โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตัวกินมดยักษ์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ตัวกินมดยักษ์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ตัวกินมดยักษ์ vs. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ตัวกินมดยักษ์ (Giant anteater) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ที่กินแมลงเป็นอาหาร พบทางแถบในอเมริกากลาง, อเมริกาใต้ และทางตอนเหนือของอาร์เจนตินาทั้งในทุ่งหญ้าเขตร้อน, ป่าผลัดใบ และป่าฝน. ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Mammalia มาจากคำว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ที่มีการวิวัฒนาการและพัฒนาร่างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบประสาทที่เจริญก้าวหน้า สามารถดำรงชีวิตได้ในทุกสภาพสิ่งแวดล้อมสัตววิทยา (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 411 มีขนาดของร่างกายและรูปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลักษณะเด่นคือมีต่อมน้ำนมที่มีเฉพาะในเพศเมียเท่านั้น เพื่อผลิตน้ำนมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้น ๆ (hair) หรือขนอ่อน (fur) ปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย เพื่อเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ยกเว้นสัตว์น้ำที่ไม่มีขน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สำหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตัวกินมดยักษ์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ตัวกินมดยักษ์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2301สัตว์สัตว์มีแกนสันหลังคาโรลัส ลินเนียสตัวกินมดตัวกินมดยักษ์Xenarthra

พ.ศ. 2301

ทธศักราช 2301 ใกล้เคียงกั.

ตัวกินมดยักษ์และพ.ศ. 2301 · พ.ศ. 2301และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์

ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

ตัวกินมดยักษ์และสัตว์ · สัตว์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์มีแกนสันหลัง

ัตว์มีแกนสันหลัง คือสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา พวกมันจะมีแกนสันหลัง ใยประสาทส่วนหลังกลวง ช่องคอหอย หลอดเส้นประสาทกลวงส่วนหลัง และหางหลังทวารหนัก ในช่วงหนึ่งของวงจรชีวิต สัตว์มีแกนสันหลังเป็นพวกดิวเทอโรสโตม กล่าวคือในช่วงระยะตัวอ่อน ทวารหนักเกิดก่อนปาก และเป็นซีโลเมตที่มีสมมาตรด้านข้าง ในกรณีของสัตว์มีแกนสันหลังที่มีกระดูกสันหลัง แกนสันหลังจะถูกแทนที่โดยกระดูกสันหลังในช่วงเจริญเติบโต และพวกมันอาจจะมีปล้องตามร่างกาย ในอนุกรมวิธาน ตัวไฟลัมเองประกอบไปด้วยไฟลัมย่อยเวอร์เตบราตา (ซึ่งประกอบด้วย ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ทูนิคาตา (ซึ่งรวมทั้งซาล์ปและเพรียงหัวหอม) และเซฟาโลคอร์ดาตา ประกอบด้วยแหลนทะเล และยังรวมถึงบางกลุ่มที่สูญพันธุ์ไปแล้ว บางครั้งกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังถูกจัดรวมอยู่กับกลุ่มสัตว์มีกระโหลกศีรษะ สัตว์มีแกนสันหลังมีมากกว่า 65,000 สปีชีส์ที่ยังมีชีวิตอยู่ กว่าครึ่งเป็นพวกปลากระดูกแข็ง วาฬและเหยี่ยวเพเรกริน สัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเคลื่อนที่เร็วที่สุดตามลำดับ เป็นสัตว์มีแกนสันหลังเช่นเดียวกันกับมนุษย์ ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีแกนสันหลังยุคแรกๆ มีอายุย้อนไปถึงในช่วงการระเบิดยุคแคมเบรียน.

ตัวกินมดยักษ์และสัตว์มีแกนสันหลัง · สัตว์มีแกนสันหลังและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

คาโรลัส ลินเนียส

รลัส ลินเนียส (ภาษาละติน) หรือ คาร์ล ลินเนียส (ภาษาสวีเดน) ปัจจุบันภาพนี้จัดแสดงที่ราชวิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดน ลายมือชื่อของคาร์ล ลินเนียส คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) หรือ คาร์ล ฟอน ลินเนีย บ้างก็เรียก คาร์ล ลินเนียส (Carl Linnaeus) (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2250 - 10 มกราคม พ.ศ. 2321) เป็นนักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน ผู้ริเริ่มการจัดแบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ และการประยุกต์ใช้ระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแบบทวินาม ซึ่งมีประโยชน์ในการศึกษาชีววิทยาต่อมาจวบจนปัจจุบัน อนึ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตที่จัดจำแนกโดยเขา จะลงท้ายด้วย L. หรือ Linn.

คาโรลัส ลินเนียสและตัวกินมดยักษ์ · คาโรลัส ลินเนียสและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

ตัวกินมด

ตัวกินมด (Anteater) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลุ่มหนึ่ง ที่จัดอยู่ในอันดับย่อย Vermilingua (แปลว่า "ลิ้นหนอน") ในอันดับ Pilosa หรือสลอธ ในอันดับใหญ่ Xenarthra ตัวกินมด เป็นสัตว์ที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับสัตว์จำพวกอื่นในอันดับใหญ่ทั่วไป คือ เป็นสัตว์ที่มีส่วนจมูกและปากยาวเหมือนท่อ ไม่มีฟันในกราม จึงไม่สามารถที่จะเคี้ยวอาหารได้ แต่ใช้ลิ้นที่ยาวเรียวและมีน้ำลายที่เหนียวตวัดกินแมลงขนาดเล็กตามต้นไม้ หรือพื้นดินกินเป็นอาหาร โดยใช้จมูกที่ไวต่อความรู้สึกหาแมลงไปเรื่อย ๆ เมื่อพบเจอแล้วจะใช้กรงเล็บตีนหน้าที่แหลมคมขุดคุ้ยหรือพังทลายรังของแมลงเหล่านี้ เช่นเดียวกับอาร์มาดิลโล ที่อยู่ในอันดับใหญ่เดียวกัน หรือลิ่น หรืออาร์ดวาร์ก ที่เคยมีบรรพบุรุษร่วมกันมาก่อนในยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากตัวกินมดกินแมลง ซึ่งได้แก่ มด และปลวก ซึ่งให้พลังงานต่ำ ดังนั้นวัน ๆ หนึ่งจึงต้องกินมดในปริมาณมากที่อาจมากถึง 9,000 ตัวได้ ตัวกินมด มีขนที่หนาปกคลุมตลอดทั้งตัวและผิวหนังที่หนาที่ช่วยป้องกันตัวจากการโจมตีของมด แต่ก็ไม่สามารถที่จะใช้ป้องกันได้สมบูรณ์แ.

ตัวกินมดและตัวกินมดยักษ์ · ตัวกินมดและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

ตัวกินมดยักษ์

ตัวกินมดยักษ์ (Giant anteater) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ที่กินแมลงเป็นอาหาร พบทางแถบในอเมริกากลาง, อเมริกาใต้ และทางตอนเหนือของอาร์เจนตินาทั้งในทุ่งหญ้าเขตร้อน, ป่าผลัดใบ และป่าฝน.

ตัวกินมดยักษ์และตัวกินมดยักษ์ · ตัวกินมดยักษ์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

Xenarthra

Xenarthra เป็นชื่อของกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีรก ซึ่งในปัจจุบันเหลืออยู่แต่ในทวีปอเมริกา ต้นกำหนดของกลุ่มนี้ย้อนหลังไปได้ถึงยุคเทอร์เชียรีตอนต้น (ประมาณ 60 ล้านปีก่อน หลังมหายุคมีโซโซอิกเล็กน้อย) การดำรงอยู่ของสัตว์กลุ่มนี้ในอเมริกาเหนือสามารถอธิบายได้จากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของอเมริกา สัตว์ในกลุ่มนี้ประกอบด้วยตัวกินมด, สลอธ และ อาร์มาดิลโล ในอดีตกลุ่มนี้เคยถูกจัดหมวดหมู่ให้รวมอยู่กับตัวนิ่มและ อาร์ดวาร์ก ภายใต้อันดับ Edentata (หมายถึง "ไร้ฟัน" เพราะสมาชิกในอันดับไม่มีฟันตัดหน้าหรือฟันกรามหน้า หรือมีฟันกรามที่ยังไม่พัฒนาดี) ต่อมาจึงได้พบว่าอันดับอีเดนตาตาประกอบไปด้วยสัตว์จากหลายตระกูลที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน ดังนั้นอันดับนี้จึงถูกยกเลิกตามมาตรฐานการจัดลำดับ ปัจจุบันตัวนิ่มและอาร์ดวาร์ก ถูกจัดอยู่ในอันดับแยกต่างหากจากกัน และกำหนดเป็นอันดับใหญ่ Xenarthra ขึ้นเพื่อสำหรับสัตว์ในตระกูลที่เหลือ โดยที่ชื่อ "Xenarthra" หมายถึง "ข้อต่อกระดูกที่แปลกประหลาด" มีที่มาจากข้อต่อกระดูกของสัตว์กลุ่มนี้มีลักษณะพิเศษที่ไม่เหมือนกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น เนื่องจากกลุ่มนี้ขาดคุณลักษณะที่เชื่อว่ามีในบรรพบุรุษของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลุ่มมีรก ประเภทอื่นที่รู้จักกัน จึงถูกจัดให้อยู่นอกกลุ่มมีรก ซึ่งเป็นกลุ่มของมีรก ประเภทอื่นในปัจจุบัน ตามสัณฐานวิทยาของกลุ่ม Xenarthra และหลักฐานสนับสนุนจากการศึกษาระดับโมเลกุล ตัวกินมดและสลอธจัดว่ามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากที่สุดในกลุ่ม ในอันดับ Xenarthra มักจะถูกแบ่งออกเป็น 2 อันดับ คือ อันดับ Pilosa ประกอบด้วยอันดับย่อย Vermilingua และ Folivora และอันดับ Cingulata ที่แยกต่างหาก ปัจจุบันกลุ่ม Xenarthra มีสถานะเป็น หมู่ หรือ อันดับใหญ่และเป็นส่วนหนึ่งของ อันดับหมู่ใหญ่ Atlantogenata.

Xenarthraและตัวกินมดยักษ์ · Xenarthraและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ตัวกินมดยักษ์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ตัวกินมดยักษ์ มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มี 175 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 3.70% = 7 / (14 + 175)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวกินมดยักษ์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »