ความส่องสว่างสัมบูรณ์และดาราจักรไทรแองกูลัม
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ความส่องสว่างสัมบูรณ์และดาราจักรไทรแองกูลัม
ความส่องสว่างสัมบูรณ์ vs. ดาราจักรไทรแองกูลัม
วามส่องสว่างสัมบูรณ์ (Absolute magnitude,M) เป็นการวัดความสว่างที่แท้จริงของดาวฤกษ์ โดยจินตนาการให้ดาวฤกษ์นั้นอยู่ที่ระยะห่างจากโลกออกไป 10 พาร์เซก หรือ 32.616 ปีแสง โดยดาวที่ห่างไปจากโลก 10 พาร์เซก จะมีมุมแพรัลแลกซ์ เป็น 0.1 พิลิปดา การวัดความสว่างของดาวฤกษ์อีกแบบคือความส่องสว่างปรากฏซึ่งเป็นการวัดความสว่างของดาวบนท้องฟ้าเมื่อมองจากโลก อย่างไรก็ตามแม้ความส่องสว่างปรากฏจะสามารถบอกอันดับความสว่างของดาวได้ แต่ก็ไม่สามารถบอกกำลังส่องสว่างที่แท้จริงของดาวฤกษ์ดวงนั้นๆ ได้อย่างถูกต้อง ดาวฤกษ์ที่ปรากฏให้เห็นความสว่างยามค่ำคืนน้อยกว่า แท้จริงแล้วอาจมีกำลังส่องสว่างมากกว่าดาวที่ปรากฏสุกใสอยู่บนท้องฟ้าได้ ซึ่งเป็นเพราะดาวนั้นอยู่ไกลจากโลกออกไปมากนั่นเอง ค่าของความส่องสว่างสัมบูรณ์มีลักษณะเหมือนกับความส่องสว่างปรากฏ คือ ดวงดาวที่มีอันดับความสว่างต่างกัน 5 อันดับ จะมีความสว่างต่างกัน 100 เท่า คือ ดวงดาวที่มีความส่องสว่างสัมบูรณ์ต่างกัน 1 ความส่องสว่าง จะมีความสว่างต่างกัน \sqrt\approx 2.512 เท. ราจักรไทรแองกูลัม หรือ ดาราจักรสามเหลี่ยม (Triangulum Galaxy; หรือที่รู้จักในชื่อ วัตถุเมสสิเยร์ M33 หรือ NGC 598) เป็นดาราจักรชนิดก้นหอยที่อยู่ห่างออกไปประมาณ 3 ล้านปีแสงในบริเวณกลุ่มดาวสามเหลี่ยม บางครั้งในหมู่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นอาจเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ดาราจักรเครื่องปั่นด้าย (Pinwheel Galaxy) รวมถึงในเว็บไซต์สาธารณะทั่วไป อย่างไรก็ดีในฐานข้อมูลดาราศาสตร์ SIMBAD นักวิชาการด้านดาราศาสตร์จะใช้คำว่า "Pinwheel Galaxy" กับวัตถุเมสสิเยร์ M101 รวมถึงนักดาราศาสตร์สมัครเล่นอีกส่วนหนึ่งหรือเว็บไซต์ทั่วไปก็อ้างอิงถึงวัตถุเมสสิเยร์ M101 ด้วยชื่อ "Pinwheel Galaxy" เช่นเดียวกัน ดาราจักรสามเหลี่ยมเป็นดาราจักรที่ใหญ่เป็นอันดับที่สามในกลุ่มท้องถิ่น โดยเล็กกว่าดาราจักรแอนดรอเมดาและทางช้างเผือก มันอาจมีแรงโน้มถ่วงที่ดึงดูดอยู่กับดาราจักรแอนดรอเมดาด้วย ขณะเดียวกัน ดาราจักรปลา (LGS 3) ซึ่งเป็นดาราจักรสมาชิกเล็กๆ แห่งหนึ่งในกลุ่มท้องถิ่น อาจจะเป็นดาราจักรบริวารของดาราจักรสามเหลี่ยมก็ได้.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความส่องสว่างสัมบูรณ์และดาราจักรไทรแองกูลัม
ความส่องสว่างสัมบูรณ์และดาราจักรไทรแองกูลัม มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ลิปดาปีแสง
ลิปดา (minute of arc, arcminute หรือ MOA) เป็นหน่วยหนึ่งในการวัดมุม มีค่าเท่ากับ ของหนึ่งองศา เนื่องจากหนึ่งองศาเท่ากับ ของวงกลม ดังนั้น 1 ลิปดาจึงเท่ากับ ของวงกลม หน่วยวัดขนาดเล็กเช่นนี้มักใช้ในการวัดค่าที่ละเอียดมากๆ เช่นในวิชาดาราศาสตร์หรือการกำหนดพิกัดการยิงอาวุธ ส่วน พิลิปดา (second of arc, arcsecond) (บ้างก็เขียนว่า วิลิปดา) เป็นหน่วยที่มีขนาดเป็น ของหนึ่งลิปดาอีกต่อหนึ่ง หรือเท่ากับ องศา หรือเท่ากับ ของวงกลม ลิปดาและพิลิปดาเป็นคำไทย การเขียน "ฟิลิปดา" ไม่ถูกต้องและมาจากความเข้าใจที่ผิดว่าคำนี้มาจากภาษาต่างประเทศ ตารางแสดงสัดส่วนและความสัมพันธ์ระหว่าง องศา ลิปดา พิลิปดา และมิลลิพิลิปดา แสดงได้ดังนี้.
ความส่องสว่างสัมบูรณ์และลิปดา · ดาราจักรไทรแองกูลัมและลิปดา · ดูเพิ่มเติม »
ปีแสง (อังกฤษ: light-year) คือ หน่วยของระยะทางในทางดาราศาสตร์ 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี จากอัตราเร็วแสงที่มีค่า 299,792,458 เมตร/วินาที ระยะทาง 1 ปีแสงจึงมีค่าประมาณ 9.4607 กิโลเมตร.
ความส่องสว่างสัมบูรณ์และปีแสง · ดาราจักรไทรแองกูลัมและปีแสง · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ความส่องสว่างสัมบูรณ์และดาราจักรไทรแองกูลัม มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความส่องสว่างสัมบูรณ์และดาราจักรไทรแองกูลัม
การเปรียบเทียบระหว่าง ความส่องสว่างสัมบูรณ์และดาราจักรไทรแองกูลัม
ความส่องสว่างสัมบูรณ์ มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ ดาราจักรไทรแองกูลัม มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 10.53% = 2 / (8 + 11)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความส่องสว่างสัมบูรณ์และดาราจักรไทรแองกูลัม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: