lüneburg, Hanover line).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชวงศ์แฮโนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอีสต์แองเกลีย

ราชอาณาจักรอีสต์แองเกลีย (ภาษาอังกฤษ: Kingdom of the East Angles หรือ Kingdom of East Anglia) เป็นหนึ่งในอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนเจ็ดอาณาจักร ชื่อของอาณาจักรมาจากชื่อดินแดนแองเกิล (Angeln) ของชนแองเกิล ทางตอนเหนือของเยอรมนี ที่เมื่อแรกเริ่มประกอบด้วยนอร์โฟล์ค และซัฟโฟล์ค ชื่อที่อาจจะได้รับหลังจากการตั้งถิ่นฐานของชาวเดนส์ (“North folk (people)”.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชอาณาจักรอีสต์แองเกลีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรซัสเซกซ์

ราชอาณาจักรซัสเซกซ์ (Kingdom of Sussex; Sūþseaxna rīce) คำว่า "ซัสเซกซ์" มาจากคำภาษาอังกฤษเก่าว่า Sūþsēaxe ที่แปลว่าแซกซันใต้ ซัสเซกซ์เป็นหนึ่งในอาณาจักรแองโกล-แซกซันเจ็ดอาณาจักรที่มีอาณาบริเวณคล้ายกับอาณาจักรเคลต์เดิมชื่ออาณาจักรเรกีนี (Regini) แต่ต่อมาเทศมณฑลซัสเซกซ์ แต่ส่วนใหญ่ของเขตการปกครองโบราณครอบคลุมบริเวณป่าที่เรียกว่าป่าอันเดรด (Forest of Andred) ราชอาณาจักรซัสเซกซ์ปกครองโดยระบบราชาธิปไต.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชอาณาจักรซัสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรนอร์ทัมเบรีย

ราชอาณาจักรนอร์ทธัมเบรีย (ภาษาอังกฤษ: Northumbria หรือ Northhumbria) เป็นชื่อของอาณาจักรยุคกลางของชาวแองเกิลที่ปัจจุบันตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอังกฤษ และทางใต้ของสกอตแลนด์ และเป็นอาณาจักรเอิร์ล (Earldom) ที่เมื่อรวมกับอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนกลายเป็นอังกฤษ ชื่อ “นอร์ทธัมเบรีย” เป็นนัยยะว่าเขตแดนทางใต้ของอาณาจักรปากแม่น้ำฮัมเบอร์ นอร์ทธัมเบรียก่อตั้งกลางบริเตนใหญ่ในสมัยแองโกล-แซ็กซอน เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 7 อาณาจักรเบอร์นิเซีย และอาณาจักรไดรารวมตัวกันเป็นอาณาจักรเดียว (ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เฮนรี ฮันทิงดัน (Henry of Huntingdon) บรรยายว่านอร์ทธัมเบรียเป็นอาณาจักรหนึ่งในเจ็ดอาณาจักรของอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอน) ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดเขตแดนของราชอาณาจักรทางใต้จรดปากแม่น้ำฮัมเบอร์, ไปถึงแม่น้ำเมอร์ซีย์ และเฟิร์ธออฟฟอร์ธ (Firth of Forth) (โดยประมาณ จากเชฟฟิลด์ ไปรังคอร์ ไปเอดินบะระ) - และมีหลักฐานว่าเคยมีดินแดนมากกว่านั้น ต่อมานอร์ทธัมเบรียเสียดินแดนทางใต้แก่บริเวณเดนลอว์(Danelaw) ทางด้านเหนือเดิมเป็นอาณาจักรแต่ต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรเดนมาร์กที่มีฐานะเท่าเทียมกับเป็นอาณาจักรเอิร์ลและมีฐานะเช่นนั้นเมื่ออังกฤษรวมตัวกันโดยการนำของเวสเซ็กซ์ อาณาจักรเอิร์ลมีเขตแดนติดกับแม่น้ำทีส์ทางด้านใต้และแม่น้ำทวีดทางด้านเหนือ (โดยทั่วไปคล้ายคลึงกับตะวันออกเฉียงเหนืออังกฤษ (North East England) ปัจจุบัน) ดินแดนบริเวณเป็นบริเวณที่พิพาตระหว่างอังกฤษและสกอตแลนด์ แต่อาณาจักรเอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบรียก็ได้รับการยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่งของของอังกฤษในสนธิสัญญายอร์คระหว่างอังกฤษกับสกอตแลนด์ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชอาณาจักรนอร์ทัมเบรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเมอร์เซีย

ราชอาณาจักรเมอร์เซีย (Mercia) เป็นหนึ่งในอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนเจ็ดอาณาจักรที่มีศูนย์กลางอยู่ในลุ่มแม่น้ำแม่น้ำเทร้นท์และในบริเวณที่ปัจจุบันเป็นอังกฤษมิดแลนด์ส (English Midlands) ชื่อเมอร์เซียเป็นภาษาอังกฤษเก่า “Mierce” ที่แผลงเป็นแบบละติน (Latinization) แปลว่า “ชนชายแดน” ราชอาณาจักรเมอร์เซียมีอาณาเขตติดต่อกับราชอาณาจักรนอร์ทธัมเบรีย, เพาวิส, ราชอาณาจักรต่างๆ ทางตอนใต้ของเวลส์, เวสเซ็กซ์, ซัสเซ็กซ์, เอสเซ็กซ์ และ อีสต์แองเกลีย ทุกวันนี้ชื่อ “เมอร์เซีย” ยังใช้กันทั่วไปในชื่อองค์การต่างๆ ได้แก่ หน่วยทหาร หรือองค์การทั้งของรัฐและของเอกชน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชอาณาจักรเมอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเวสเซกซ์

ราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ (Wessex หรือ Westseaxe (ภาษาอังกฤษเก่า)) เวสเซ็กซ์ หรือ “แซ็กซอนตะวันตก” เป็นอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนของแซ็กซอนตะวันตกทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 6 จนอังกฤษรวมตัวกันเป็นประเทศในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ภายใต้ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ หลังจากสมัยสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราชเวสเซ็กซ์ก็มีฐานะเป็นอาณาจักรเอิร์ล (Earldom) ตั้งแต..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชอาณาจักรเวสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเคนต์

ราชอาณาจักรเคนต์ (Kingdom of Kent) เป็นราชอาณาจักรของชนจูต (Jutes) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษและครั้งหนึ่งเป็นหนึ่งในอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนเจ็ดอาณาจักร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชอาณาจักรเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์

ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ (Monarchy of Ireland).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด ครอมเวลล์

ริชาร์ด ครอมเวลล์ (Richard Cromwell) เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1626 ที่ เคมบริดจ์เชอร์ เป็นบุตรชายของ โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ เจ้าผู้พิทักษ์ แห่ง รัฐผู้พิทักษ์ ต่อมาเมื่อบิดาถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1658 เขาจึง ขึ้นมาเป็น เจ้าผู้พิทักษ์ แทนบิดาแต่ก็ไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้คนเหมือนสมัยของบิดาเพราะขาดความสามารถและมิได้สานต่อนโยบายของบิดา จนในที่สุดก็ถูกนายทหารกลุ่มหนึ่งปลดจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1659 ริชาร์ด ครอมเวลล์ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1712 ขณะอายุได้ 85 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2169 หมวดหมู่:ขุนนางอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและริชาร์ด ครอมเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เชกสเปียร์

วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare; รับศีล 26 เมษายน ค.ศ. 1564 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นกวีและนักเขียนบทละครชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลก มักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่งเอวอน) งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยบทละคร 38 เรื่อง กวีนิพนธ์แบบซอนเน็ต 154 เรื่อง กวีนิพนธ์อย่างยาว 2 เรื่อง และบทกวีแบบอื่นๆ อีกหลายชุด บทละครของเขาได้รับการแปลออกไปเป็นภาษาต่างๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครทั้งหมด เชกสเปียร์เกิดและเติบโตที่เมืองสแตรทฟอร์ด ริมแม่น้ำเอวอน เมื่ออายุ 18 ปี เขาสมรสกับแอนน์ ฮาธาเวย์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคือ ซูซานนา และฝาแฝด แฮมเน็ตกับจูดิธ ระหว่างช่วงปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและวิลเลียม เชกสเปียร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยการปกครองส่วนพระองค์

มเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ สมัยการปกครองส่วนพระองค์ หรือ สมัยสิบเอ็ดปีแห่งความกดขี่ (ภาษาอังกฤษ: Personal Rule หรือ Eleven Years' Tyranny) เป็นช่วงระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1629 จนถึงปี ค.ศ. 1640 เมื่อสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษทรงปกครองอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์โดยไม่มีรัฐสภา การกระทำของพระองค์แม้ว่าจะเป็นสิ่งที่ทรงมีสิทธิที่จะทำได้ตามพระราชอภิสิทธิ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยกฎหมายจารีตประเพณี แต่การกระทำของพระองค์เป็นสิ่งที่ก่อความไม่พึงพอใจแก่ชนชั้นปกครอง ก่อนหน้านั้นพระเจ้าชาร์ลส์ก็ทรงยุบสภาไปแล้วสามครั้งในปี ค.ศ. 1628 หลังจากการฆาตกรรมของจอร์จ วิลเลียรส์ ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 1ผู้มีความรับผิดชอบในนโยบายการต่างประเทศแล้ว รัฐสภาก็เริ่มติเตียนพระเจ้าชาร์ลส์หนักยิ่งขึ้น พระองค์ทราบว่าตราบใดที่ทรงเลี่ยงการทำสงครามได้พระองค์ก็สามารถปกครองบ้านเมืองได้โดยไม่ต้องพึ่งรัฐสภา นักประวัติศาสตร์พรรควิกบางทีก็เรียกยุคนี้ว่า “สมัยสิบเอ็ดปีแห่งความกดขี่” ซึ่งเป็นการชี้ให้เห็นถึงประเภทการปกครองที่ใช้ในช่วงระยะเวลานั้น ซึ่งต่อมาเป็นสาเหตุหนึ่งที่นำไปสู่สงครามกลางเมืองอังกฤษ แต่เมื่อไม่นานมานี้กลุ่มนักประวัติศาสตร์สังคายะนากล่าวถึงยุคนี้ว่าเป็นช่วงของการ “การปฏิรูปสร้างสรรค์” (Creative Reform) ซึ่งเป็นการกล่าวถึงพระราชกรณียกิจของพระเจ้าชาร์ลส์ในการวางโครงสร้างทางการเมืองของอังกฤษในช่วงระยะเวลานั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสมัยการปกครองส่วนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Mary I of England, 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2059 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งอรากอน คาสตีลและเนเปิล และสมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2096 จนกระทั่งเสด็จสวรรคต สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 4 ในราชวงศ์ทิวดอร์ เป็นผู้ซึ่งฟื้นฟูศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิกในอังกฤษ พระนางได้ดำเนินการเผาเหล่าบุคคลต่างศาสนา ต่างนิกายกว่า 300 คนทั้งเป็น ซึ่งเป็นที่มาของชื่อว่า แมรีบ้าเลือด หรือ แมรีผู้กระหายเลือด (Bloody Mary).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Mary II of England) (30 เมษายน ค.ศ. 1662 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชวงศ์สจวตของราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่

มเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ (Anne of Great Britain; 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1665 – 1 สิงหาคม ค.ศ. 1714) ทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระราชินีนาถราชวงศ์สจวตองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1702 สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ พระนางเจ้าแอนน์ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ (Elizabeth I of England หรือ Virgin Queen หรือ Gloriana หรือ Good Queen Bess -- 7 กันยายน พ.ศ. 2076 -- 24 มีนาคม พ.ศ. 2146) และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101 จนเสด็จสวรรคต บางครั้งพระองค์ก็ทรงได้รับพระฉายานามว่า "ราชินีพรหมจารี" (เนื่องจากการไม่อภิเษกสมรสเลยตลอดพระชนม์ชีพ) สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตรีย์พระองค์ที่ 5 และนับเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ผู้ประสูติที่พระราชวังกรีนิช เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์ บุลิน พระมเหสีพระองค์ที่ 2 ซึ่งถูกประหารชีวิตโดยการบั่นพระเศียรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 พระชนมายุได้เพียงเกือบ 3 พรรษา จากนั้นพระองค์ก็ทรงถูกประกาศว่าเป็นพระราชธิดานอกกฎหมาย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สวรรคตราชบัลลังก์อังกฤษก็ตกไปเป็นของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 พระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีและสมเด็จพระราชินีเจน ซีมัวร์ พระมเหสีองค์ที่ 3 เมื่อเสด็จสวรรคตพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดก็ทรงมอบราชบัลลังก์แก่เลดีเจน เกรย์ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาสองพระองค์ออกจากสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ แต่ในที่สุดเจ้าหญิงแมรีก็ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ผู้ทรงเป็นโรมันคาทอลิก ในรัชสมัยของราชินีนาถแมรีเจ้าหญิงอลิซาเบธทรงถูกจำขังอยู่ปีหนึ่งในข้อสงสัยว่าทรงมีส่วนร่วมในการสนับสนุนฝ่ายก่อการโปรเตสแตนต์ หลังจากเสด็จสวรรคตของพระเชษฐภคินีสมเด็จพระราชินีนาถแมรี เจ้าหญิงอลิซาเบธก็เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงตั้งพระทัยที่จะปกครองโดยมีที่ปรึกษาราชการผู้มีคุณธรรม พระองค์ทรงไว้วางพระทัยในกลุ่มที่ปรึกษาที่ทรงไว้วางใจที่นำโดยวิลเลียม เซซิล บารอนแห่งเบอร์ลีย์ที่ 1 สิ่งแรกที่ทรงกระทำในฐานะพระราชินีนาถคือการสนับสนุนการก่อตั้งสถาบันโปรเตสแตนต์อังกฤษ ซึ่งมีพระองค์เองเป็น “ประมุขสูงสุด” (Supreme Governor) นโยบายทางศาสนาของพระองค์เป็นนโยบายที่ดำเนินตลอดมาในช่วงรัชสมัยการปกครอง และต่อมาวิวัฒนาการมาเป็น “นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์” ในปัจจุบัน ในระหว่างที่ครองราชย์ก็เป็นที่หวังกันว่าพระองค์จะทรงเสกสมรส แต่แม้ว่ารัฐบาลจะยื่นคำร้องหลายครั้ง และ การทรงทำความรู้จักกับกับคู่หมายหลายคนพระราชินีนาถอลิซาเบธก็มิได้ทรงทำการเสกสมรสกับผู้ใด สาเหตุที่ไม่ทรงยอมเสกสมรสก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เมื่อมีพระชนมายุสูงขึ้นพระองค์ก็ทรงมีชื่อเสียงจากการเป็น “พระราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์” และเกิดลัทธินิยมของผู้ติดตามนโยบายดังว่าที่เฉลิมฉลองกันด้วยภาพเหมือน, เทศกาล และ วรรณกรรมร่วมสมัย ในด้านการปกครองพระราชินีนาถอลิซาเบธทรงดำเนินนโยบายที่เป็นสายกลางมากกว่าพระราชบิดา พระอนุชา และ พระเชษฐภคินีStarkey, 5.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามร้อยปี

งครามร้อยปี (Hundred Years' War) เป็นชุดความขัดแย้งระหว่าง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสงครามร้อยปี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามศาสนาของฝรั่งเศส

หตุการณ์สังหารหมู่วันเซนต์บาร์โธโลมิว สงครามศาสนาของฝรั่งเศส (French Wars of Religion) เป็นสงครามกลางเมืองฝรั่งเศส ระหว่างค.ศ. 1562 ถึง ค.ศ. 1598 ระหว่างฝ่ายคาทอลิก นำโดยตระกูลกีส (Guise) กับกลุ่มอูเกอโนต์ (Huguenots) หรือโปรเตสแตนต์ในฝรั่งเศส นำโดยตระกูลบูร์บง ผลคือฝรั่งเศสเปลี่ยนราชวงศ์ใหม่จากราชวงศ์วาลัวส์ เป็นราชวงศ์บูร์บง และเสรีภาพทางศาสนาของผู้นับถือโปรเตสแตนต์ในฝรั่งเศสตามพระราชกฤษฎีกาแห่งนองซ์ออกโดยพระเจ้าอองรีที่ 4.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสงครามศาสนาของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสามสิบปี

งครามสามสิบปี (Thirty Years' War) (ค.ศ. 1618 - ค.ศ. 1648) สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ก่อความเสียหายไว้มากที่สุดสงครามหนึ่งของประวัติศาสตร์ยุโรป สงครามส่วนใหญ่สู้รบกันในดินแดนเยอรมนีและมีผู้เข้าร่วมสงครามจากเกือบทุกประเทศในยุโรป อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในสงครามที่ยาวนานที่สุดครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ต้นเหตุของความขัดแย้งและจุดประสงค์ของผู้เข้าร่วมมีความซับซ้อนและมีเหตุผลในการทำสงครามของฝ่ายต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เมื่อเริ่มแรกการต่อสู้เกิดจากความขัดแย้งระหว่างโปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิกในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แต่ความขัดแย้งการทางอำนาจทางการเมืองภายในจักรวรรดิก็เป็นส่วนสำคัญด้วย ในที่สุดสงครามก็ขยายออกไปเป็นความขัดแย้งของอาณาบริเวณต่างๆ ทั่วยุโรป สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจากสงครามความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับราชวงศ์ฮับส์บูร์กในการเป็นมหาอำนาจในยุโรปและในที่สุดก็บานปลายไปเป็นสงครามที่ไม่มีเหตุผลใดเกี่ยวข้องกับศาสนา การต่อสู้ส่วนใหญ่ในสงครามสามสิบปีเป็นการต่อสู้โดยกองทัพทหารรับจ้างที่ทำความเสียหายอย่างใหญ่หลวงมาสู่บริเวณที่มีการต่อสู้ และก่อให้เกิดความอดอยากและโรคระบาดจนส่งผลให้จำนวนประชากรของรัฐต่าง ๆ ในเยอรมนี กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ และอิตาลีลดลงไปเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังก่อให้เกิดการสูญเสียอำนาจในหลายบริเวณ ความขัดแย้งที่เป็นสาเหตุของการต่อสู้ก็ไม่ได้รับการแก้ไข นอกจากนี้การที่สงครามมีค่าจ่ายทางการทหารเป็นจำนวนมาก ส่งผลทำให้รัฐที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ต้องล้มละลายในช่วงท้ายของสงคราม สงครามสามสิบปียุติลงด้วยสนธิสัญญามึนสเตอร์ (Treaty of Münster) ที่เป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสงครามสามสิบปี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสืบราชบัลลังก์สเปน

งครามสืบราชบัลลังก์สเปน (ภาษาอังกฤษ: War of the Spanish Succession) (ค.ศ. 1702–ค.ศ. 1714) ซึ่งรวมทั้งสงครามพระนางแอนน์ (Queen Anne's War) ใน ทวีปอเมริกาเหนือเป็นสงครามครั้งสำคัญครั้งหนึ่งของทวีปยุโรปเกี่ยวกับปัญหาการสืบสันติวงศ์ของบัลลังก์สเปน ซึ่งเป็นผลให้มีการเปลี่ยนความสมดุลทางอำนาจในยุโรป ผู้เป็นผู้นำทางทหารที่สำคัญๆ ในสงครามครั้งนี้ก็ได้แก่โคลด ลุยส์ เฮคเตอร์ แห่งวิลลาร์ส, เจมส์ ฟิทซเจมส์ ดยุกแห่งเบอร์วิก, จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเจ้าชายยูจีนแห่งซาวอย ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย

งครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย (War of the Austrian Succession) เป็นสงครามที่เกี่ยวข้องกับทุกมหาอำนาจในทวีปยุโรป สงครามเริ่มจากการที่เมื่อจักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เสด็จสวรรคตใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามดอกกุหลาบ

ที่ตั้งสำคัญในสงครามดอกกุหลาบ สงครามดอกกุหลาบ (Wars of the Roses) เป็นชุดสงครามราชวงศ์ที่ผู้สนับสนุนราชวงศ์แพลนแทเจเนตสองสายที่เป็นคู่แข่งชิงราชบัลลังก์อังกฤษกัน ได้แก่ ราชวงศ์แลงแคสเตอร์และราชวงศ์ยอร์ก (ซึ่งสัญลักษณ์ตราประจำตระกูล คือ ดอกกุหลาบสีแดงและสีขาวตามลำดับ) ทั้งสองฝ่ายรบกันเป็นช่วงห่าง ๆ กันระหว่างปี 1455 ถึง 1485 แม้จะมีการสู้รบที่เกี่ยวข้องอีกทั้งก่อนหน้าและหลังช่วงนี้ สงครามดังกล่าวเป็นผลจากปัญหาทางสังคมและการเงินหลังสงครามร้อยปี ชัยชนะบั้นปลายเป็นของผู้เรียกร้องเชื้อสายแลงแคสเตอร์ค่อนข้างห่าง เฮนรี ทิวดอร์ ผู้กำราบพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ยอร์ก และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมสองราชวงศ์ หลังจากนั้น ราชวงศ์ทิวดอร์ปกครองอังกฤษและเวลส์เป็นเวลา 117 ปี เฮนรีแห่งโบลิงโบรกทรงก่อตั้งราชวงศ์แลงแคสเตอร์ขณะทรงราชย์ในปี 1399 เมื่อทรงถอดพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 พระภราดร (ลูกพี่ลูกน้อง) จากราชสมบัติ พระราชโอรส พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ยังทรงรักษาการอยู่ในราชสมบัติของตระกูลไว้ได้ แต่เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตในปี 1422 พระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทายาทของพระองค์ เป็นทารก การอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชวงศ์แลงแคสเตอร์สืบมาจากจอห์นแห่งกอนต์ ดยุกที่ 1 แห่งแลงแคสเตอร์ พระราชโอรสที่ยังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สามในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 สิทธิในราชบัลลังก์ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 ถูกริชาร์ด ดยุคแห่งยอร์คคัดค้าน ผู้สามารถอ้างว่าสืบเชื้อสายจากไลโอเนลแห่งแอนต์เวิร์ป และเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์กพระราชโอรสที่ยังมียังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สองและสี่ในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ริชาร์ดแห่งยอร์ค ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญของรัฐหลายตำแหน่ง ทะเลาะกับราชวงศ์แลงแคสเตอร์สำคัญ ๆ ในราชสำนักและกับมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู พระมเหสีในพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แม้เคยเกิดการปะทะกันด้วยอาวุธระหว่างผู้สนับสนุนราชวงศ์ยอร์กและแลงแคสเตอร์มาก่อนหน้านั้นแล้ว แต่การสู้รบเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นในปี 1455 ที่ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1 ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คนที่โดดเด่นหลายคนเสียชีวิต แต่ทายาทที่เหลือยังพยาบาทกับริชาร์ด แม้จะมีการฟื้นฟูสันติภาพชั่วคราว มาร์กาเรตแห่งอ็องฌู ดลให้ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คัดค้านอิทธิพลของเอิร์ลแห่งยอร์ค การสู้รบดำเนินต่ออย่างรุนแรงขึ้นในปี 1459 เอิร์ลแห่งยอร์คและผู้สนับสนุนของพระองค์ถูกบีบให้หนีออกนอกประเทศ แต่ผู้สนับสนุนที่โดดเด่นที่สุดของพระองค์คนหนึ่ง เอิร์ลแห่งวอริก บุกครองอังกฤษจากกาเลและสามารถจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้ที่ยุทธการที่นอร์แธมป์ตัน เอิร์ลแห่งยอร์คเสด็จกลับประเทศและเป็นผู้พิทักษ์อังกฤษ (Protector of England) แต่ทรงถูกปรามมิให้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ มาร์กาเร็ตและอภิชนแลงแคสเตอร์ผู้ไม่ยอมปรองดองประชุมกำลังทางเหนือของอังกฤษ และเมื่อเอิร์ลแห่งยอร์คเคลื่อนทัพขึ้นเหนือไปปราบ พระองค์กับเอ็ดเวิร์ด พระราชโอรสพระองค์ที่สอง ถูกปลงพระชนม์ทั้งคู่ที่ยุทธการเวคฟีลด์ในเดือนธันวาคม 1460 กองทัพแลงแคสเตอร์รุกลงใต้และจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้อีกในยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 2 แต่ไม่สามารถยึดครองกรุงลอนดอนไว้ได้ และถอยกลับไปทางเหนือในเวลาต่อมา พระราชโอรสองค์โตของเอิร์ลแห่งยอร์ค เอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ช ได้รับการประกาศเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 พระองค์ระดมกองทัพราชวงศ์ยอร์คและได้ชัยเด็ดขาดที่ยุทธการที่โทว์ทันเมื่อเดือนมีนาคม 1461 หลังการลุกขึ้นต่อต้านของแลงแคสเตอร์ทางเหนือถูกกำราบในปี 1464 และพระเจ้าเฮนรีถูกจับเป็นเชลยอีกครั้ง พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทะเลาะกับเอิร์ลแห่งวอริก สมญา "ผู้สร้างกษัตริย์" (Kingmaker) ผู้สนับสนุนและที่ปรึกษาหลักของพระองค์ และยังแตกแยกกับพระสหายหลายคน และกระทั่งพระบรมวงศานุวงศ์ โดยทรงสนับสนุนตระกูลของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ วูดวิลล์ซึ่งมีอำนาจขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งพระองค์ทรงอภิเษกสมรสด้วยอย่างลับ ๆ ทีแรก เอิร์ลแห่งวอริกพยายามยกน้องชาย จอร์จ ดยุกแห่งแคลเรนซ์ เป็นพระมหากษัตริย์ แล้วจึงฟื้นฟูพระเจ้าเฮนรีที่ 6 กลับสู่ราชสมบัติ จากนั้นสองปี พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ทรงได้รับชัยชนะสมบูรณ์อีกครั้งที่บาร์เนต (เมษายน 1471) ที่ซึ่งเอิร์ลแห่งวอริกถูกสังหาร และทูกสบรี (พฤษภาคม 1471) ที่ซึ่งเอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ ทายาทแลงแคสเตอร์ ถูกประหารชีวิตหลังยุทธการ พระเจ้าเฮนรีถูกปลงพระชนม์ในหอคอยลอนดอนหลายวันจากนั้น ยุติลำดับการสืบราชสันตติวงศ์โดยตรงของแลงแคสเตอร์ จากนั้น บ้านเมืองค่อนข้างสงบอยู่พักหนึ่ง จนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตกะทันหันในปี 1483 ริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ พระอนุชาที่ยังมีพระชนมชีพของพระองค์ ทีแรกเคลื่อนไหวเพื่อกันมิให้ตระกูลวูดวิลล์ที่ไม่เป็นที่นิยมของพระมเหสีหม้ายของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเข้าร่วมในรัฐบาลระหว่างที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 พระราชโอรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด ยังทรงพระเยาว์ จึงยึดราชบัลลังก์เป็นของตน โดยอ้างว่า การสมรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เฮนรี ทิวดอร์ พระญาติห่าง ๆ ของพระมหากษัตริย์แลงแคสเตอร์ผู้รับสืบทอดการอ้างสิทธิ์มาด้วย ชนะพระเจ้าริชาร์ดที่บอสเวิร์ธฟิลด์ในปี 1485 พระองค์ราชาภิเษกเป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 7 และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมและประสานราชวงศ์ทั้งสอง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสงครามดอกกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 3

“การล้อมเมืองเอเคอร์” ระหว่างปี ค.ศ. 1189 ถึงปี ค.ศ. 1191 สงครามครูเสดครั้งที่ 3 หรือ สงครามครูเสดกษัตริย์(Third Crusade หรือ Kings' Crusade) (ค.ศ. 1189-ค.ศ. 1192) เป็นสงครามครูเสดที่ฝ่ายผู้นำยุโรปพยายามกู้ดินแดนศักดิ์สิทธิ์คืนจากศอลาฮุดดีน (Salāh al-Dīn Yūsuf ibn Ayyūb).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสงครามครูเสดครั้งที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์

อห์น บัลลิออล, 1292 – 1296 พระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ กับพระชายา สงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์ เป็นเหตุการณ์ความขัดแย้งทางทหาร ระหว่างราชอาณาจักรสกอตแลนด์และราชอาณาจักรอังกฤษ ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 จนถึงต้นคริสศตวรรษที่ 14 สงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์ครั้งแรก (ปี 1296 - 1328) เปิดฉากขึ้นด้วยการรุกรานของฝ่ายอังกฤษเข้ามาในดินแดนสก็อตใน ปี 1296 และจบลงด้วยการลงนามในสนธิสัญญาเอดินบะระ-นอร์ทแธมพ์ตันใน ปี 1328 สงครามครั้งที่สอง (ปี 1332 - 1357) เป็นสงครามชิงอำนาจภายใน ซึ่งเริ่มต้นจากการยกทัพเข้ารุกรานโดยการนำของ เอ็ดเวิร์ด บัลลิออล (Edward Balliol) ทายาทผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์สก็อตของจอห์น บัลลิออล โดยมีอังกฤษเป็นฝ่ายหนุนหลัง และยุติลงด้วยการลงนามในสนธิสัญญาเบอร์วิคใน ปี 1357 หลังสงครามยุติ สก็อตแลนด์ยังคงรักษาสถานะความเป็นรัฐเอกราชของตนเอาไว้ได้ สงครามประกาศอิรภาพสกอตแลนด์เป็นเหตุการณ์ความขัดแย้ง ที่นำไปสู่การพัฒนาอาวุธและยุทธวิธีใหม่ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปรากฏตัวของธนูยาวอังกฤษ หรือ "ลองโบว์" (long bow) ซึ่งเป็นอาวุธที่เปลี่ยนโฉมหน้าการรบในยุคกลาง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเก้าปี

งครามเก้าปี (Nine Years' War) หรือ สงครามมหาพันธมิตร (War of the Grand Alliance) หรือ สงครามสหพันธ์ออกสบูร์ก (War of the League of Augsburg) หรือที่เคยเรียกว่า สงครามสืบบัลลังก์พาลาไทน์ (War of the Palatine Succession) หรือ สงครามสืบราชบัลลังก์อังกฤษ (War of the English Succession) หรือบางครั้งก็เรียกว่า สงครามวิลเลียมไมท์ (Williamite War) ในไอร์แลนด์ หรือ สงครามพระเจ้าวิลเลียม (King William's War) ในทวีปอเมริกาเหนือ เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1688 จนถึงปี ค.ศ. 1697 ที่การต่อสู่ส่วนใหญ่เกิดขึ้นบนแผ่นดินใหญ่ยุโรป แต่ก็มีบ้างที่เกิดขึ้นในไอร์แลนด์ และ ทวีปอเมริกาเหนือ สงครามเป็นความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรฝรั่งเศสภายใต้การนำของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และจาโคไบต์ไอริชฝ่ายหนึ่ง กับมหาพันธมิตร (Grand Alliance) อีกฝ่ายหนึ่งที่นำโดยพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ, สมเด็จพระจักรพรรดิลีโอโพลด์ที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, พระเจ้าคาร์โลสที่ 2 แห่งสเปน และ พระเจ้าวิคเตอร์ อมาเดอุสที่ 2 แห่งซาร์ดิเนีย ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสงครามเก้าปี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสงครามเจ็ดปี · ดูเพิ่มเติม »

สโตนเฮนจ์

ตนเฮนจ์: โปรดสังเกตเมื่อเทียบกับคนที่ยืนอยู่ด้านมุมล่างขวาของภาพ สโตนเฮนจ์ เป็นอนุสรณ์สถาน ยุคก่อนประวัติศาสตร์ กลางทุ่งราบกว้างใหญ่บนที่ราบซอลส์บรี (Salisbury Plain) ในบริเวณตอนใต้ของเกาะอังกฤษ ตัวอนุสรณ์สถานประกอบด้วยแท่งหินขนาดยักษ์ 112 ก้อน ตั้งเรียงกันเป็นวงกลมซ้อนกัน 3 วง แท่งหินบางอันตั้งขึ้น บางอันวางนอนลง และบางอันก็ถูกวางซ้อนอยู่ข้น นักโบราณคดีเชื่อว่ากลุ่มกองหินนี้ถูกสร้างขึ้นจากที่ไหนสักแห่งเมื่อประมาณ 3000–2000 ปีก่อนคริสตกาล กล่าวคือ การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีเมื่อ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและสโตนเฮนจ์ · ดูเพิ่มเติม »

หัวเกรียน

“ฝ่ายรัฐสภา” โดยจอห์น เพ็ตติ (John Pettie) กลุ่มหัวเกรียน หรือ ฝ่ายรัฐสภา (ภาษาอังกฤษ: Parliamentarians หรือ Roundhead) เป็นชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มพิวริตันผู้สนับสนุนรัฐสภาแห่งอังกฤษระหว่างสงครามกลางเมืองอังกฤษ และเป็นผู้สนับสนุนโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ และเป็นปฏิปักษ์ต่อสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ครอมเวลล์ได้รับความก้าวหน้าทางการเมือง, เป็นสมาชิกของสภาสามัญชนผู้มีบทบาทสำคัญ และเป็นนายทหารผู้มีความสามารถ และในที่สุดก็แต่งตั้งตนเองเป็นเจ้าผู้พิทักษ์ ในปี ค.ศ. 1653 ฐานะทางการเมืองและทางการศาสนาของ “ฝ่ายรัฐสภา” รวมทั้งกลุ่มเพรสไบทีเรียน (Presbyterians), กลุ่มรีพับลิกันคลาสสิก (Classical republicanism), กลุ่มเลเวลเลอร์ (Levellers) และ กลุ่มอิสระทางศาสนา (Independents) ศัตรูของ “ฝ่ายรัฐสภา” คือ “ฝ่ายกษัตริย์นิยม” ผู้สนับสนุนพระเจ้าชาร์ลส์หรือที่เรียกเล่นๆ ว่า “กลุ่มคาวาเลียร์” (Cavalier).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและหัวเกรียน · ดูเพิ่มเติม »

ออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรี

นักบุญออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรี (Augustine of Canterbury) (ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6–26 พฤษภาคม ค.ศ. 604) เป็นนักพรตโรมันคาทอลิกคณะเบเนดิกติน ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีองค์แรกเมื่อปี ค.ศ. 598 และถือกันว่าเป็น “อัครทูตเพื่อชาวอังกฤษ” (Apostle to the English) และเป็นผู้วางรากฐานของศาสนาคริสต์ในอังกฤษDelaney Dictionary of Saints pp.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรี · ดูเพิ่มเติม »

ออร์กนีย์

ออร์กนีย์ (Orkney) หรือที่เรียกกันอย่างไม่ถูกต้องว่า "หมู่เกาะออร์กนีย์" (The Orkney Islands หรือ The Orkneys) เป็น "กลุ่มเกาะ" (archipelago) และที่ตั้งอยู่ทางเหนือของสกอตแลนด์ ตั้งอยู่ 16 กิโลเมตรเหนือฝั่งทะเลเคทเนสส์ (Caithness) ออร์กนีย์ประกอบด้วยเกาะทั้งหมด 70 เกาะและในจำนวนนั้น 20 มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดของออร์กนีย์คือเกาะที่เรียกกันว่า "เมนแลนด์" (Mainland) ที่มีเนื้อที่ 523 ตารางกิโลเมตรซึ่งทำให้เป็นเกาะที่ใหญ่เป็นที่หกของบรรดาเกาะของสกอตแลนด์ และใหญ่เป็นที่สิบของบรรดาเกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะบริติช (British Isles) ที่ตั้งถิ่นฐานใหญ่ที่สุดที่เป็นศูนย์กลางของการปกครองอยู่ที่เคิร์กวอลล์ (Kirkwall) ออร์กนีย์เป็นหนึ่งใน 32 มณฑลของสกอตแลนด์ ผู้ที่อาศัยอยู่ที่ออร์กนีย์เรียกว่า "ออร์เคเดียน" ออร์กนีย์เป็นที่ตั้งถิ่นฐานมากว่า 5,500 ปี เดิมเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเผ่าจากยุคหินใหม่ และต่อมาโดยชาวพิกต์ (Picts) ในที่สุดออร์กนีย์ก็ถูกรุกรานและผนวกเป็นส่วนหนึ่งของนอร์เวย์ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและออร์กนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์มาดาสเปน

วามพ่ายแพ้ของสเปนที่สมรภูมิแห่งกราเวแลงส์ กองเรืออาร์มาดา เกิดขึ้นในยุคสมัยของพระเจ้าเฟลิเปที่ 2 แห่งสเปน โดยเป็นกองเรือที่ถูกเรียกว่าแข็งแกร่งที่สุดเก่งที่สุด ถูกสร้างขึ้นเพื่อเตรียมบุกชิงราชบัลลังก์อังกฤษเนื่องจากพระเจ้าฟิลิปเปที่ 2 ผู้เป็นคริสเตียนนิกายโรมันคาทอลิก ทรงเห็นว่าสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1 ผู้ปกครองอังกฤษในขณะนั้น ซึ่งพระนางทรงเป็นคริสเตียนนิกายโปรเตสแตนต์ ไม่คู่ควรกับราชบัลลังก์อังกฤษที่สมควรจะมีไว้สำหรับเชื้อพระวงศ์ที่เป็นโรมันคาทอลิกเท่านั้น แต่เหตุผลที่พระเจ้าฟิลิปเปนำมาอ้างก็คือโจรสลัดอังกฤษปล้นเรือสินค้าของสเปนหลายครั้ง ทำใหสเปนต้องทำการตอบโค้อังกฤษ ในการนี้กองเรืออาร์มาดาได้ยกพลไปบุกอังกฤษถึงสองครังแต่ก็พ่ายแพ่ทั้งสองครั้ง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและอาร์มาดาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เกรนวิลล์

จอร์จ เกรนวิลล์ (George Grenville) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 8 แห่งบริเตนใหญ่ระหว่าง ค.ศ. 1763 - ค.ศ. 1765 เกิดเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1712 และถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1770 ขณะอายุได้ 58 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2255 หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:นักการเมืองอังกฤษ หมวดหมู่:บุคคลจากวิทยาลัยอีตัน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและจอร์จ เกรนวิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิคาร์ล (ชาลส์) ที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Karl V; Carlos I or Carlos V; Charles V, 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2043 - 21 กันยายน พ.ศ. 2101) สมัยราชวงศ์ฮับส์บูร์กในสเปนทรงครองราชย์ในนามของพระเจ้าชาร์ลที่ 1 แห่งสเปน เป็นประมุขแห่งดัชชีเบอร์กันดี (ในปี พ.ศ. 2049 - 2098) กษัตริย์แห่งสเปน (พ.ศ. 2059 - 2099) พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนเปิลส์และราชอาณาจักรซิซิลี (พ.ศ. 2059 - 2097) อาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย (พ.ศ. 2062 - 2064) และจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (พ.ศ. 2073 - 2099) พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฟลิเปที่ 1 แห่งคาสตีล (Philip I of Castile, พ.ศ. 2021-พ.ศ. 2049) และพระนางโจแอนนา (Joanna of Castile, พ.ศ. 2022 - พ.ศ. 2098) พระอัยกาคือพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอนและจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ส่วนพระอัยกีคือสมเด็จพระราชินีนาถอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีลและแมรีแห่งเบอร์กันดี พระปิตุจฉาคือแคเธอรีนแห่งอารากอน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษพระมเหสีองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาทิลดา

มเด็จพระจักรพรรดินีมาทิลดา หรือ ม้อด (Empress Matilda หรือ Maud หรือ Maude) ต่อมาเป็นเคานท์เทสแห่งอ็องฌู และ อิสตรีแห่่งชนอังกฤษ (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1102 – ค.ศ. 1167) เป็นพระราชินีนาถราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษ พระจักรพรรดินีมาทิลดาเสด็จพระราชสมภพเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1102 ที่วินเชสเตอร์ในอังกฤษ เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 1 แห่งอังกฤษ และ มาทิลดาแห่งสกอตแลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ ทรงเสกสมรสครั้งแรกกับสมเด็จพระจักรพรรดิเฮนรีที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมากับเจฟฟรีย์ที่ 5 เคานต์แห่งอ็องฌู ผู้มีพระราชโอรสด้วยกัน -- สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ พระจักรพรรดินีมาทิลดาทรงราชย์ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 1141 พระจักรพรรดินีมาทิลดาเสด็จสวรรคตเมื่อ 10 กันยายน ค.ศ. 1167ที่รูออง ฝรั่งเศส พระจักรพรรดินีมาทิลดาทรงเป็นประมุขสตรีองค์แรกของราชอาณาจักรอังกฤษแต่มิได้ทรงสวมมงกุฏและเป็นประมุขเพียงระยะสั้น พระจักรพรรดินีมาทิลดาไม่ทรงสามารถยึดบัลลังก์เป็นการถาวรฉะนั้นรัชสมัยของพระองค์จึงเป็นรัชสมัยที่ยาวเพียง 7 เดือน บางครั้งพระนามจึงไม่ปรากฏในรายนามพระมหากษัตริย์อังกฤษแม้แต่เว็บไซต์ทางการของประมุขของอังกฤษก็ไม่มีพระนามของมาทิลดาแต่ระบุพระนามสมเด็จพระเจ้าสตีเฟน แห่งอังกฤษปกครองอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและจักรพรรดินีมาทิลดา · ดูเพิ่มเติม »

จูเลียส ซีซาร์

กาอิอุส ยูลิอุส ไกซาร์ (Caivs/Gaivs Ivlivs Caesar) หรือ จูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar; กรกฎาคม 100 ปีก่อน ค.ศ. – 15 มีนาคม 44 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นรัฐบุรุษ แม่ทัพ และผู้ประพันธ์ร้อยแก้วอันเลื่องชื่อชาวโรมัน เขามีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์อันนำไปสู่การสิ้นสุดสาธารณรัฐโรมันและความเจริญของจักรวรรดิโรมัน ใน 60 ปีก่อน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและจูเลียส ซีซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกา

แผนที่ทวีปอเมริกาโดย Jonghe. Ca. พ.ศ. 2313 แผนที่ทวีปอเมริกา ทวีปอเมริกา (Americas)america.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรแห่งอังกฤษ

ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและคริสตจักรแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

งานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน

งานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน (Boston Tea Party) เป็นการประท้วงทางการเมืองของกลุ่มซันส์ออฟลิเบอร์ตี (Sons of Liberty) ในบอสตันเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและงานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวลส์

วลส์ (Wales; Cymru, ออกเสียง คัมรึ) เป็น 1 ใน 4 ประเทศที่ประกอบเป็นสหราชอาณาจักร (ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ) เวลส์อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ โดยทิศตะวันออกติดกับประเทศอังกฤษ ทิศใต้ติดกับช่องแคบบริสตอล (Bristol Channel) ทิศตะวันตกติดกับช่องแคบจอร์เจส (George's Channel) และทางเหนือติดกับทะเลไอริช คำว่า ราชรัฐเวลส์ ยังคงเป็นที่นิยมใช้ ถึงแม้ว่าเจ้าชายแห่งเวลส์จะไม่มีบทบาททางการเมืองตั้งแต่ปี พ.ศ. 1825 (ค.ศ. 1282) โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษทรงเข้ายึดครอง ต่อมาเมืองหลวงของเวลส์ถูกย้ายจากคายร์นาร์วอน (ซึ่งเป็นเมืองของเจ้าชายเวลส์) มาที่คาร์ดิฟฟ์ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและประเทศเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซเนกัล

ซเนกัล (Sénégal) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเซเนกัล (République du Sénégal) เป็นประเทศที่อยู่ในแอฟริกาตะวันตก มีพรมแดนทางตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทางเหนือจรดมอริเตเนีย ทางตะวันออกจรดมาลี และทางใต้จรดกินีและกินี-บิสเซา โดยล้อมแกมเบียซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศไว้เกือบทั้งหมด และมีหมู่เกาะกาบูเวร์ดีตั้งอยู่ห่างจากชายแดนตะวันตกไปราว 560 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและประเทศเซเนกัล · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาท

ปราสาทคาร์คาโซนในฝรั่งเศส ปราสาท คือสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกซึ่งเป็นสัญลักษณ์หลักของสมัยกลาง ความหมายของคำว่าปราสาทยังเป็นที่ถกเถียงกันในหมู่นักวิชาการถึงความหมายที่แท้จริง แต่โดยทั่วไปแล้วปราสาทมีความหมายต่างจากคำว่า “ป้อม” (fort) และ “ป้อมปราการ” (fortress) ตรงที่ปราสาทเป็นที่ประทับหรือที่พำนักของพระมหากษัตริย์หรือขุนนางในบริเวณที่เป็นจุดที่ต้องมีการป้องกันจากข้าศึก สิ่งก่อสร้างที่เป็นที่มาของปราสาทคือป้อมโรมัน (Roman fort) และ ป้อมเนิน (Hill fort) ที่สร้างกันทั่วยุโรปที่มาจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ในสมัยจักรวรรดิคาโรลินเจียน แต่การวิวัฒนาการของปืนใหญ่และดินปืนในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นการเปลี่ยนลักษณะการสงครามในยุโรปและทำให้สมรรถภาพของปราสาทในการใช้เป็นสิ่งป้องกันการโจมตีจากข้าศึกลดลง และทำให้การสร้างป้อมเป็นที่นิยมกันมากขึ้น สิ่งก่อสร้างในรัสเซียที่เรียกว่า “เคร็มลิน” (Kremlin) หรือในญี่ปุ่นที่เรียกว่า “ชิโร” (Shiro) ก็ถือว่าเป็นปราสาท.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

นีแอนเดอร์ทาล

นีแอนเดอร์ทาล คือมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชนิดหนึ่ง ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว โดยจัดอยู่ในสกุลเดียวกับมนุษย์ยุคปัจจุบัน คือ Homo นีแอนเดอร์ทาลถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อราว 160 ปีที่แล้ว ที่ถ้ำเฟลด์โฮเฟอร์ในหุบเขาเนอันเดอร์ ใกล้เมืองดึสเซลดอร์ฟ ทางตอนเหนือของเยอรมนี โดยคนงานเหมืองขุดค้นพบกระดูกโบราณซึ่งตอนแรกเข้าใจว่าเป็นหมี และได้ส่งกระดูกนั้นแก่นักธรรมชาติวิทยา โยฮันน์ คาร์ล ฟูลรอทท์ ฟูลรอทท์จึงได้ส่งต่อให้แก่นักกายวิภาควิทยา เมื่อวิเคราะห์อย่างละเอียดแล้วจึงพบว่าเป็นมนุษย์ดึกดำบรรพ์ชนิดใหม่ จึงให้ชื่อว่า "นีแอนเดอร์ทาล" เพื่อเป็นเกียรติแก่หุบเขาเนอันเดอร์ สถานที่ที่ค้นพบ โดยรวมนีแอนเดอร์ทาลมีรูปร่างที่กำยำล่ำสัน แข็งแรง รวมถึงมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดีกว่ามนุษย์ปัจจุบัน แต่มีระดับสติปัญญาที่ต่ำกว่า ด้วยเหตุนี้เป็นสาเหตุหลักที่เชื่อว่าทำให้สูญพันธุ์ ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนได้ถอดรหัสพันธุกรรมของนีแอนเดอร์ทาลได้เป็นผลสำเร็จเมื่อปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและนีแอนเดอร์ทาล · ดูเพิ่มเติม »

นโปเลียน

นโปเลียน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและนโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

แอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษ

แอนน์ บุลิน (Anne Boleyn) เป็นบุตรีของเซอร์ทอมัส บุลิน กับเลดีเอลิซาเบธ บุลิน และเป็นพระมเหสีพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และเป็นพระราชมารดาของเจ้าหญิงเอลิซาเบธ (ต่อมาเสด็จขึ้นเถลิงราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ) พระราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่างสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งเรื่องราว พระราชอำนาจหลังพระราชบัลลังก์ฉายเด่นชัดจากสมเด็จพระราชินีพระองค์นี้ ข้าราชการแบ่งฝักฝ่ายเป็นสองพวกคือ "คนของพระราชา" และ "คนของพระราชินี" แม้จนเมื่อท้ายที่สุดแล้วสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 จะทรงมีชัยชนะเหนือพระมเหสี สามารถสำเร็จโทษพระนางได้ ด้วยการกล่าวหาว่าพระนางสมสู่กับน้องชายแท้ ๆ ของพระนางเอง แต่ความแตกร้าวก็ยังคงมีอยู่ไม่รู้จบ พระองค์ถูกกล่าวขานถึงว่า "ราชินีแห่งอังกฤษที่โดดเด่นและสำคัญที่สุดเท่าที่เคยมี".

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและแอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แอนน์แห่งคลีฟส์ พระราชินีแห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีแอนน์แห่งอังกฤษ หรือ แอนน์แห่งคลีฟส์ (22 กันยายน พ.ศ. 2058 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2100) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ระหว่างวันที่ 6 มกราคม-9 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและแอนน์แห่งคลีฟส์ พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แควาเลียร์

แควาเลียร์ (Cavalier) เป็นคำที่ฝ่ายรัฐสภาใช้เรียกผู้นิยมกษัตริย์ที่สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ระหว่างสงครามกลางเมืองอังกฤษ (ระหว่างปี ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1651) หรือเรียก ฝ่ายนิยมเจ้า (Royalists) เจ้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์ ผู้ทรงเป็นแม่ทัพกองทหารม้าของพระเจ้าชาลส์ ทรงมีลักษณะที่เรียกได้ว่าเป็นตัวอย่างของผู้เป็น แควาเลียร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและแควาเลียร์ · ดูเพิ่มเติม »

แคเธอรีน พารร์ พระราชินีแห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีแคทเธอรีน พารร์ (พ.ศ. 2055Her precise date of birth is not known; the ODNB says "born in 1512, probably in August." Susan E. James, "Katherine (1512–1548)", Oxford Dictionary of National Biography, Oxford University Press, 2004; online edn, Jan 2008 - 5 กันยายน พ.ศ. 2091) เป็นพระมเหสีองค์สุดท้ายของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 และได้เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษตั้งแต่ พ.ศ. 2086 - พ.ศ. 2090 หลังจากสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สิ้นพระชนม์ก็กลายเป็นสตรีสูงศักดิ์ พระนางเป็นราชินีอังกฤษที่สมรสมากที.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและแคเธอรีน พารร์ พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แคเธอรีน ฮอเวิร์ด พระราชินีแห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีแคเธอรีนแห่งอังกฤษ เดิมชื่อ แคเธอรีน ฮอเวิร์ด (Catherine Howard) เสด็จพระราชสมภพราว..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและแคเธอรีน ฮอเวิร์ด พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

โรมโบราณ

ตามตำนานโรมก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราชโดยรอมิวลุส และรีมุสที่ถูกเลี้ยงด้วยแม่หมาป่า โรมโบราณ (Ancient Rome) คือวัฒนธรรมที่วิวัฒนาการขึ้นมาจากชุมชนเกษตรกรบน คาบสมุทรอิตาลีที่เริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสต์ศักราช ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนโรมโบราณกลายมาเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โบราณ ในช่วงเวลาที่โรมโบราณเจริญรุ่งเรืองอยู่วัฒนธรรมโรมันเปลี่ยนจากการปกครองตั้งแต่เป็นแบบราชาธิปไตยไปเป็นระบอบสาธารณรัฐคณาธิปไตย และในที่สุดก็ไปเป็นระบบจักรวรรดิแบบอัตตาธิปไตย อารยธรรมโรมันมามีอำนาจอันมีอิทธิพลต่อทวีปยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ ทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้/คาบสมุทรบอลข่าน และในบริเวณทะเลเมดิเตอเรเนียนโดยการพิชิตและการการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมกับท้องถิ่นที่เข้าไปปกครอง จักรวรรดิโรมันทางด้านตะวันตกเสื่อมโทรมลงและสลายตัวไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งภายในและการถูกโจมตีโดยชนกลุ่มต่างๆ ในสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน จักรวรรดิโรมันตะวันตกที่รวมทั้งฮิสปาเนีย กอล บริทาเนีย และอิตาลี ได้แบ่งแยกออกเป็นอาณาจักรอิสระในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือที่เรียกว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่คอนสแตนติโนเปิล ประกอบด้วยกรีซ ส่วนที่พิชิตโดยจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 อานาโตเลีย ซีเรีย และอียิปต์รอดจากวิกฤติการณ์ที่จักรวรรดิทางด้านตะวันตกประสบ และแม้ว่าจะเสียซีเรียและอียิปต์แก่จักรวรรดิอิสลามของอาหรับจักรวรรดิก็รุ่งเรืองต่อมาอีกหนึ่งสหัสวรรษ จนกระทั่งมาเสียเมือง ให้กับจักรวรรดิออตโตมันของตุรกี นักประวัติศาสตร์มักจะเรียกจักรวรรดิโรมันตะวันออกมักจะเรียกว่าเป็น จักรวรรดิไบแซนไทน์ วัฒนธรรมโรมันมักจะจัดอยู่ใน “ยุคโบราณ” (classical antiquity) ร่วมกับกรีกโบราณซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่เป็นต้นตอและแรงบันดาลใจให้แก่วัฒนธรรมโรมโบราณ โรมโบราณมีบทบาทอย่างใหญ่หลวงในการวิวัฒนการทางด้านกฎหมาย การสงคราม ศิลปะ วรรณคดี สถาปัตยกรรม เทคโนโลยี และภาษาของโลกตะวันตก และประวัติศาสตร์โรมก็ยังคงเป็นประวัติที่ยังคงมีอิทธิพลต่อโลกจนทุกวันนี้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและโรมโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

โรคระบาดครั้งใหญ่ในลอนดอน

“Bill of Mortality” ค.ศ. 1665 โรคระบาดครั้งใหญ่ในกรุงลอนดอน หรือ โรคระบาดครั้งใหญ่ (Great Plague of London,The Great Plague) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1665 ถึงปี ค.ศ. 1666 ที่เชื่อกันว่าเป็นการระบาดครั้งใหญ่ของกาฬโรคในประเทศอังกฤษที่คร่าชีวิตประชากรไปประมาณ 75,000 ถึง 100,000 คน ราวหนึ่งในห้าของประชากรทั้งกรุงลอนดอนขณะนั้น โดยเป็นผลมาจากการระบาด ของแบคทีเรียชื่อ "เยอร์ซีเนียเพสติส" (Yersinia pestis) ซึ่งมีหมัดเป็นพาหะนำโรค กระนั้น เหตุการณ์นี้มีความรุนแรงเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับ “กาฬโรคที่ระบาดในยุโรปและอังกฤษ” ที่เกิดขึ้นก่อนหน้านั้นระหว่างปี ค.ศ. 1347 ถึงปี ค.ศ. 1353 เหตุการณ์ในกรุงลอนดอนครั้งนี้ได้รับการขนานนามต่อมาว่า “โรคระบาดครั้งใหญ่” โดยเป็นการระบาดของโรคครั้งใหญ่และครั้งสุดท้ายในอังกฤษ แม้ว่าเชื้อโรคที่ทำให้เกิดการระบาดสันนิษฐานกันว่าเป็น “กาฬโรค” และเชื้อโรคในตระกูลเดียวกันแต่ก็ไม่มีหลักฐานที่แน่นอนที่พิสูจน์ข้อสันนิษฐานนี้ นักวิชาการสมัยใหม่ตั้งข้อเสนอว่าอาการและระยะเวลาเพาะของเชื้อที่ทำให้เกิดโรคเป็นตัวเดียวกับเชื้อโรคที่คล้ายคลึงกับ "ไข้เลือดออกเหตุไวรัส" (viral hemorrhagic fever).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและโรคระบาดครั้งใหญ่ในลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

โอลิเวอร์ ครอมเวลล์

อลิเวอร์ ครอมเวลล์ (Oliver Cromwell) (25 เมษายน ค.ศ. 1599 (ปฏิทินเก่า) - 3 กันยายน ค.ศ. 1658 (ปฏิทินเก่า) เป็นผู้นำทางการทหารและทางการเมืองชาวอังกฤษที่เป็นที่รู้จักกันดีในการเกี่ยวข้องกับเปลี่ยนระบบการปกครองของอังกฤษเป็นแบบสาธารณรัฐในฐานะ “เจ้าผู้พิทักษ์” (Lord Protector) แห่งอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ครอมเวลล์เป็นแม่ทัพคนหนึ่งของกองทัพตัวแบบใหม่ (New Model Army) ผู้ได้รับชัยชนะต่อกองทัพของ ฝ่ายกษัตริย์นิยม (Cavalier) ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ หลังจากปลงพระชนม์สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ในปี ค.ศ. 1649แล้ว ครอมเวลล์ก็มีอิทธิพลต่อเครือจักรภพแห่งอังกฤษ อยู่เพียงชั่วระยะเวลาสั้นในขณะเดียวกับที่ได้รับชัยชนะในการปราบปรามสกอตแลนด์และไอร์แลนด์ และปกครองในฐานะ “เจ้าผู้พิทักษ์” ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1653 จนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1658.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์

ซฟีแห่งพาลาทิเนต (Sophie von der Pfalz) หรือ โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ (Sophie von Hannover) หรือ โซเฟียแห่งแฮโนเวอร์ (Sophia of Hanover) เป็นเจ้าหญิงเยอรมัน-สกอตแลนด์ ผู้กลายเป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ จากการที่นางเป็นพระราชนัดดา (หลานตา) ในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษทำให้เธอมีสิทธิในราชบัลลังก์อังกฤษ ท่านหญิงโซฟีเกิดเมื่อ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟิร์ธออฟฟอร์ธ

ฟิร์ธออฟฟอร์ธมองจากเนินคาลตัน เฟิร์ธออฟฟอร์ธ (Linne Foirthe, Firth of Forth) คือชะวากทะเล หรือ "firth" ในภาษาสกอตที่หมายถึงบริเวณชายฝั่งทะเลของแม่น้ำฟอร์ธที่ไหลออกไปยัง ทะเลเหนือ ระหว่าง ไฟฟ์ทางตอนเหนือ และ เวสต์โลเธียน, เอดินบะระห์ และ อีสต์โลเธียนทางตอนใต้ เฟิร์ธออฟฟอร์ธรู้จักกันในชื่อ "โบโดเทรีย" ในสมัยโรมัน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเฟิร์ธออฟฟอร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

เลดีเจน เกรย์

ลดีเจน เกรย์ (Lady Jane Grey; 1536/1537 -12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1554) หรือ เลดีเจน ดัดลีย์ หรือที่รู้จักในนาม ราชินีเก้าวัน เป็นพระราชนัดดาของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 เป็นพระธิดาของเลดีฟรานเซส แบรนดอน และเฮนรี เกรย์ (ดำรงตำแหน่งดยุกแห่งซัฟโฟล์ก) ประสูติที่แบรดเกรทท์พาร์ก ในเลสเตอร์เชอร์ เมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเลดีเจน เกรย์ · ดูเพิ่มเติม »

เศาะลาฮุดดีน

วาดแซลาดิน จากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เศาะลาฮุดดีน อัลอัยยูบี หรือที่ชาวตะวันตกเรียกว่า แซลาดิน มีชื่อภาษาอาหรับเต็มว่า เศาะลาฮุดดีน ยูซุฟ อิบน์ อัยยูบ บางครั้งก็ถูกเรียกว่า อัลมาลิก อัลนาศิร เศาะลาฮุดดีน ยูซุฟ เกิดเมื่อ..1137 ในตำบลติกรีต (ปัจจุบันอยู่ในอิรัก) และเสียชีวิตในวันที่ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเศาะลาฮุดดีน · ดูเพิ่มเติม »

เอลิเนอร์แห่งอากีแตน

อเลเนอร์แห่งอาควิเตน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ หรือ เอเลเนอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งอากีแตนและแกสโคนี และเคานทเทสแห่งปัวตู (ภาษาอังกฤษ: Eleanor of Aquitaine หรือ Aliénor) (ราว ค.ศ. 1122 - 1 เมษายน ค.ศ. 1204) พระราชินีเอเลเนอร์ประสูติเมื่อราว ค.ศ. 1122 ที่ปราสาทเบแล็ง ฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของวิลเลียมที่ 10 ดยุกแห่งอากีแตนและดัชเชสเอเนอร์แห่งแชเทลเลโรลท์ เป็นพระราชินีของฝรั่งเศสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเอลิเนอร์แห่งอากีแตน · ดูเพิ่มเติม »

เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ

ระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส (Henrietta Maria of France) (25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 - 10 กันยายน ค.ศ. 1669) เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษ พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียประสูติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 ที่พระราชวังลูฟร์ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี เดอ เมดีซิส สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ต่อมาเป็นพระราชินีในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1625 ถึงวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียสิ้นพระชนม์เมื่อ 10 กันยายน ค.ศ. 1669 ที่วังแห่งโคลอมบ์ ฝรั่งเศส พระศพตั้งอยู่ที่มหาวิหารแซ็ง-เดอนี กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียเป็นพระราชินีแห่ง ราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ โดยการเสกสมรสกับพระเจ้าชาลส์ และเป็นพระราชมารดาในพระมหากษัตริย์สองพระองค์ คือ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และ พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และเป็นพระอัยกีในพระเจ้าวิลเลียมที่ 3และพระราชินีนาถแมรี และพระราชินีนาถแอนน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ดอาณาจักร

อังกฤษแสดงที่ตั้งของแองโกล-แซ็กซอนราวปี ค.ศ. 600 อังกฤษราวปี ค.ศ. 800 แสดงให้เห็นบริเวณเวสเซ็กซ์ทางตะวันตกเฉียงใต้; เมอร์เซียตอนกลาง; นอร์ทธัมเบรียทางตะวันออกเฉียงเหนือ; และ อีสแองเกลีย เอสเซ็กซ์ เค้นท์ และ ซัสเซ็กซ์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เจ็ดอาณาจักร หรือ เครือจักรภพแองโกล-แซ็กซอน (ภาษาอังกฤษ: Heptarchy) Heptarchy (ภาษากรีก: ἑπτά + ἀρχή หรือ “เจ็ด” + “อาณาจักร”) เป็นชื่อที่ใช้เรียกรวมอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนต่างๆ ในบริเวณทางใต้ ตะวันออก และตอนกลางของสหราชอาณาจักรในปลายสมัยโบราณและต้นสมัยยุคกลาง ซึ่งต่อมารวมตัวกันเป็นดินแดนแองเกิล (อังกฤษ) (ในขณะนั้นดินแดนที่รู้จักกันในนาม สกอตแลนด์ และ เวลส์ ยังแยกตัวเป็นแคว้นเล็กแคว้นน้อย) หลักฐานแรกที่กล่าวถึง เครือจักรภพแองโกล-แซ็กซอนเป็นหลักฐานจากคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่บันทึกโดยนักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษ เฮนรี ฮันทิงดัน (Henry of Huntingdon) และเป็นคำที่ใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เครือจักรภพแองโกล-แซ็กซอนครอบคลุมระยะเวลาระหว่าง ค.ศ. 500 ถึง ค.ศ. 850 ซึ่งเป็นระยะเวลาตั้งแต่ทหารโรมันถอนตัวจากอังกฤษไปจนกระทั่งถึงรัชสมัยของการรวมอาณาจักรต่างๆ เข้าด้วยกันโดยพระเจ้าเอ็กเบิร์ตแห่งเวสเซ็กซ์ คำว่า “เจ็ดอาณาจักร” หมายถึงราชอาณาจักรเจ็ดราชอาณาจักรซึ่งต่อมารวมตัวกันเป็นราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งประกอบด้วยราชอาณาจักร: นอร์ทธัมเบรีย, เมอร์เซีย, อีสต์แองเกลีย, เอสเซ็กซ์, เค้นท์, ซัสเซ็กซ์ และ เวสเซ็กซ์ ในช่วงเวลานี้แต่ละอาณาจักรก็รวบรวมแคว้นเล็กแคว้นน้อยให้เป็นอาณาจักรที่มั่นคงขึ้นแต่เหตุการณ์สำคัญที่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงนั้นยังเป็นที่ถกเถึยงกันอยู่ นอกจากนั้นแต่ละอาณาจักรประมุขบางคนเช่นประมุขของนอร์ทธัมเบรีย เมอร์เซีย และ เวสเซ็กซ์ก็พยายามอ้างสิทธิในดินแดนอื่นของอังกฤษ แม้ว่าจะรวมตัวกันแล้วแต่ในภาษาพูดในหมู่ประชาชนก็ยังมีการกล่าวถึงอาณาจักรต่างๆ เหล่านี้อย่างอิสระต่อกันมาจนถึงรัชสมัยของ พระเจ้าเอ็ดวี และ พระเจ้าเอ็ดการ์ ราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 10 ตามความเป็นจริงแล้วการรวมเจ็ดอาณาจักรเป็นกระบวนการต่อเนื่อง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ไวกิงเข้ามารุกรานปล้นสดมภ์อังกฤษและตั้งถิ่นฐานบริเวณยอร์คซึ่งกลายมาเป็นบริเวณเดนลอว์ซึ่งมีความแข็งแกร่งพอที่จะเป็นอันตรายต่ออาณาจักร์ทางใต้ที่มักจะมีความขัดแย้งกัน อาณาจักรจึงจำเป็นต้องพยายามรวมตัวกันเพื่อต่อต้านศัตรูร่วมกัน ฉะนั้นเมื่อสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชทรงต่อต้านชนเดนมาร์กเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 ก็ทรงทำในฐานะผู้นำของแองโกล-แซ็กซอน พระเจ้าแผ่นดินแห่งเวสเซ็กซ์องค์ต่อๆ มาโดยเฉพาะสมเด็จพระเจ้าเอเธลสตันแห่งอังกฤษทรงเน้นความสำคัญของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจนกระทั่งการแยกเป็นอาณาจักรเล็กอาณาจักรน้อยอย่างที่เป็นมาก่อนหมดความหมายลง เมื่อไม่นานมานี้จากหลักฐานการค้นคว้าพบว่าบางอาณาจักรในเครือจักรภพแองโกล-แซ็กซอนโดยเฉพาะเอสเซ็กซ์ และ ซัสเซ็กซ์ ไม่มีฐานะเท่าเทียมกับอาณาจักรอื่นๆ นอกไปจากนั้นในบรรดาสมาชิกของเครือจักรภพก็มิได้มีเพียงเจ็ดแต่ยังมีอาณาจักรย่อยอีกหลายอาณาจักรที่มีบทบาทสำคัญมากกว่าที่เคยคาดไว้ เช่นอนุอาณาจักรเบอร์นิเซีย (Bernicia) และ อนุอาณาจักรไดรา (Deira) ภายในราชอาณาจักรนอร์ทธัมเบรีย หรือ อาณาจักรลินด์ซีย์ (Lindsey) ในลิงคอล์นเชอร์ และอื่นๆ อีกมาก ฉะนั้นคำว่า “เจ็ดอาณาจักร” จึงเป็นคำที่ไม่เหมาะสมที่จะใช้เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และนักประวัติศาสตร์บางคนก็ไม่ใช้คำนี้กันแล้วเนื่องด้วยเห็นว่าความหมายของคำไม่ตรงกับความเป็นจริง แต่ก็ยังมีการใช้เพื่อความสะดวกในการบรรยายการก่อตั้งราชอาณาจักรอังกฤษในสมัยนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเจ็ดอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์ก

อร์จแห่งเดนมาร์ก เจ้าชายพระราชสวามี (Prince George of Denmark) (2 เมษายน ค.ศ. 1653 - 28 ตุลาคม ค.ศ. 1708) เจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์กประสูติเมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1653 ที่โคเปนเฮเกนในประเทศเดนมาร์ก เป็นพระโอรสองค์ที่สามของพระเจ้าเฟรดเดอริคที่ 3 แห่งเดนมาร์กและพระราชินีโซฟี อมาลี (Sophie Amalie of Brunswick-Lüneburg) เป็นพระสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ ระหว่างวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1702 ถึงวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1708 เจ้าชายจอร์จสิ้นพระชนม์เมื่อ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1708 ที่พระราชวังเค็นซิงตัน ประเทศอังกฤษ พระศพตั้งอยู่ที่แอบบีเวสต์มินสเตอร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales; Tywysog Cymru) เป็นพระอิสริยยศขององค์รัชทายาทแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษหรือสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ราชประเพณีที่มกุฏราชกุมารของราชบัลลังก์อังกฤษจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 อย่างไรก็ดีการไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงอิสริยยศนี้ไม่มีผลใดๆต่อสิทธิของผู้ที่จะสืบทอดราชบัลลังก์ บุคคลแรกที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์คือ พระเจ้าละเวลินมหาราช (Llywelyn the Great) ผู้ดำรงพระอิสริยยศนี้ในปัจจุบันคือ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวล.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าผู้อารักขา

้าผู้อารักขา (Lord Protector) เป็นตำแหน่งเฉพาะที่ใช้ในอังกฤษในฐานะผู้นำของประเทศซึ่งใช้ได้สองความหมายในช่วงเวลาในประวัติศาสตร์สองสมั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเจ้าผู้อารักขา · ดูเพิ่มเติม »

เทวสิทธิราชย์

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ในเครื่องทรงพระอาทิตย์ เทวสิทธิราชย์ (Divine Right of Kings) เป็นหลักความเชื่อทางการเมืองและทางศาสนาของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ว่าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจใดภายในโลกียวิสัยเพราะทรงเป็นผู้ที่ได้รับอำนาจโดยตรงจากพระเจ้า ฉะนั้นพระมหากษัตริย์จึงไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจของประชาชน ขุนนาง หรือสถาบันใดใดทั้งสิ้น (ทั้งนี้ผู้นับถือนิกายโปรแตสแตนท์ส่วนมากเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ไม่อยู่ใต้อำนาจพระศาสนจักรอีกด้วย ส่วนผู้นับถือนิกายคาทอลิกถือว่าพระศาสนจักรไม่ขึ้นต่อพระมหากษัตริย์) หลักความเชื่ออันนี้เป็นนัยว่าความพยายามในการโค่นล้มราชบัลลังก์หรือความพยายามในการจำกัดสิทธิของพระมหากษัตริย์เป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง และเป็นการขัดต่อพระประสงค์ของพระเจ้า มีผลด้านการเมืองคือทำให้ประชาชนเข้าใจว่าผู้ทำพยายามกระทำการดังกล่าวเป็นพวกนอกรีต หลักความเชื่อนี้มีมาตั้งแต่ยุคกลางที่กล่าวว่าพระเจ้าทรงมอบอำนาจทางโลกให้แก่พระมหากษัตริย์ เช่นเดียวกับที่ทรงมอบอำนาจทางธรรมให้แก่สถาบันศาสนาโดยมีประมุขเป็นพระสันตะปาปา ผู้ประพันธ์ทฤษฎีนี้คือฌอง โบแดง (Jean Bodin) ผู้เขียนจากการตีความหมายของกฎหมายโรมัน เมื่อการขยายตัวของรัฐอิสระต่างๆ และการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์มีอิทธิพลมากขึ้น ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ก็กลายมาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนในการให้เหตุผลในเอกสิทธิ์ในการปกครองของพระมหากษัตริย์ทั้งในด้านการเมืองและทางด้านศาสนา ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ที่สนับสนุนโดยสถาบันโรมันคาทอลิกมามีบทบาทสำคัญระหว่างรัชสมัยการปกครองของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ. 1603–1625) และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส (ค.ศ. 1643–1715) ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” มาเริ่มลดความสำคัญลงในระหว่างสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ของอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเทวสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

เดนลอว์

“โกลด์:” บริเวณการปกครองของเดนส์ บริเวณการปกครองของเดนส์ หรือ บริเวณเดนลอว์ (Danelaw, Danelagh; Dena lagu; Danelov) ที่บันทึกใน “พงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน” เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์ของบริเวณในบริเตนใหญ่ที่ปกครองด้วยกฎหมายของ “เดนส์” ที่อยู่เหนืออิทธิพลของกฎของแองโกล-แซ็กซอน บริเวณบริเตนใหญ่ที่อยู่ใต้การปกครองของเดนส์ในปัจจุบันอยู่ในบริเวณทางเหนือและตะวันออกของอังกฤษ ที่มาของบริเวณการปกครองของเดนส์มาจากการขยายตัวของไวกิงในคริสต์ศตวรรษที่ 9 แม้ว่าคำนี้จะมิได้ใช้ในการบรรยายบริเวณทางภูมิศาสตร์มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 การขยายตัวของไวกิงมาจากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นในสแกนดิเนเวียที่ทำให้นักรบไวกิงมีความจำเป็นในการไปล่าทรัพย์สมบัติในอาณาบริเวณใกล้เคียงเช่นเกาะอังกฤษ นอกจากจะใช้ในการบรรยายบริเวณทางภูมิศาสตร์แล้ว “บริเวณการปกครองของเดนส์” ก็ยังหมายถึงชุดกฎหมายและคำจำกัดความที่ระบุในสนธิสัญญาระหว่างพระมหากษัตริย์อังกฤษสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชและขุนศึกชาวเดนส์กูธรัมผู้อาวุโส (Guthrum the Old) ที่เขียนขึ้นหลังจากกูธรัมพ่ายแพ้ต่อพระเจ้าอัลเฟรดในยุทธการเอธาดัน (Battle of Ethandun) ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเดนลอว์ · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพแห่งอังกฤษ

รือจักรภพแห่งอังกฤษ (Commonwealth of England) คือรัฐบาลสาธารณรัฐที่ปกครองอังกฤษ รวมทั้งเวลส์ ไอร์แลนด์ และสกอตแลนด์ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึง ค.ศ. 1660 หลังจากการสำเร็จโทษของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 เครือจักรภพอังกฤษกำเนิดขึ้นจากพระราชบัญญัติประกาศอังกฤษเป็นเครือจักรภพโดยรัฐสภารัมพ์ (Rump Parliament) เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์อังกฤษและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

History of England

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »