โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดิลเซิน-สโตกเกมและเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ดิลเซิน-สโตกเกมและเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม

ดิลเซิน-สโตกเกม vs. เขตการปกครองของประเทศเบลเยียม

ลเซิน-สโตกเกม (Dilsen-Stokkem) เป็นเมืองและเทศบาลที่อยู่ในมณฑลลิมเบิร์กของประเทศเบลเยียม ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมณฑลซึ่งติดกับชายแดนเนเธอร์แลนด์ ดิลเซิน-สโตกเกมมีประชากรประมาณ 20,000 คน และสำหรับตัวเมืองดิลเซินนั้นมีแม่น้ำเมิซไหลผ่านใจกลางเมือง. การแบ่งเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม นั้นมีลักษณะการปกครองโดยรัฐบาลกลาง (แบบสหพันธรัฐ) อันประกอบด้วย 3 ชุมชน (Community), 3 เขต (Region) และ 4 เขตภาษา (Language area) ซึ่งทั้งสามแบบนี้ประกอบรวมกันเป็นประเทศเบลเยียม ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรเบลเยียมปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดิลเซิน-สโตกเกมและเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม

ดิลเซิน-สโตกเกมและเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชุมชนฟลามส์มณฑลลิมเบิร์ก (เบลเยียม)ประเทศเบลเยียม

ชุมชนฟลามส์

ตพื้นที่ของชุมชนฟลามส์ ชุมชนฟลามส์ (Vlaamse Gemeenschap) ในทางการปกครองของเบลเยียม เป็นสถาบันชุมชนตามรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่ตามกฎหมายในขอบเขตพื้นที่ภาษาดัตช์ และเขตทวิภาษาในเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ ทั้งนี้ บทบาทของชุมชนฟลามส์ได้นำมารวมกับเขตฟลามส์ บริหารโดยสภาฟลามส์ในบรัสเซลส์ ชุมชนฟลามส์ยังมีความหมายในทางสังคมและวัฒนธรรม หมายถึงองค์กร สื่อ สังคม วัฒนธรรมของชาวฟลามส์ อีกนัยหนึ่งคือความเป็น"ชาติฟลามส์".

ชุมชนฟลามส์และดิลเซิน-สโตกเกม · ชุมชนฟลามส์และเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลลิมเบิร์ก (เบลเยียม)

ลิมเบิร์ก (Limburg) เป็นมณฑลที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดของเขตฟลามส์ในประเทศเบลเยียม และอยู่ทางตะวันตกของแม่น้ำเมิซ มีพื้นที่ทางเหนือติดต่อกับจังหวัดนอร์ทบราแบนต์, ทางตะวันออกติดต่อกับจังหวัดลิมเบิร์กของประเทศเนเธอร์แลนด์, ทางใต้ติดต่อกับมณฑลลีแยฌ, ทางตะวันตกติดต่อกับมณฑลเฟลมิชบราบันต์และมณฑลแอนต์เวิร์ปของประเทศเบลเยียม ลิมเบิร์กมีเมืองหลวงมณฑลคือฮัสเซิลต์ และมีพื้นที่ 2,414 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 3 เขตการปกครอง (arrondissement) ประกอบด้วย 44 เทศบาล โดยเคงก์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และดีเปินเบกเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาของมณฑล ทั้งสองเมืองนี้อยู่ใกล้ๆ กับฮัสเซิลต์ ลิมเบิร์ก เมน ฟาเดอร์ลันด์ (Limburg mijn Vaderland: ลิมเบิร์ก แผ่นดินพ่อของฉัน) คือเพลงประจำมณฑลลิมเบิร์กของทั้งประเทศเบลเยียมและเนเธอร์แลนด์ ลิมเบิร์กเป็นมณฑลที่มีคลองอัลเบิร์ตและแม่น้ำเดเมอร์พาดผ่าน ทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลมีเนินเขาเตี้ยๆ เป็นจำนวนมาก และในอดีตลิมเบิร์กเคยมีพื้นที่ทำเหมืองถ่านหินอยู่มาก.

ดิลเซิน-สโตกเกมและมณฑลลิมเบิร์ก (เบลเยียม) · มณฑลลิมเบิร์ก (เบลเยียม)และเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ดิลเซิน-สโตกเกมและประเทศเบลเยียม · ประเทศเบลเยียมและเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ดิลเซิน-สโตกเกมและเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม

ดิลเซิน-สโตกเกม มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ เขตการปกครองของประเทศเบลเยียม มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 8.33% = 3 / (13 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดิลเซิน-สโตกเกมและเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »