โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฌ็อง-บาติสต์ บีโยและไมกา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฌ็อง-บาติสต์ บีโยและไมกา

ฌ็อง-บาติสต์ บีโย vs. ไมกา

็อง-บาติสต์ บีโย (Jean-Baptiste Biot; 21 เมษายน พ.ศ. 2317, ปารีส - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2405, ปารีส) เป็นนักฟิสิกส์ นักดาราศาสตร์ และนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เขาได้ศึกษาถึงทิศทางของแสงเมื่อเดินทางผ่านสารเคมีใดสารเคมีหนึ่ง รวมไปถึงความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้าและแม่เหล็ก กฎบีโย-ซาวาร์ซึ่งอธิบายถึงสนามแม่เหล็กที่สร้างโดยกระแสที่คงที่ ได้รับการช่วยเหลืออย่างมากจากเฟลี ซาวาร์ บีโยเป็นคนแรก ๆ ที่ได้พบถึงคุณสมบัติของแสงของแร่ไมกา และเพราะฉะนั้นสสารที่อยู่ในไมกาก็ใช้ชื่อแทนเขาคือไบโอไทต์ แก-ลูว์ซักอยู่ในบัลลูนอากาศร้อน ค.ศ. 1804 ภาพวาดจากคริสต์ศตวรรษที่ 19. รูปแสดงกลุ่มแร่ไมกา(Muscovite)รูปแสดงรอยแตกกลุ่มแร่ไมกา(Muscovite) กลุ่มแร่ไมกา (Mica Group) ได้แก่ แร่ดิน (Clay mineral) และแร่กลีบหิน (flaky minerals) ประกอบด้วย ปิรามิดฐานสามเหลี่ยมที่จับตัวกันเป็นแผ่นซิลิเกด (sheet silicste) โดยแต่ละปิรามิดมีการใช้ออกซิเจนร่วมกับปิรามิดอื่นสามตัว จึงเหลือออกซิเจนอีกตัวที่ยังไม่สมดุล จึงมีสูตรทั่วไปว่า (Si4O10)n-4 ในกรณีที่ง่ายที่สุดก็คือเอา Al+3 มาจับกับออกซิเจน จนเกิดเป็นแร่ดินขาว (kaolinite) ในกรณีของแร่ไมกาตัวอื่น เช่น คลอไรด์หรือไบโอไทด์ นอกจาก Al แล้วยังมีไอออนตัวอื่นปรากฏและจับตัวเป็นแผ่นซิลิเกด แรงเกาะยึดก็มีลักษณะคล้ายพวกที่เป็นโซ่ คือแรงเกาะยึดระหว่างซิลิเกดกับออกซิเจนมากกว่าแรงจากออกซิเจนกับแคทไอออนตัวอื่น ด้วยเหตุนี้เองแร่ดินและแร่กลีบหินจึงมักแตกออกหรือปรากฏรอยแตกถี่ๆ ไปตามระนาบของแผ่นนั่นเองสำหรับกรณีกลุ่มแร่แผ่น (mica group) เช่น ไบโอไทต์ (biotite) แคทไอออน Al+3 สามารถเข้ามาแทนที่ Si+4 ในปิรามิดโดยการแทนที่ไอออน และไม่ทำให้สมบัติการจัดต่อสายโซ่เปลี่ยนแปลง เนื่องจาก Al+3 มีขนาดประจุเล็กกว่า Si+4 เล็กน้อย จึงอาจจับกับปิรามิดที่มีประจุลบเกินค่าอยู่หนึ่งประจุก็พบการทำให้ประจุสมดุลไม่สามารถทำได้การจัดต่อเพียงอย่างเดียว ดังนั้นจึงต้องนำเอาแคทไอออนมาเพิ่มในโครงสร้างผลึก โดยทั่วไปประมาณหนึ่งในสี่ของปิรามิดในกลุ่มแร่ไมกา (หรือกลุ่มแร่แผ่น) ประกอบด้วย Al+3 (แทนที่จะเป็น Si+4 ตามปกติ) ดังนั้นเพื่อให้ประจุสมดุล ต้องมีการเพิ่มประจุบวกของ K+1 หรือ Mg+2 หรือแม้แต่ Al+3 ด้วยกัน ภายนอกปิรามิด ตัวอย่างแร่ที่สำคัญคือ แร่กลีบหินขาว (Muscovite-มัสโคไวต์ ซึ่งมีสูตร KAl2(Si3Al)O10(OH) 2 แร่คลอไรต์ (Chlorite) นับได้ว่าเป็นแร่แผ่น ซึ่งโดยมากเป็นสีเขียว (คลอไรต์มาจากภาษากรีกซึ่งก็แปลว่าเขียว) มีปิรามิดจับต่อสายโซ่เป็นแผ่น ซึ่งประกอบด้วยประจุไม่สมดุล ดังนั้นจึงต้องต่อกันหรือเกาะกับไอออนประจุบวกของ Mg+2,Fe+2 และ Al+3 เพื่อให้ได้มากซึ่งสูตร (Mg,Fe,Al)6(Si,Al)4O10(OH)8 แร่กลีบหินเขียว (หรือแร่คลอไรด์) นี้มักเป็นแร่ที่เป็นผลมาจากการแปลงเปลี่ยน (alteration) มาจากแร่ตัวอื่นที่มี Fe และ Mg เป็นองค์ประกอบ เช่น ไบโอไทด์ ฮอนเบลด์ หรือออ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฌ็อง-บาติสต์ บีโยและไมกา

ฌ็อง-บาติสต์ บีโยและไมกา มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ตุ๊กต่ำ

ตุ๊กต่ำ

ตุ๊กต่ำ หรือ ไบโอไทต์ (Biotite) เป็นแร่ธาตุในกลุ่มไมกา มีสูตรเคมีเป็น ผู้ตั้งชื่อว่าไบโอไทต์คือ J.F.L. Hausmann เมื่อ..

ฌ็อง-บาติสต์ บีโยและตุ๊กต่ำ · ตุ๊กต่ำและไมกา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฌ็อง-บาติสต์ บีโยและไมกา

ฌ็อง-บาติสต์ บีโย มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไมกา มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.76% = 1 / (16 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฌ็อง-บาติสต์ บีโยและไมกา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »