เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ตัวเก็บประจุและวงจรกรองดิจิตอล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ตัวเก็บประจุและวงจรกรองดิจิตอล

ตัวเก็บประจุ vs. วงจรกรองดิจิตอล

ตัวเก็บประจุ หรือ คาปาซิเตอร์ (capacitor หรือ condenser) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่ง ทำหน้าที่เก็บพลังงานในรูปสนามไฟฟ้า ที่สร้างขึ้นระหว่างคู่ฉนวน โดยมีค่าประจุไฟฟ้าเท่ากัน แต่มีชนิดของประจุตรงข้ามกัน บ้างเรียกตัวเก็บประจุนี้ว่า คอนเดนเซอร์ (condenser) แต่ส่วนใหญ่เรียกสั้น ๆ ว่า แคป (Cap) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานสำคัญในงานอิเล็กทรอนิกส์ และพบได้แทบทุกวงจร มีคุณสมบัติตรงข้ามกับตัวเหนี่ยวนำ จึงมักใช้หักร้างกันหรือทำงานร่วมกันในวงจรต่าง ๆ เป็นหนึ่งในสามชิ้นส่วนวงจรเชิงเส้นแบบพาสซีฟที่ประกอบขึ้นเป็นวงจรไฟฟ้า ในระบบจ่ายไฟฟ้าใช้ตัวเก็บประจุเป็นชุดหลายตัวเพิ่มค่าตัวประกอบกำลัง (Power factor) ให้กับระบบไฟฟ้าที่เรียกว่า แคปแบงค์ (Cap Bank) ตัวเก็บประจุบางชนิดในอนาคตมีความเป็นไปได้สูงที่จะถูกนำมาใช้แทนแบตเตอรี่ เช่น ตัวเก็บประจุยิ่งยวด (Supercapacitor). ในทางอิเล็กทรอนิกส์ วงจรกรองดิจิตอล (digital filter) เป็นวงจรกรองที่ทำงานโดยการดำเนินการเชิงคณิตศาสตร์ในรูปสื่อของสัญญาณ ซึ่งตรงกันข้ามกับวงจรกรองแบบแอนะล็อกรุ่นก่อนๆ ที่ทำงานทั้งหมดในขอบข่ายแอนะล็อก และจะต้องอิงกับเครือข่ายเชิงกายภาพ ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (เช่น ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และทรานซิสเตอร์ เป็นต้น) เพื่อให้ได้ผลการกรองที่ต้องการ วงจรกรองแบบดิจิตอลสามารถให้ผลการกรองใดๆ ที่สามารถแสดงเป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ หรือขั้นตอนวิธีทางคณิตศาสตร์ ข้อจำกัดเบื้องต้นสองอย่างของวงจรกรองดิจิตอล ก็คือ ความเร็ว (วงจรกรองไม่สามารถทำงานได้เร็วกว่าคอมพิวเตอร์) และเรื่องของต้นทุน อย่างไรก็ตาม เมื่อต้นทุนของไอซียังคงลดลงเรื่อยๆ ฟิลเตอร์แบบดิจิตอลก็เป็นที่แพร่หลายมากขึ้น และปัจจุบันกลายเป็นส่วนประกอบที่จำเป็นในอุปกรณ์ต่างๆ เช่น วิทยุ โทรศัพท์มือถือ และเครื่องรับวิทยุสเตอริโอ เป็นต้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตัวเก็บประจุและวงจรกรองดิจิตอล

ตัวเก็บประจุและวงจรกรองดิจิตอล มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อิเล็กทรอนิกส์

อิเล็กทรอนิกส์

อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับวงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็น active component เช่นหลอดสูญญากาศ, ทรานซิสเตอร์, ไดโอด และ Integrated Circuit และ ชิ้นส่วน พาสซีฟ (passive component) เช่น ตัวนำไฟฟ้า, ตัวต้านทานไฟฟ้า, ตัวเก็บประจุ และคอยล์ พฤติกรรมไม่เชิงเส้นของ active component และความสามารถในการควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนทำให้สามารถขยายสัญญาณอ่อนๆให้แรงขึ้นเพื่อการสื่อสารทางภาพและเสียงเช่นโทรเลข, โทรศัพท์, วิทยุ, โทรทัศน์ เป็นต้น อิเล็กทรอนิกส์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในการสื่อสารข้อมูลโทรคมนาคม ความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิทช์ปิดเปิดวงจรถูกนำไปใช้ในวงจร ลอจิกเกต ซึ่งเป็นส่วนสำคัญหลักในระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ยังถูกนำไปใช้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน ในการส่งพลังงานไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลๆ การผลิตพลังงานทดแทน และอุตสาหกรรมต่างๆอีกมาก อิเล็กทรอนิกส์แตกต่างจากวิทยาศาสตร์ไฟฟ้าและเทคโนโลยีเครื่องกลไฟฟ้า โดยจะเกี่ยวข้องกับการสร้าง, การกระจาย, การสวิทช์, การจัดเก็บและการแปลงพลังงานไฟฟ้าไปและมาจากพลังงานรูปแบบอื่น ๆ โดยใช้สายไฟ, มอเตอร์, เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, แบตเตอรี่, สวิตช์, รีเลย์, หม้อแปลงไฟฟ้า ตัวต้านทานและส่วนประกอบที่เป็นพาสซีพอื่นๆ ความแตกต่างนี้เริ่มราวปี 1906 เป็นผลจากการประดิษฐ์ไตรโอดโดยลี เดอ ฟอเรสท์ ซึ่งใช้ขยายสัญญาณวิทยุที่อ่อนๆได้ ทำให้เกิดการออกแบบและพัฒนาระบบการรับส่งสัญญาณเสียงและหลอดสูญญากาศ จึงเรียกสาขานี้ว่า "เทคโนโลยีวิทยุ" จนถึงปี 1950 ปัจจุบัน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่ ใช้ชิ้นส่วนสารกึ่งตัวนำเพื่อควบคุมการทำงานของอิเล็กตรอน การศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำและเทคโนโลยีโซลิดสเตต ในขณะที่การออกแบบและการสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติอยู่ภายใต้สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ บทความนี้มุ่งเน้นด้านวิศวกรรมของ.

ตัวเก็บประจุและอิเล็กทรอนิกส์ · วงจรกรองดิจิตอลและอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ตัวเก็บประจุและวงจรกรองดิจิตอล

ตัวเก็บประจุ มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ วงจรกรองดิจิตอล มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 5.26% = 1 / (11 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวเก็บประจุและวงจรกรองดิจิตอล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: