ตะกอนธารน้ำแข็งไม่แสดงชั้นและพืดน้ำแข็ง
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ตะกอนธารน้ำแข็งไม่แสดงชั้นและพืดน้ำแข็ง
ตะกอนธารน้ำแข็งไม่แสดงชั้น vs. พืดน้ำแข็ง
ตะกอนธารน้ำแข็ง (Glacial sediment) เป็นตะกอนที่ไม่มีการคัดขนาด (Poorly sorted) ที่เกิดจากธารน้ำแข็ง ถ้ากล่าวถึงกองดินหินจากธารน้ำแข็งจะสื่อถึงตะกอนที่ไม่มีการคัดขนาด และมีการผสมปนเปกันของตะกอน ซึ่งตะกอนเหล่านี้ได้ตกสะสมตัวโดยตรงจากการละลายของธารน้ำแข็ง กล่าวคือ ธารน้ำแข็งจะอุ้ม และนำเอาตะกอนต่างๆไปพร้อมกันกับการเคลื่อนที่ของตัวมันด้วย เมื่อธารน้ำแข็งนั้นละลายตะกอนที่ถูกอุ้มมาจึงตกสะสมตัวลงพร้อมกัน กองดินหินเหล่านั้นจึงอาจจะมีการผสมปนเปกันทั้งชนิด และขนาดของเม็ดตะกอน ลักษณะที่ไม่มีการคัดขนาด เรียกการสะสมตัวของตะกอนแบบนี้ว่า ตะกอนธารน้ำแข็ง (Glacial till) นอกจากจะบ่งบอกถึงลักษณะการสะสมตัวจากธารน้ำแข็งแล้ว อาจแสดงถึงตะกอนที่สะสมตัวจากการไถล (Landslide) และโคลนไหล (Mudflow) ซึ่งอาจจะทำให้การจำแนกตะกอนให้ถูกต้องเป็นไปได้ค่อนข้างยาก มีตะกอนหลายแห่งที่เข้าใจผิดว่าเกิดจากการสะสมตัวของธารน้ำแข็ง อย่างไรก็ตามมีอีกลักษณะหนึ่งที่ช่วยในการจำแนกว่าเป็นตะกอนธารน้ำแข็ง ก็คือ หินที่รองรับ (Basement rock) ตะกอนที่ไม่มีการคัดขนาดนั้นมีผิวหน้าที่ถูกขัดถูอย่างรุนแรง (Glacial striation) ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญที่เกิดจากการกัดกร่อนของธารน้ำแข็งและมักไม่พบในตะกอนภาคพื้นทวีป (Terrigeneous sediment) ชนิดอื่นๆ ในขณะที่ธารน้ำแข็งละลาย ตะกอนธารน้ำแข็งจำนวนมากจะถูกชะล้าง พัดพาโดยมวลน้ำที่ละลายออกมา และถูกนำมาตกสะสมในบริเวณที่เรียกว่า ที่ราบธารน้ำแข็ง (Outwash plain) ซึ่งเป็นตะกอนที่มีการคัดขนาดดีกว่าตะกอนธารน้ำแข็งแบบแรก คล้ายกับตะกอนที่เกิดจากลำธารหรือทะเลสาบ เรียกตะกอนที่สะสมตัวบริเวณที่ราบธารน้ำแข็งว่า ตะกอนน้ำแข็งละลาย (Glacial outwash) อย่างไรก็ตามตะกอนธารร้ำแข็งชนิดหลังนี้ มักไม่มีคามต่อเนื่องและมักมีการเปลี่ยนแปลงลักาณะอย่างฉับพลันทั้งในแนวตั้งและแนวราบ จะแสดงให้รู้ว่าเป็นการละลายของธารน้ำแข็ง ต่อมาสภาพแวดล้อมบริเวณนั้นและทิศทางการไหลของน้ำจากธารน้ำแข็งอย่างรวดเร็ว สำหรับประเทศไทยมีหินตะกอนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งหลายคนเชื่อว่าเกิดจากการกระทำของธารน้ำแข็ง ที่เรียกว่า หมวดหินแก่งกระจาน ซึ่งเกิดในยุคเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก (Permotriassic) ซึ่งมีการกระจายตัวแนวแคบ ๆ จากทางใต้มาเลเซียมาทางตะวันตกของไทย และตะวันออกของพม่าจนถึงยูนานตอนใต้ของจีน. ทางอากาศของพืดน้ำแข็งบนชายฝั่งตะวันออกของเกาะกรีนแลนด์ พืดน้ำแข็ง (Ice sheet) หรือเรียกอีกอย่างว่าธารน้ำแข็งภาคพื้นทวีป (continental glacier) เป็นมวลของธารน้ำแข็งที่ปกคลุมภูมิประเทศโดยรอบและมีขนาดมากกว่า 50,000 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันพืดน้ำแข็งสามารถพบได้เพียงในกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกา ช่วงยุคน้ำแข็งยุคสุดท้ายในยุคน้ำแข็งใหญ่สุดครั้งสุดท้ายพืดน้ำแข็งลอเรนไทด์ได้ปกคลุมพื้นที่จำนวนมากของทวีปอเมริกาเหนือ พืดน้ำแข็งไวช์เซเลียนปกคลุมทางเหนือของทวีปยุโรปและพืดน้ำแข็งปาตาโกเนียปกคลุมทางใต้ของทวีปอเมริกาใต้ พืดน้ำแข็งนั้นมีขนาดใหญ่กว่าหิ้งน้ำแข็งและธารน้ำแข็งแบบแอลป์ มวลของน้ำแข็งที่ปกคลุมพื้นที่น้อยกว่า 50,000 เรียกว่าทุ่งน้ำแข็ง ถึงแม้ว่าผิวหน้าของพืดน้ำแข็งจะหนาวและเย็นแต่บริเวณฐานจะอุ่นเนื่องจากความร้อนใต้พิภพ ในสถานที่ ๆ ทำให้น้ำแข็งด้านล่างละลายจากนั้นก็จะค่อย ๆ พาน้ำแข็งไหลไปเร็วกว่าบริเวณอื่นจะเรียกว่าภูมิภาคน้ำแข็งไหล (Ice stream) ปัจจุบันพืดน้ำแข็งบริเวณขั่วโลกนั้นยังถือว่ามีอายุน้อยมาก พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกก่อตัวขึ้นครั้งแรกจากทุ่งน้ำแข็งขนาดเล็กในช่วงต้นสมันโอลิโกซีนจากนั้นก็เพิ่มขนาดและลดลงหลายครั้งจนถึงสมัยพลิโอซีนพืดน้ำแข็งก็คลอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของแอนตาร์กติกา พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์นั้นไม่ได้ขยายตัวเลยจนถึงปลายสมัยพลิโอซีนแต่หลังจากนั้นก็พัฒนาตัวอย่างรวดเร็วในช่วงที่ธารน้ำแข็งปกคลุมทวีป ทำให้พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์ที่เกิดแบบรวดเร็วและเฉียบผลันสามารถเก็บรักษาซากดึกดำบรรพ์ของพืชที่งอกบนเกาะได้ดีกว่าพืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกที่ค่อย ๆ ก่อตัวอย่างช้.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตะกอนธารน้ำแข็งไม่แสดงชั้นและพืดน้ำแข็ง
ตะกอนธารน้ำแข็งไม่แสดงชั้นและพืดน้ำแข็ง มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ตะกอนธารน้ำแข็งไม่แสดงชั้นและพืดน้ำแข็ง มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตะกอนธารน้ำแข็งไม่แสดงชั้นและพืดน้ำแข็ง
การเปรียบเทียบระหว่าง ตะกอนธารน้ำแข็งไม่แสดงชั้นและพืดน้ำแข็ง
ตะกอนธารน้ำแข็งไม่แสดงชั้น มี 0 ความสัมพันธ์ขณะที่ พืดน้ำแข็ง มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (0 + 12)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตะกอนธารน้ำแข็งไม่แสดงชั้นและพืดน้ำแข็ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: