โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทัง เจิ้นเย่

ดัชนี ทัง เจิ้นเย่

ทัง เจิ้นเย่ (Tong1 Zan3-jip6 ท้อง จันหยีบ) มีชื่อภาษาอังกฤษว่า เคนท์ ทัง (Kent Tong) เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1958 ที่ฮ่องกง เข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการเป็นนักเรียนการแสดงของทีวีบี ก่อนที่จะเป็นนักแสดงในสังกัดของทีวีบี มีชื่อเสียงโด่งดังในยุคทศวรรษที่ 80 จนได้รับการขนานนามว่าเป็น ห้าพยัคฆ์ทีวีบี ร่วมกับ เหมียว เฉียวเหว่ย, หวง เย่อหัว, หลิว เต๋อหัว และเหลียง เฉาเหว่ย มีผลงานที่เป็นที่น่าจดจำคือ การรับบทเป็น ต้วนอี้ ในซีรีส์เรื่อง แปดเทพอสูรมังกรฟ้า ในปี..

37 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2501พ.ศ. 2523พ.ศ. 2528พ.ศ. 2551การสมรสการฆ่าตัวตายภาพยนตร์จีนภาษาอังกฤษมังกรหยก ภาค 2 ตอน จอมยุทธอินทรีละครชุดวิ่งสู้ฟัดสัปดาห์หลิว เต๋อหัวหลี่ เหลียงเหว่ยหวง รื่อหัวอินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบสอุ้ยเสี่ยวป้อ จอมยุทธเย้ยยุทธจักร 2อู๋ ซานกุ้ยอง เหม่ยหลิงฮ่องกงจอมนางวังต้องห้าม (ละครโทรทัศน์)จักรพรรดิกวังซฺวี่จักรพรรดิหงอู่จักรพรรดิฮั่นยฺเหวียนจักรพรรดิคังซีคริสต์ทศวรรษ 1980ต้วนอี้ซีจุ๊ประเทศไทยแปดเทพอสูรมังกรฟ้าโจว เหวินฟะเหมียว เฉียวเหว่ยเหลียง เฉาเหว่ยเอเอสทีวีผู้จัดการเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้29 กันยายน8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2525)

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การสมรส

การสมรส เป็นการรวมกันทางสังคมหรือสัญญาตามกฎหมายระหว่างคู่สมรสที่สร้างสิทธิและข้อผูกพันระหว่างคู่สมรสด้วยกัน ระหว่งคู่สมรสและบุตร และระหว่างคู่สมรสกับญาติโดยการสมรส นิยามของการสมรสแตกต่างกันไปในแต่ละวัฒนธรรม แต่โดยหลักแล้วเป็นสถาบันซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งมักเป็นความสัมพันธ์แบบใกล้ชิดหรือความสัมพันธ์ทางเพศ ได้รับการรับรอง เมื่อนิยามอย่างกว้าง การสมรสถูกพิจารณาว่าเป็นวัฒนธรรมสากล ในหลายวัฒนธรรม การสมรสถูกทำให้เป็นทางการผ่านพิธีแต่งงาน ในแง่ของการรับรองตามกฎหมาย รัฐเอกราชและเขตอำนาจอื่นส่วนมากจำกัดการสมรสไว้เฉพาะระหว่างคู่สมรสต่างเพศหรือสองบุคคลที่มีเพศภาวะตรงข้ามกันในสองเพศภาวะ (gender binary) และบางรัฐเอกราชและเขตอำนาจอื่นอนุญาตการสมรสที่มีภรรยาหลายคนได้ นับแต่ปี 2543 หลายประเทศและบางเขตอำนาจอื่นอนุญาตให้การสมรสเพศเดียวกันชอบด้วยกฎหมาย ในบางวัฒนธรรม แนะนำหรือบังคับให้มีการสมรสก่อนมีกิจกรรมทางเพศใด ๆ บุคคลสมรสด้วยหลายเหตุผล มีทั้งทางกฎหมาย สังคม ลิบิโด อารมณ์ การเงิน จิตวิญญาณและศาสนา การสมรสสามารถกระทำในพิธีทางกฎหมายฝ่ายฆราวาส หรือทางฝ่ายศาสนาก็ได้ โดยปกติการสมรสสร้างข้อผูกพันที่เป็นนามธรรมหรือทางกฎหมายระหว่างปัจเจกบุคคลที่เกี่ยวข้อง บางวัฒนธรรมอนุญาตให้เลิกการสมรสได้ผ่านการหย่าร้างหรือการเพิกถอนการสมรส การสมรสที่มีคู่ครองหลายคนอาจยังเกิดขึ้นแม้จะมีกฎหมายประจำชาติก็ตาม รัฐ องค์การ ฝ่ายศาสนา กลุ่มชนเผ่า ชุมชนท้องถิ่นหรือผู้เท่าเทียมกันสามารถรับรองการสมรสได้ มักถูกมองว่าเป็นสัญญา การสมรสตามกฎหมายเป็นมโนทัศน์ทางกฎหมายที่มองการสมรสว่าเป็นสถาบันของรัฐโดยไม่เกี่ยวข้องกับศาสนา ตามกฎหมายการสมรสของเขตอำนาจ การบังคับสมรส (forced marriage) มิชอบด้วยกฎหมายในบางเขตอำน.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และการสมรส · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าตัวตาย

การฆ่าตัวตาย หรือ อัตวินิบาตกรรม เป็นการกระทำให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตเภท ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง โรคพิษสุรา หรือการใช้สารเสพติด ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดเช่นความลำบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจำกัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ปืน และสารพิษ การรักษาอาการทางจิตและการใช้สารเสพติด และการปรับปรุงสถานะทางการเงิน แม้ว่าบริการที่ปรึกษาสายด่วนจะมีทั่วไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพ วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็นไปได้ วิธีการทั่วไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาด้วยสารฆ่าสัตว์รังควาน และอาวุธปืน การฆ่าตัวตายคร่าชีวิตคน 842,000 คนใน..

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และการฆ่าตัวตาย · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์จีน

The House of 72 Tennents (1973) ภาพยนตร์จีน คือภาพยนตร์ที่พูดภาษาจีน แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ ภาพยนตร์ฮ่องกง ภาพยนตร์ไต้หวัน และ ภาพยนตร์จีนแผ่นดินใหญ่ สำหรับในประเทศไทยภาพยนตร์จีนมักหมายถึงภาพยนตร์ฮ่องกง ภาษาจีนในภาพยนตร์จีน ส่วนใหญ่เป็น ภาษาจีนแมนดารินและภาษาจีนกวางตุ้ง สิ่งที่ทำให้หนังทั้งสองภาษาแตกต่างกันมากที่สุด ก็คือจุดประสงค์ในการสร้าง ขณะที่หนังแมนดารินนั้น มีเป้าหมายส่วนหนึ่งในการทำเพื่อฉายวงกว้าง ทั้งตลาดทั่วทั้งเอเซีย และอาจจะไปไกลได้มากกว่านั้นอีก เพราะศักยภาพของภาษาแมนดาริน ที่เป็นภาษาที่ใช้แพร่หลายในทั่วโลก ตรงกันข้ามหนังกวางตุ้งนั้นมีคนดูที่จำกัดเฉพาะอยู่ในกลุ่มผู้พูดภาษากวางตุ้ง หรือ อาจจะพูดได้ว่าเป็นหนัง ของคนฮ่องกงที่ทำเองดูเอง ก็ว่าได้ เมื่อจุดประสงค์ในการสร้างต่างกัน เงินทุน และความทะเยอทยาน ในหนังทั้งสองแบบก็ต่างกันตามไปด้ว.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และภาพยนตร์จีน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มังกรหยก ภาค 2 ตอน จอมยุทธอินทรี

มังกรหยก ภาค 2 ตอน จอมยุทธอินทรี (The Return of the Condor Heroes) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงเรื่องราวของวรรณกรรมชิ้นเอกของ กิมย้ง เรื่อง มังกรหยก ภาค 2 อีกเวอร์ชันหนึ่ง ออกอากาศทางช่อง TVB Jade ในประเทศจีน ละครโทรทัศน์เรื่องนี้เป็นละครภาคสองของละครไตรภาคในเรื่อง มังกรหยก โดยละครเรื่องนี้เป็นภาคต่อของละครเรื่อง มังกรหยก และละครเรื่องนี้มีภาค 3 ต่อคือเรื่อง ดาบมังกรหยก ตอน เทพบุตรมังกรฟ้า ละครเรื่องนี้ออกอากาศทางช่อง TVB Jade ในประเทศจีน ส่วนในประเทศไทย จะออกอากาศทางช่อง 3 นำแสดงโดย หลิว เต๋อหัว และ เฉิน อี้ว์เหลียน.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และมังกรหยก ภาค 2 ตอน จอมยุทธอินทรี · ดูเพิ่มเติม »

ละครชุด

ละครชุด หรือ ซีรีส์ (series) เป็นรายการโทรทัศน์ชนิดเดียวกับละครซิทคอม แต่จะแตกต่างกันก็คือ ซีรีส์จะแบ่งเป็นภาคและแตกต่างกันด้วยเนื้อหาสถานที่ ส่วนมากจะถูกบันทึกเทปนอกสถานที่หรือสตูดิโอก็ได้ แต่ไม่เน้นที่บันทึกเทปในสตูดิโอเพราะว่าจะเป็นเหมือนซิทคอม ละครซีรีส์ของไทยก็จะมีมากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น ตีลังกาท้าฝัน,เมืองมายาเดอะซีรีส์,พ่อไก่แม่ทูนหัว ฯลฯ ปัจจุบันละครชุดที่ได้รับความนิยม มักเป็นละครชุดจากต่างประเทศ เช่น เกาหลี และญี่ปุ่น เป็นต้น (นิยมเรียกด้วยภาษาปากว่า ซีรีส์เกาหลี ซีรีส์ญี่ปุ่น หรือซีรีส์ ตามชาติที่สร้างละครชุดนั้น.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และละครชุด · ดูเพิ่มเติม »

วิ่งสู้ฟัด

วิ่งสู้ฟัด (อักษรจีนตัวเต็ม: 警察故事, Ging chaat goo si; พินอิน: Jǐngchá Gùshì อังกฤษ:Police story) เป็นภาพยนตร์ฮ่องกงแนวตลก-แอกชั่นจากปี..

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และวิ่งสู้ฟัด · ดูเพิ่มเติม »

สัปดาห์

ัปดาห์ เป็นหน่วยวัดเวลาเท่ากับเจ็ดวัน เป็นหน่วยเล็กกว่าเดือน อย่างไรก็ดี บางครั้งคำว่า "สัปดาห์" นี้ยังหมายถึงหน่วยวัดเวลาอื่นซึ่งน้อยหรือมากกว่าเจ็ด โดยในประวัติศาสตร์ สัปดาห์หนึ่งยาวสี่ถึงสิบวันในที่ต่าง ๆ กัน หลักฐานการนับว่าสัปดาห์หนึ่งมีเจ็ดวันอย่างต่อเนื่องมานั้นปรากฏในหมู่ชาวยิวระหว่างการคุมขังที่บาบิโลน (Babylonian Captivity) ในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล ทั้งศาสนายูดาย (ตามบรรยายการสรรค์สร้างในโทราห์/ไบเบิล) และบาบิโลนโบราณใช้สัปดาห์เจ็ดวัน วัฒนธรรมอื่นได้รับเอาสัปดาห์เจ็ดวันไปในเวลาแตกต่างกัน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 ถึง 3 จักรวรรดิโรมันค่อย ๆ แทนที่ปฏิทินโรมันซึ่งสัปดาห์หนึ่งมีแปดวันด้วยสัปดาห์เจ็ดวัน ชาวฮินดูอาจรับสัปดาห์เจ็ดวันก่อนศตวรรษที่ 11 ก่อนคริสตกาล นอกจากนี้ ยังมีหลักฐานว่าชาวจีนบางกลุ่มได้ใช้สัปดาห์เจ็ดวันตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

หลิว เต๋อหัว

ูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ หลิว เต๋อหัว (Lau4 Dak1-waa4 เหล่า ตั๊กหว่า) หรือ แอนดี้ เล่า (Andy Lau) เกิดวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) เป็นนักแสดง นักร้องชาวฮ่องกง.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และหลิว เต๋อหัว · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เหลียงเหว่ย

หลี่ เหลียงเหว่ย (จีนตัวเต็ม: 呂良偉; จีนตัวย่อ: 吕良伟; พินอิน: Lǚ Liángwěi) ดารานักแสดงชาวฮ่องกง และผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง โดยใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า เรย์ หลุ่ย (Ray Lui; ชื่อเล่น: "หลุ่ย") เกิดเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1956 ที่เวียดนาม ในครอบครัวชาวฮัว หรือชาวจีนที่อาศัยอยู่ในเวียดนาม โดยมีพ่อเป็นนักธุรกิจชาวจีนที่อพยพสู่เวียดนามในช่วงทศวรรษที่ 40 โดยเป็นลูกคนกลาง มีพี่ชายและพี่สาวอย่างละคน และมีน้องชายอีก 2 คน ในปี ค.ศ. 1967 ระหว่างที่มีสงครามเวียดนาม ครอบครัวได้อพยพย้ายไปพำนักที่ฮ่องกง และตัวหลี่ เหลียงเหว่ยเองก็เข้าสู่แวดวงบันเทิง ด้วยการเป็นนักเรียนการแสดงที่สถาบันการแสดงของทีวีบี ในช่วงทศวรรษที่ 70 มีชื่อเสียงขึ้นมาในปี ค.ศ. 1980 ด้วยการรับบท "ติงลี่" ในละครโทรทัศน์เรื่อง เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ คู่กับ โจว เหวินฟะ และจ้าว หยาจือ ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก ทำให้ได้เป็นนักแดงที่มีชื่อเสียงขึ้นมา ซึ่งก่อนหน้านั้น หลี่ เหลียงเหว่ยเป็นนักแสดงในบทประกอบในละครโทรทัศน์เรื่อง มังกรหยก เท่านั้น นอกจากนี้ หลี่ เหลียงเหว่ยเคยแสดงนำในภาพยนตร์ไทย เรื่อง สงครามกับความรัก ในปี..

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และหลี่ เหลียงเหว่ย · ดูเพิ่มเติม »

หวง รื่อหัว

หวง รื่อหัว (Wong4 Jat6-waa4 ว่อง หยัดว่า; หรือที่นิยมออกเสียงว่า หวง เย่อหัว) นักแสดงชาวฮ่องกงที่มีชื่อเสียง หวง รื่อหัว เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1961 ที่ฮ่องกง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า เฟลิก หวง (Felix Wong; Felix Wong Yat Wah) เริ่มต้นอาชีพนักแสดงหลังจบมัธยมกับทางทีวีบีในปี ค.ศ. 1980 โดยจบจากโรงเรียนการแสดงของทีวีบีในปี ค.ศ. 1979 หวง รื่อหัว มีบทบาทที่เป็นที่รู้จักกันดีจากบท ซีจุ๊ในแปดเทพอสูรมังกรฟ้า ฉบับปี ค.ศ. 1982, ก๊วยเจ๋ง ในมังกรหยก ฉบับปี ค.ศ. 1983 และ เฉียวฟงใน แปดเทพอสูรมังกรฟ้า ฉบับปี ค.ศ.1997 จนได้รับการกล่าวขานว่าเป็นหนึ่งในห้าพยัคฆ์ทีวีบี ซึ่งประกอบไปด้วย หวง รื่อหัว, เหมียว เฉียวเหว่ย, ทัง เจิ้นเย่, หลิว เต๋อหัว และเหลียง เฉาเหว่ย ผลงานในระยะหลังของ หวง รื่อหัว ได้แก่ Golden Chicken ในปี ค.ศ. 2002, Wait 'til You're Older ในปี ค.ศ. 2005 และภาพยนตร์จากโปรเจกต์ของหลิว เต๋อหัว ที่นำนักแสดงห้าพยัคฆ์ทีวีบีกลับมาร่วมแสดงกันอีกครั้ง ในเรื่อง Brothers ในปี ค.ศ. 2007 ซึ่งได้เข้ามาถ่ายทำในประเทศไทยด้วย ชีวิตส่วนตัว หวง รื่อหัว สมรสแล้วกับเหลียง เจียหัว ซึ่งเป็นนักแสดงของทีวีบีเช่นกัน มีบุตรสาวหนึ่งคน.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และหวง รื่อหัว · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส

อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส (The Internet Movie Database หรือ IMDb) เป็นฐานข้อมูลออนไลน์รวบรวมเกี่ยวกับเรื่องราวของ นักแสดง ผู้กำกับ และบุคคลที่เกี่ยวข้องในวงการภาพยนตร์ IMDb เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และอินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส · ดูเพิ่มเติม »

อุ้ยเสี่ยวป้อ จอมยุทธเย้ยยุทธจักร 2

อุ้ยเสี่ยวป้อ จอมยุทธเย้ยยุทธจักร 2 หรือในปัจจุบันคือ อุ้ยเสี่ยวป้อ ภาค 2 (Royal Tramp II) เป็นภาพยนตร์ฮ่องกงกำลังภายในแนวตลก สร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1992 กำกับโดย หวังจิง เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากเรื่อง อุ้ยเสี่ยวป้อ ของกิมย้ง นำแสดงโดยโจว ซิงฉือ, หลิน ชิงเสีย ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ภาคต่อของ อุ้ยเสี่ยวป้อ จอมยุทธเย้ยยุทธจักร.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และอุ้ยเสี่ยวป้อ จอมยุทธเย้ยยุทธจักร 2 · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ ซานกุ้ย

วาดอู๋ซานกุ้ย อู๋ซานกุ้ย (อังกฤษ: Wu Sangui, จีนตัวเต็ม: 吳三桂, พินอิน: Wú Sānguì) แม่ทัพในปลายราชวงศ์หมิง ผู้เปิดประตูเมืองให้แมนจูบุกเข้าปักกิ่งในสมัยหลี่ จื้อเฉิง เป็นเหตุให้ชาวแมนจูได้รับชัยชนะและตั้งราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และอู๋ ซานกุ้ย · ดูเพิ่มเติม »

อง เหม่ยหลิง

อง เหม่ยหลิง (เวิง เหม่ย์หลิง; Jung1 Mei5-ling4 ยุ้ง เหมย์เล่ง; 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 – 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2528) มีชื่อภาษาอังกฤษว่า บาร์บารา อง (Barbara Yung) เป็นนักแสดงหญิงชื่อดังชาวฮ่องกง ที่มีชื่อเสียงไปทั่วเอเชีย เธอมีผลงานแสดงละครในช่วงปี..

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และอง เหม่ยหลิง · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

จอมนางวังต้องห้าม (ละครโทรทัศน์)

อมนางวังต้องห้าม (Palace) สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และจอมนางวังต้องห้าม (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิกวังซฺวี่

ระฉายาลักษณ์สมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี้ จักรพรรดิกวังซฺวี่ พระนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว ไจ้เถียน (14 สิงหาคม 2414-14 พฤศจิกายน 2451) เป็นพระโอรสในองค์ชายอี้ซวน ซึ่งเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิง พระราชชนนีคือพระขนิษฐาในพระนางซูสีไทเฮา ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมพรรษา 3 พรรษา การขึ้นครองราชย์ของพระองค์เป็นการผิดกฎมณเฑียรบาล เพราะสมเด็จพระจักรพรรดิถงจื้อก่อนสวรรคตได้ทรงแต่งตั้งเจ้าชายไจ้ซู่พระญาติให้เป็นรัชทายาท แต่ในเมื่อพระนางซูสีไทเฮาต้องการให้องค์กวังซฺวี่ขึ้นครองราชย์ก็ไม่มีใครกล้าคัดค้าน.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และจักรพรรดิกวังซฺวี่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงอู่

มเด็จพระจักรพรรดิหงอู่ (21 ตุลาคม พ.ศ. 1871 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 1941) คือจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และจักรพรรดิหงอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นยฺเหวียน

ฮั่นยฺเหวียน (ปีที่ 75–33 ก่อนคริสตกาล) ชื่อตัวว่า หลิว ชื่อ (劉奭) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว ชื่อ เป็นบุตรพระเจ้าฮั่นเซฺวียน พระเจ้าฮั่นเซฺวียนตายในปีที่ 49 ก่อนคริสตกาล หลิว ชื่อ จึงสืบบัลลังก์ต่อมา หลิว ชื่อ ส่งเสริมให้ลัทธิหรูเจีย (儒家) เป็นลัทธิประจำชาติ และตั้งสาวกหรูเจียเป็นข้าราชการ แต่ข้าราชการจำนวนมากที่หลิว ชื่อ ตั้งและไว้วางใจนั้นฉ้อราษฎร์บังหลวง ทำให้กิจการบ้านเมืองมีปัญหา หลิว ชื่อ ตายในปีที่ 33 ก่อนคริสตกาล หลิว เอ้า (劉驁) บุตรของหลิว ชื่อ ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และจักรพรรดิฮั่นยฺเหวียน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคังซี

ักรพรรดิคังซี (Enkh Amgalan Khaan) หรือพระนามเต็ม อ้ายซินเจฺว๋หลัวเสฺวียนเย่ (愛新覺羅玄燁 Àixīn-Juéluó Xuányè) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ชิง เป็นพระโอรสของจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุเพียง 8 พรรษา ในปี พ.ศ. 2204 (ค.ศ. 1661) ภายหลังการสวรรคตของพระราชบิดา จักรพรรดิคังซีมีพระปรีชาสามารถตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ทรงฉายแววความเป็นผู้นำมาตั้งแต่เด็ก โดยโปรดการเรียนรู้ศิลปะ วิทยาการต่าง ๆ ทั้งของในประเทศ และนอกประเทศ โดยพระองค์อยู่ภายใต้การอุปการะดูแลของไท่หวงไทเฮา ผู้เป็นพระอัยยิกาของพระองค์ ในรัชสมัยซุ่นจื่อปีที่ 18 เกิดโรคฝีดาษระบาดที่กรุงปักกิ่ง ได้ระบาดมาในนครต้องห้าม ช่วงนั้นองค์ซุนจื่อ ติดโรคร้ายนี้สวรรคต ก่อนสวรรคตได้ตั้งพระราชโอรสองค์ที่3 เสฺวียนเย เป็นองค์รัชทายาทและได้ตั้งองคมนตรี สี่คนซึ่งเป็นขุนนางที่ไว้ใจที่สุด สี่องคมนตรีได้แก่ เอ๋าไป้ สั่วหนี ซัวเค่อซ่าฮ่า เอ่อปี๋หลง เมื่อพระองค์ทรงออกว่าราชการเองเมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา เมื่อพระชนมายุได้ 19 พรรษา สั่วหนี ประธานองคมนตรีได้ถึงแก่กรรม เอ๋าไป้ (鳌拜) ซึ่งเป็นขุนนางที่รับราชการมาแต่ครั้งจักรพรรดิไท่จง จักรพรรดิองค์ที่ 2 ของราชวงศ์ชิง เอ๋าไป้ เป็นขุนนางที่สำคัญตนว่าเป็นผู้นำองคมนตรีในตอนนั้นมีผู้ให้การยอมรับนับถือจำนานมาก จึงได้กระทำการอย่างไม่เหมาะสมทั้งต่อหน้าและลับหลังพระองค์หลายครั้ง จนในที่สุดก็ก่อการกบฏขึ้น แต่แผนการทั้งหมดได้ถูกทำลายลงโดย อู๋หลิวยิ สั่วเอ๋อถู และกลุ่มขุนนางภักดี รัชสมัยของจักรพรรดิคังซีนับเป็นระยะเวลาวิกฤตของราชวงศ์ชิง เพราะมีการต่อสู้ระหว่างชาวฮั่นที่ต้องการกู้ราชวงศ์หมิง รวมถึงชนเผ่าอื่น ๆ ที่ต้องการก่อกบฏ จักรพรรดิคังซีทำสงครามภายในประเทศยาวนานถึง 8 ปี จึงพิชิตแคว้นต่าง ๆ ได้ราบคาบ ก่อนที่พระองค์จะมีพระชนมายุ 30 พรรษา ทั้งขยายอาณาเขตถึงมองโกเลียและทิเบต หนึ่งในนโยบายสร้างความมั่นคงก็คือ สร้างสัมพันธ์กับชาวแมนจูที่อาศัยทางเหนือแต่เดิมให้แข็งแกร่ง ส่งอาวุธและกำลังพลไปรักษาชายแดนแถบนี้บ่อยครั้งเพื่อป้องกันการรุกรานจากชนเผ่าอื่น อีกทั้งยังทรงออกทัพเอง และได้ทำสงครามกับรัสเซียในยุคสมัยของพระเจ้าปีเตอร์มหาราช และได้รับชัยชนะด้วย ซึ่งสงครามได้จบลงที่การสร้างสัมพันธไมตรีต่อกัน รวมถึงการยกทัพบุกพม่า ทำให้จีนในยุคนี้เข้มแข็งและยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ริ้วขบวนบางส่วนของจักรพรรดิคังซีเสด็จนิวัติกรุงปักกิ่ง หลังจากเสด็จประพาสแดนใต้ ขณะเดียวกันเสด็จประพาสดินแดนทางใต้ถึง 6 ครั้ง เพื่อทอดพระเนตรความเจริญ รุ่งเรืองด้านศิลปะและวิชาการของแดนใต้ และสำรวจปัญหาน้ำท่วมไร่นาของชาวนา ซึ่งต่อมาทรงส่งเสริม การสร้างเขื่อนและให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรกับชาวนา จักรพรรดิคังซีฉลองพระองค์เครื่องแบบทหาร จักรพรรดิคังซีนับเป็นอัจฉริยบุคคล ทรงศึกษาความผิดพลาดของพวกมองโกล ช่วงที่ปกครองชาวฮั่น จึงเปลี่ยนจากวิธีการใช้ไม้แข็งเป็นไม้อ่อน เกลี้ยกล่อมให้เหล่าปราชญ์ราชบัณฑิตที่หนีภัยยุคต้นราชวงศ์สิ้นอำนาจกลับมารับราชการใหม่ ทรงสถาปนากรมจิตรกรรมที่รู้จักในนาม สถาบันจิตรกรรมหัวหยวน คล้ายที่เคยมีในสมัยราชวงศ์ซ่ง นอกจากนี้ทรงดูแลเหล่าปราชญ์และศิลปินอย่างเกษมสำราญ มอบหมายงานให้ทำอย่างเต็มที่ ไม่ว่าด้านสถาปัตยกรรมหรือประวัติศาสตร์ โดยชิ้นที่สำคัญที่สุด คือการจัดทำ พจนานุกรมรวบรวมภาษาจีน ที่เรียกกันว่า พจนานุกรมคังซี ชีวิตส่วนพระองค์ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นจักรพรรดินักรักพระองค์หนึ่ง มีพระสนมราว 35 คน พระโอรสและพระธิดาราว 55 องค์ จนปลายรัชสมัยเกิดการชิงบัลลังก์เป็นที่วุ่นวาย ผลสุดท้ายองค์ชาย 4 ได้ขึ้นครองบัลลังก์เป็นจักรพรรดิหย่งเจิ้งในเวลาต่อมา รัชสมัยของจักพรรดิคังซีตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและราชวงศ์บ้านพลูหลวงของอาณาจักรอยุธยา จักรพรรดิคังซีสวรรคตในปี พ.ศ. 2265 (ค.ศ. 1722) รวมระยะเวลาครองราชย์ยาวนานถึง 61 ปี นับเป็นจักรพรรดิที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาตร์จีน ในยุคสมัยของพระองค์มีเรื่องการเกิดขึ้นต่าง ๆ มากมายเช่น ในนวนิยายต่างๆ ระบุว่าพระองค์นั้นสวรรคตจากการปลงพระชนม์ขององค์ชายสี่ หรือหย่งเจิ้น แต่ปัจจุบันมีการสันนิษฐานว่าพระองค์สวรรคตจากชราภาพเอง เป็นที่เลื่องลือจนถึงปัจจุบัน มีวรรณกรรมต่าง ๆ มากมายที่บอกเล่าถึงยุคสมัยนี้ ไม่ว่าจะเป็น นิยาย ละครโทรทัศน์ หรือ ภาพยนตร์ ที่มีการจัดสร้างหลายต่อหลายครั้งแม้ในปัจจุบัน เรื่องที่มีชื่อเสียงมากคือ นิยายกำลังภายในอิงประวัติศาสตร์ของ กิมย้ง เรื่อง อุ้ยเสี่ยวป้อ.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และจักรพรรดิคังซี · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1980

ริสต์ทศวรรษ 1980 (1980s) หรือยุคเอจตี้ส์ เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1980 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1989 เป็นช่วงเวลาที่เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทั่วไปอย่างความร่ำรวย การผลิตที่เปลี่ยนไปสู่ยุคเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรม เศรษฐกิจเสรีที่พัฒนาไปทั่วโลก บริษัทข้ามชาติทางด้านอุตสาหกรรมที่เข้าสู่ประเทศอย่าง ประเทศไทย มาเลเซีย เม็กซิโก เกาหลีใต้ ไต้หวัน ประเทศจีน และเศรษฐกิจตลาดใหม่ในยุโรปตะวันออก ตามมาด้วยการล่มสลายของคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก ประเทศญี่ปุ่นและเยอรมนีถือเป็นประเทศที่เห็นเด่นชัดว่าพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วตลอดทศวรรษนี้ ประเทศกำลังพัฒนาทั่วโลกมีประสบความยากลำบากด้านความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจและสังคม ที่ประเทศเหล่านั้นพบกับปัญหาหนี้สินในคริสต์ทศวรรษ 1980 ประเทศเหล่านี้ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศและธนาคารโลก ประเทศเอธิโอเปียประสบปัญหาความยากจนในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ผลคือประเทศต้องการความช่วยเหลือจากต่างชาติในด้านอาหารกับประชากรและทั่วโลกต่างกันช่วยหาเงินช่วยเหลือต่อชาวเอธิโอเปีย อย่างเช่นคอนเสิร์ตไลฟ์เอด ในปี 1985 ที่จัดขึ้นเพื่อหาเงินดังกล่าว ปัญหาด้านสงคราม เกิดความรุนแรงในตะวันออกกลาง อย่างสงครามอิรัก-อิหร่าน และความขัดแย้งในเลบานอนช่วงปี 1982 ถึง 1983 และกองทัพอเมริกันเข้าบุกลิเบียในปี 1985 และ Intifada ในฉนวนกาซาและเวสต์แบงก์ คริสต์ทศวรรษ 1980 ยังเป็นยุคที่มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรอย่างมาก ไปทั่วโลก มากกว่าแม้ในคริสต์ทศวรรษ 1970 และคริสต์ทศวรรษ 1990 มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรมากขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะชาวแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชียใต้ ตลอดทศวรรษ ด้วยอัตราการเพิ่มใกล้หรือมากกว่า 4% ต่อปี.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และคริสต์ทศวรรษ 1980 · ดูเพิ่มเติม »

ต้วนอี้

ต้วนอี้ (Duan Yu) เป็นตัวเอกในนิยายเรื่องแปดเทพอสูรมังกรฟ้า ซึ่งแต่งโดยกิมย้ง ต้วนอี้เป็นองค์ชายต้าหลี่ บุตรของต้วนเจิ้นฉุน นิสัยใจดี มีเมตตา มองโลกในแง่ดี เมื่อทำสิ่งใดแล้ว จะเอาใจใส่จดจ่อ จนบิดาให้ฉายาว่าลูกงมงาย เนื่องจากไม่ชมชอบวิชาการต่อสู้จึงหนีออกจากบ้าน ทำให้ประสบเหตุการณ์อัศจรรย์มากมาย ทั้งกลืนคางคกชาดวัว เจ้าแห่งพิษ ทำให้พิษร้ายใดๆไม่อาจทำร้ายได้ สำเร็จยอดวิชาดรรชนีกระบี่หกชีพจร ลมปราณภูติอุดร และท่าเท้าท่องคลื่น จนกลายเป็นยอดฝีมือ เมื่อพบกับหวังอี้เยี่ยนก็หลงรักทันที แม้ว่านางจะมีชายอื่นในดวงใจ ต่อมาสาบานเป็นพี่น้องกับเฉียวฟง และซีจุ๊ ภายหลังได้เป็นฮ่องเต้ต่อจากพระปิตุลา ต้วนอี้นับเป็นตัวละครที่มีลมปราณสูงสุดในนิยายกำลังภายในของกิมย้ง เนื่องจากดูดลมปราณของบุคคลต่างๆมากม.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และต้วนอี้ · ดูเพิ่มเติม »

ซีจุ๊

ซีจุ๊หรือ ฮือเต็ก เป็นตัวเอกในนิยายเรื่องแปดเทพอสูรมังกรฟ้า ซึ่งแต่งโดยกิมย้ง ซีจุ๊เป็นบุตรของเจ้าอาวาสวัดเส้าหลินกับเอี้ยบยี่เนี้ย แต่ถูกเซียวเอี้ยงซัว บิดาของเฉียวฟงลักพาตัวไปทิ้งในวัดเส้าหลิน ซิจุ๊จึงคิดว่าตนเองกำพร้า และบวชเป็นบรรพชิตตลอดมา แต่ซิจุ๊ประสบเหตุพลิกผันให้เข้าพัวพันกับสำนักสราญรมย์ สืบทอดตำแหน่งเจ้าสำนัก และรับพลังฝีมือเจ็ดสิบปีจากอู๋หยาจื่อ ซีจุ๊ได้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับความแค้นระหว่างนางเฒ่าทาริกาเทียนซัวกับลี้ชิวจุ้ย ซึ่งต่อมาทั้งสองได้เสียชีวิตทั้งคู่ ทำให้ซีจุ๊ได้เป็นประมุขวังคฤธรศักดิ์สิทธิ์โดยบังเอิญ ภายหลังซีจุ๊สาบานเป็นพี่น้องกับต้วนอี้ โดยนับเอาเฉียวฟงรวมไปด้วย ปราบเต็งชุนชิวแก้แค้นให้อาจารย์กับศิษย์พี่ และได้เป็นราชบุตรซีเซี่ย หมวดหมู่:ตัวละครในนิยายกำลังภายใน หมวดหมู่:แปดเทพอสูรมังกรฟ้า.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และซีจุ๊ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

แปดเทพอสูรมังกรฟ้า

แปดเทพอสูรมังกรฟ้า (จีนแต้จิ๋ว: เทียนเล้งโป๊ยโป๋ว; จีนกลาง: 天龍八部เทียนหลงปาปู้; อังกฤษ: Demi-Gods and Semi-Devils) เป็นนิยายกำลังภายในของกิมย้ง จำลอง พิศนาคะ แปลเรื่องนี้ในชื่อ มังกรหยก ภาคพิเศษ เพื่อให้เข้าชุดกับมังกรหยก แต่ชื่อที่เป็นที่รู้จักมากกว่าคือ แปดเทพอสูรมังกรฟ้า ซึ่งเป็นฉบับแปลของ น. นพรัตน์ ซึ่งเรื่องนี้ความจริงน่าจะเรียกว่ามังกรหยกภาค 1 มากกว่าเพราะเรื่องนี้เป็นเรื่องราวก่อนยุคของก้วยเจ๋งซึ่งเป็นตัวเอกในมังกรหยกภาค 1 "แปดเทพอสูรมังกรฟ้า" เป็นผลงานลำดับที่ 11 ของกิมย้ง นับตั้งแต่ชื่อเรื่อง และที่มาของแรงบันดาลใจ แสดงความใฝ่ใจในพุทธศาสนาของเขา ชื่อภาษาจีน "เทียนหลงปาปู้" หมายถึง เทพและอมนุษย์ 8 จำพวก ในตำนานของพุทธศาสนานิกายมหายาน ซึ่งมีอิทธิฤทธิ์เฉพาะตนแตกต่างกันไป ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และแปดเทพอสูรมังกรฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

โจว เหวินฟะ

ว เหวินฟะ ในเรื่อง ศึกโค่นบัลลังก์วังทอง (เข้าฉาย 1 กุมภาพันธ์ 2550) โจว เหวินฟะ (Chow Yun fat; เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 ที่เกาะลัมมา ฮ่องกง) เป็นหนึ่งในสุดยอดนักแสดงฮ่องกงที่ได้ก้าวเข้าสู่วงการภาพยนตร์นานาชาติ ในฐานะเดียวกับ บรูซ ลี และ เฉินหลง โจว เหวินฟะ เป็นนักแสดงที่มีบุคลิกโดดเด่น ได้รับการเปรียบว่าคล้ายคลึงกับแครี แกรนท์ นักแสดงฮอลลีวูดแต่ดูบึกบึนและจัดจ้านกว่า โจว เหวินฟะ เกิดบนเกาะลัมมา นอกชายฝั่งของเกาะฮ่องกง มีชีวิตวัยเด็กที่ยากไร้ แต่โชคดีที่เขาได้เรียนจนจบวิทยาลัย ชีวิตของเขาถึงจุดพลิกผันเมื่อได้รับเข้าเป็นนักแสดงฝึกหัดในบริษัททีวีบี ที่เป็นสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่น เขาใช้เวลาไม่นานในการไต่เต้าขึ้นมาเป็นนักแสดงที่เป็นที่รู้จักของประชาชน หลังจากที่ละครโทรทัศน์เรื่องเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ (ภาษาจีน:上海灘 พินอิน:Shang Hai tan - แปลตรงตัวว่า'หาดเซี่ยงไฮ้') ประสบความสำเร็จใน พ.ศ. 2523 แม้ว่าโจว เหวินฟะ จะประสบความสำเร็จจากผลงานทางจอแก้วอย่างต่อเนื่อง ความฝันอันสูงสุดของเขายังคงเป็นการได้แสดงภาพยนตร์ทางจอเงิน แต่อย่างไรก็ดี การได้ไปโลดแล่นทางหนังจอเงินของเขาบางครั้งบางคราวในภาพยนตร์ต้นทุนต่ำ กลับกลายเป็นความหายนะ เขาประสบความสำเร็จในที่สุดเมื่อได้ร่วมงานกับจอห์น วู ผู้กำกับหน้าใหม่ที่ไม่มีใครรู้จักในขณะนั้น ในภาพยนตร์บู๊ต้นทุนต่ำเรื่อง โหด เลว ดี ในปีพ.ศ. 2529 ขึ้นอับดับสูงในการจัดอันดับหนังทำเงินในหลายประเทศในเอเชีย และส่งให้จอห์น วู และโจว เหวินฟะ กลายเป็นสุดยอดดารา โจว เหวินฟะได้ถือโอกาสนี้ล้างมือจากวงการโทรทัศน์และอุทิศตนให้กับการแสดงภาพยนตร์กังฟูมากขึ้น ภาพยนตร์เรื่องต่อมาของเขาเป็นเรื่องเกี่ยวกับการนองเลือดของวีรบุรุษ เรื่อง โหดตัดโหด (พ.ศ. 2532) และ ทะลักจุดแตก (พ.ศ. 2535) และภาพยนตร์รักโรแมนติกเรื่อง ดอกไม้กับนายกระจอก (พ.ศ. 2530) อย่างไรก็ตาม เขาสร้างชื่อมากที่สุดจากบทของบุรุษแกร่งผู้ทรงเกียรติ ไม่ว่าจะเป็นตำรวจหรืออาชญากร เขาได้ร่วมแสดงกับหลิวเต๋อหัว ในภาพยนตร์เรื่อง คนตัดคน (พ.ศ. 2532) กำกับโดย หวังจิ่ง ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้สร้างความประหลาดใจให้แก่คนจำนวนมาก และได้กลายเป็นภาพยนตร์ที่โด่งดังมากในฮ่องกง ทำลายสถิติหนังทำเงินทุกเรื่องที่มีมา และเป็นที่มาของภาพยนตร์แนวเจ้าพ่อพนันจำนวนมาก รวมถึงเรื่อง คนตัดเซียน ภาคต่อในแบบตลกขบขันที่มี โจวซิงฉือ แสดงนำ โจว เหวินฟะนอกจากจะเป็นดาราที่ร้อนแรงที่สุดในฮ่องกงคนหนึ่งแล้ว เขายังถูกฮอลลีวูดเรียกตัวไปเพื่อพยายามปั้นให้เขาประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติอย่างเดียวกันกับในฮ่องกงและเอเชีย แต่คราวนี้ภาพยนตร์ฮอลลีวูดสองเรื่องแรกของเขา คือ นักฆ่ากระสุนโลกันต์ (พ.ศ. 2541) กำกับโดยอังตวน ฟูควา และคนคอรัปชั่น (พ.ศ. 2542) ไม่ประสบความสำเร็จในบ็อกซ์ออฟฟิศเท่าที่ควร ภาพยนตร์เรื่องต่อมาคือ แอนนา แอนด์ เดอะ คิง (พ.ศ. 2542) ที่ถูกแบนห้ามฉายในประเทศไทย ทำได้ดีกว่าเดิม แต่ความสำเร็จกลับตกอยู่กับดาราสาวโจดี ฟอสเตอร์เสียส่วนใหญ่ และราวกับเป็นเรื่องประชดแดกดัน เมื่อ โจว เหวินฟะ ยอมเล่นเป็นดาราสมทบในภาพยนตร์เรื่อง พยัคฆ์ระห่ำ มังกรผยองโลก (พ.ศ. 2543) กำกับโดยอั้ง ลี่ หนังเรื่องนี้กลับประสบความสำเร็จอย่างถล่มทลาย ได้ขึ้นอันดับหนังทำเงินสูงสุดในสหรัฐ และยังได้รับรางวัลออสการ์ถึงสี่สาขาด้วยกัน (ภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม ถ่ายภาพยอดเยี่ยม และ กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม) โจว เหวินฟะ ยังคงรอคอยกับความสำเร็จแบบเดียวกับที่เขาได้เคยลิ้มรสในฮ่องกง ครั้งหนึ่ง เขาเคยให้สัมภาษณ์กับผู้สื่อข่าวยอมรับว่า เป้าหมายสูงสุดของเขาคือการได้รางวัลออสการ์ ในฐานะดารานำยอดเยี่ยมฝ่ายชาย และเมื่อมีคนถามว่าเขาจะทำอย่างไรหากมันไม่เป็นจริงขึ้นมา โจว เหวินฟะตอบเพียงว่า "ผมก็คงต้องหัวเราะกับมัน..." งานอดิเรกที่โจว เหวินฟะโปรดปรานคือการ.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และโจว เหวินฟะ · ดูเพิ่มเติม »

เหมียว เฉียวเหว่ย

หมียว เฉียวเหว่ย (Miu4 Kiu4-wai5 มี่ว คี่วไหว) นักแสดงชาวฮ่องกงที่มีชื่อเสียงโด่งดังอีกคนหนึ่ง เหมียว เฉียวเหว่ย เกิดเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1958 มีชื่อภาษาอังกฤษว่า ไมเคิล เหมียว (Michael Miu) ที่เมืองซูซาน มณฑลเจ้อเจียง ต่อมาครอบครัวได้อพยพย้ายเข้ามาอาศัยที่ฮ่องกง เหมียว เฉียวเหว่ย มีชื่อเสียงจากการเป็นนักแสดงนำในสังกัดของทีวีบี โดยเฉพาะในช่วงทศวรรษที่ 80 จนได้รับการขนานนามว่าเป็น ห้าพยัคฆ์ทีวีบี ซึ่งประกอบด้วย หวง เย่อหัว, เหมียว เฉียวเหว่ย, หลิว เต๋อหัว, ทัง เจิ้นเยี่ย และเหลียง เฉาเหว่ย บทบาทการแสดงที่เป็นที่จดจำของเหมียว เฉียวเหว่ย คือการรับบทเป็น ชอลิ้วเฮียง ตอน ถล่มวังค้างคาว เมื่อปี ค.ศ. 1984, เอี๊ยคัง ในมังกรหยก เมื่อปี ค.ศ. 1983 (ออกฉายปี ค.ศ. 1983) โดยมี หวง เย่อหัว รับบทเป็นก๊วยเจ๋ง และ กังปัง ในเซียวฮื้อยี้ เมื่อปี ค.ศ. 1988 ที่เหลียง เฉาเหว่ย รับบทเป็นเซียวฮื้อยี้ เหมียว เฉียวเหว่ย ได้หยุดการแสดงไปในปี ค.ศ. 1990 จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 2004 จึงกลับมารับงานแสดงอีกครั้ง โดยรับบทเป็นตัวประกอบเนื่องจากอายุที่มากขึ้น แต่ในบางเรื่องก็รับบทนำเช่นกัน ผลงานด้านภาพยนตร์ได้แก่ Brothers ในปี ค.ศ. 2007 ซึ่งเป็นโปรเจกต์ของหลิว เต๋อหัว ที่นำนักแสดงห้าพยัคฆ์ทีวีบีกลับมาแสดงร่วมกันอีกครั้ง โดย เหมียว เฉียวเหว่ย รับบทเป็นพี่ชายคนโต ในช่วงที่เขาโด่งดังเคยคบหาดูใจกับดารานักร้องชื่อดัง เหมยเยี่ยนฟาง ในช่วงระยะสั้น ๆ แต่ไม่นานก็เลิกกัน และเขายังเคยมีข่าวลือว่าได้มีความสัมพันธ์รักกับดาราสาวชื่อดัง อง เหม่ยหลิง แต่นั้นเป็นแค่ข่าวลือ ชีวิตส่วนตัว สมรสกับชี เหม่ยเจิน ในปี..

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และเหมียว เฉียวเหว่ย · ดูเพิ่มเติม »

เหลียง เฉาเหว่ย

หลิ่ง ฉิ่วไหว หรือ เหลียง เฉาเหว่ย ในสำเนียงจีนกลาง (Loeng4 Ciu4-wai5 เลิ่ง ชี่วไหว) นักแสดงชาวฮ่องกงชื่อดัง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า โทนี่ เหลิ่ง (Tony Leung) หรือ โทนี่ เหลิ่ง ฉิ่วไหว (Tony Leung Chiu-Wai ทั้งนี้เพื่อมิให้สับสนกับนักแสดงฮ่องกงอีกรายที่มีชื่อว่า โทนี่ เหลียง เช่นกัน คือ เหลียง เจียฮุย).

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และเหลียง เฉาเหว่ย · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวีผู้จัดการ

ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และเอเอสทีวีผู้จัดการ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้

้าพ่อเซี่ยงไฮ้ (上海灘) เป็นละครชุดคลาสสิกใน พ.ศ. 2523 ของ TVB จากฮ่องกง ซีรียส์ชุดนี้ได้รับการฉายซ้ำ, ถูกจดจำ และถูกนำไปใช้ในภาพยนตร์เรื่องอื่นหลายต่อหลายครั้ง อีกทั้งเพลงเริ่มละครก็กลายมาเป็นเพลงป๊อปในภาษาจีนกวางตุ้งที่ได้รับการจดจำ.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ · ดูเพิ่มเติม »

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และ29 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2525)

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (อังกฤษ: Demi-Gods And Semi-Devils) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2525 กล่าวถึงเรื่องราวของวรรณกรรมของ กิมย้ง เรื่อง 8 เทพอสูรมังกรฟ้า นำแสดงโดย ไบรอัน เหลียง, ทัง เจิ้นเย่, หวง เย่อหัว, เฉิน อี้ว์เหลียน ออกอากาศทางช่อง TVB ในจีน.

ใหม่!!: ทัง เจิ้นเย่และ8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2525) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Kent Tongทัง เจิ้นเยี่ย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »