เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์

ดัชนี ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์

ูล อาร์ดวง-ม็องซาร์ (Jules Hardouin-Mansart,; 16 เมษายน ค.ศ. 1646 - 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1708) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศส ที่ผลงานถือกันว่าเป็นผลงานของสมัยบาโรกฝรั่งเศสที่รุ่งเรืองที่สุดที่เป็นสัญลักษณ์ของอำนาจและความยิ่งใหญ่โอ่อ่าของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ม็องซาร์ถือกันว่าเป็นสถาปนิกคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของยุโรปของคริสต์ศตวรรษที่ 17.

สารบัญ

  1. 18 ความสัมพันธ์: ชาวฝรั่งเศสฟร็องซัว ม็องซาร์พ.ศ. 2189พ.ศ. 2251พระราชวังแวร์ซายพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศสสถาปัตยกรรมสถาปนิกฌ็อง-บาติสต์ กอลแบร์คอนสแตนติโนเปิลประธานมณฑลประเทศฝรั่งเศสเรือนส้มเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก11 พฤษภาคม16 เมษายน

  2. บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2189
  3. บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2251

ชาวฝรั่งเศส

วฝรั่งเศส (อังกฤษ: French, ฝรั่งเศส: Français) คือกลุ่มผสมของชาวเคลต์ ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลี โดยมีประชากรประมาณ 85 ล้านคนทั่วโลก โดยมีประมาณ 66 ล้านคนในประเทศฝรั่งเศส ในสหรัฐอเมริกา 8.3-11 ล้านคน ในประเทศแคนาดา ประมาณ 4.7 ล้านคน และในประเทศแอฟริกาใต้ ประมาณ 2 ล้านคน และที่อื่นๆ ทั่วโลก โดยมีการขยายสังคมเพิ่มในช่วงการล่าอาณานิคม.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และชาวฝรั่งเศส

ฟร็องซัว ม็องซาร์

ฟร็องซัว ม็องซาร์ (François Mansart; 13 มกราคม ค.ศ. 1598 - 23 กันยายน ค.ศ. 1666 ที่กรุงปารีส) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศส ผู้คิดแนวทางการออกแบบระบบคลาสสิกเข้าไปผสมกับแบบบารอกในฝรั่งเศส สารานุกรมบริตานิกา (The Encyclopædia Britannica) ได้กล่าวถึงม็องซาร์ว่า เป็นสถาปนิกที่ประสบความสำเร็จที่สุดในศตวรรษที่ 17 เป็นผู้ที่ทำงานอย่างละเอียดละออ ใส่ใจกับรายละเอียดเล็ก ๆ น้อย ๆ ในทุกส่วนของสถาปัตยกรรม ม็องซาร์เกิดมาในตระกูลครอบครัวช่างไม้ ไม่ได้รับการฝึกหัดให้เป็นสถาปนิก แต่ได้รับการฝึกฝนจากญาติ ๆ ให้เป็นช่างก่อหินและประติมากร นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า ม็องซาร์ได้รับการฝึกให้เป็นสถาปนิกในสำนักของซาลอมง เดอ บร็อส ซึ่งเป็นสถาปนิกที่มีชื่อเสียงที่สุดในแผ่นดินของพระเจ้าอองรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ม็องซาร์ได้รับการยกย่องเป็นอย่างมากในทศวรรษที่ 1620 ในด้านแนวคิดการออกแบบและทักษะของเขา แต่ข้อเสียก็คือ เขาถูกมองว่าเป็นสถาปนิกที่ดื้อรั้น และเป็นผู้ที่ต้องการความสมบูรณ์ในผลงานทุกชิ้น หรือที่เรียกกันว่า เพอร์เฟกชันนิสต์ (perfectionist) ถึงขนาดมีการสั่งให้ทุบอาคารลงทั้งหมดเพื่อสร้างใหม่ตั้งแต่ต้นในบางกรณี ดังนั้นคนที่จะมีโอกาสว่าจ้างม็องซาร์ให้ทำงานได้ต้องเป็นมหาเศรษฐีเท่านั้น หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และฟร็องซัว ม็องซาร์

พ.ศ. 2189

ทธศักราช 2189 ใกล้เคียงกั.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และพ.ศ. 2189

พ.ศ. 2251

ทธศักราช 2251 ใกล้เคียงกั.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และพ.ศ. 2251

พระราชวังแวร์ซาย

ระราชวังแวร์ซาย (Château de Versailles) เป็นพระราชวังหลวงแห่งหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ที่แวร์ซาย ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกรุงปารีส พระราชวังแวร์ซายเป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่และสวยงามแห่งหนึ่งของโลก.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และพระราชวังแวร์ซาย

พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

ลายเซ็นของพระองค์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (William III of England; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650 — 8 มีนาคม ค.ศ. 1702) ทรงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า วิลเลียมที่ 2 แห่งสกอตแลนด์ และ วิลเลมที่ 3 แห่งออเรนจ์ ทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง และทรงเป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายวิลเลมแห่งออเรนจ์และเจ้าหญิงแมรี สจวตประสูติที่ The Hague ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์ประสูติ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้นจึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 9 (Louis IX, Louis IX) (25 เมษายน ค.ศ. 1214 - 25 สิงหาคม ค.ศ. 1270) หรือ นักบุญหลุยส์ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาแประหว่างวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส

สถาปัตยกรรม

ปัตยกรรม (architecture) หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่มาจากการออกแบบของมนุษย์ ด้วยศาสตร์ทางด้านศิลปะ การจัดวางที่ว่าง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ใช้สอย สถาปัตยกรรมยังเป็นสื่อความคิด และสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมในยุคนั้นๆด้ว.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และสถาปัตยกรรม

สถาปนิก

ร่างสถาปนิก กับงานออกแบบ สถาปนิก คือบุคคลผู้เกี่ยวข้องในการออกแบบ และ วางแผน ในการก่อสร้าง หรือที่เรียกว่างานสถาปัตยกรรม โดยสถาปนิก จะเป็นผู้ที่เข้าใจในมาตรฐานการก่อสร้างของอาคาร เข้าใจถึงหน้าที่ใช้สอยของอาคารนั้น รวมถึงวัสดุที่จะนำมาเป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างนั้น สถาปนิกจำเป็นต้องได้รับการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ถึงจะสามารถทำงานในวิชาชีพสถาปนิกได้ ซึ่งคล้ายกับการทำงานในสาขาวิชาชีพอื่น สถาปก คำเก่าของคำว่าสถาปนิก ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต หมายถึง ผู้สร้าง, ผู้ก่อตั้ง ในเอกสารโบราณก่อนสมัยรัตนโกสินทร์เคยปรากฏคำ "สถาบก" หมายถึง การสร้าง หรือผู้สร้าง รางวัลที่น่ายกย่องของสถาปนิกที่รู้จักในฐานะผู้ก่อสร้างอาคารได้แก่ รางวัลพลิตซ์เกอร์ ซึ่งมักจะถูกเปรียบเทียบเหมือนกับ "รางวัลโนเบลในทางสถาปัตยกรรม".

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และสถาปนิก

ฌ็อง-บาติสต์ กอลแบร์

็อง-บาติสต์ กอลแบร์ ฌ็อง-บาติสต์ กอลแบร์ (Jean-Baptiste Colbert; 29 สิงหาคม พ.ศ. 2162 - 6 กันยายน พ.ศ. 2226) เป็นเลขานุการส่วนตัวของมาซาแร็ง เข้ามาอยู่ในกรุงปารีสตั้งแต่ยังเยาว์ และได้รับราชการในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ภายในเวลา 22 ปี กอลแบร์ได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงถึง 8 กระทรวง.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และฌ็อง-บาติสต์ กอลแบร์

คอนสแตนติโนเปิล

แผนที่คอนสแตนติโนเปิล คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople, (กรีก: Κωνσταντινούπολις (Konstantinoúpolis) หรือ ἡ Πόλις (hē Pólis), ภาษาละติน: CONSTANTINOPOLIS, ภาษาออตโตมันตุรกี (ทางการ): قسطنطينيه Konstantiniyye) คอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง (กรีก: Βασιλεύουσα (Basileúousa)) ของจักรวรรดิโรมัน ระหว่างปี ค.ศ.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และคอนสแตนติโนเปิล

ประธานมณฑล

ลานเกียรติยศ ประธานมณฑลของสิ่งก่อสร้างที่เวียนนา ประธานมณฑล (Corps de logis) คือช่วงของตัวตึกที่เป็นบริเวณหลักของสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่โดยเฉพาะเมื่อกล่าวถึงคฤหาสน์ หรือ วังแบบคลาสสิกหรือบาโรก ประธานมณฑลประกอบด้วยห้องหลัก, ห้องชุดที่ประทับ และ ทางเข้าสิ่งก่อสร้าง ห้องที่หรูหราที่สุด ที่เด่นที่สุดที่มักจะตั้งอยู่บนชั้นที่สองของสิ่งก่อสร้างจะเรียกว่า “piano nobile” ประธานมณฑลมักจะขนาบด้วยปีกรองที่ต่ำกว่า และถ้าบริเวณทั้งสามโอบรอบลาน ลานนี้ก็จะเรียกว่า “ลานเกียรติยศ” (Cour d'Honneur) ตัวอย่างของประธานมณฑลพบในสิ่งก่อสร้างของยุคคลาสสิกหลายแห่งในยุโรปที่รวมทั้งพระราชวังแวร์ซายส์, วังเบล็นไฮม์ และ วังพิตต.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และประธานมณฑล

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และประเทศฝรั่งเศส

เรือนส้ม

รือนส้ม (Orangery) คือสิ่งก่อสร้างที่มักจะพบภายในบริเวณเนื้อที่ของคฤหาสน์หรือวังใหญ่โตของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 19 ที่เป็นการเสริมสร้างให้สิ่งก่อสร้างทั้งหมดมีลักษณะเป็นแบบคลาสสิก เรือนส้มมีลักษณะคล้ายกับเรือนกระจก หรือ เรือนคอนเซอเวอทรี (Conservatory) ชื่อของสิ่งก่อสร้างสะท้อนถึงที่มาที่เดิมเป็นสิ่งก่อสร้างใช้เป็นเรือนสำหรับปลูกพืชตระกูลส้ม ที่มักจะปลูกในกระถางที่จะเลื่อนเข้ามาเก็บไว้ในเรือนในช่วงฤดูหนาวเพื่อให้รอดจากความหนาวเย็นและการแข็งตัวจากภาวะอากาศภายนอก และก็มิได้หวังที่จะได้ดอกหรือผล เรือนส้มเป็นเรือนที่ช่วยยืดการมีพรรณไม้นอกฤดูของเวลาที่ปกติแล้วภายนอกจะมีก็แต่ต้นไม้ที่ปราศจากใบ เพราะไม้ภายในเรือนจะได้รับการปกป้องจากภาวะอากาศและยังคงมีความอบอุ่นที่ได้รับจากกำแพงที่ทำด้วยอิฐที่อมความร้อน ร้อยปีหลังจากที่มีการปลูกต้นส้ม และ มะนาว ก็เริ่มมีการปลูกพันธุ์ไม้ชนิดอื่นที่ไม่สามารถทนอากาศในฤดูหนาวภายนอกได้ที่รวมทั้งไม้พุ่ม และ ไม้ต่างแดน (Exotic plants) กันในเรือนส้ม ที่มีการใช้เตาทำความร้อนเพื่อสร้างความอบอุ่นภายในเรือนระหว่างฤดูหนาวที่มีอากาศเยือกเย็นทางตอนเหนือของยุโรป เรือนส้มเริ่มขึ้นในสมัยการสร้างสวนเรอเนสซองซ์ในอิตาลี เมื่อเทคนิคการทำกระจกมีความก้าวหน้าขึ้นจนสามารถที่จะสร้างกระจกที่มีขนาดใหญ่และใสขึ้นกว่าเดิมได้ ทางตอนเหนือของยุโรปเนเธอร์แลนด์เป็นผู้นำในการวิวัฒนาการการสร้างกระจกขนาดใหญ่สำหรับสร้างหน้าต่าง/ผนังเรือนส้ม ภาพพิมพ์เรือนส้มในคู่มือของดัตช์แสดงภาพเรือนส้มที่มีหลังคาทึบทั้งแบบคานและโค้ง และจะมีเตาสำหรับทำความร้อน แทนที่จะเป็นการก่อกองไฟ ไม่นานนักเรือนส้มก็กลายเป็นสัญลักษณ์แสดงฐานะในบรรดาผู้มีฐานะมั่งคั่ง ส่วนหลังคากระจกของเรือนส้มที่ช่วยเพิ่มแสงแดดที่ส่องเข้ามาในอาคารเป็นวิวัฒนาการที่เกิดขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรือนส้มที่คฤหาสน์เดอแรมพาร์คในกลอสเตอร์เชอร์ที่เดิมสร้างราวปี..

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และเรือนส้ม

เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Saint Petersburg; Санкт-Петербу́рг, เป็นเมืองท่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ปากแม่น้ำเนวา ริมอ่าวฟินแลนด์ในทะเลบอลติก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสร้างโดยพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช เมื่อ พ.ศ.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และ11 พฤษภาคม

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ดู ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์และ16 เมษายน

ดูเพิ่มเติม

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2189

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2251

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Jules Hardouin MansartJules Hardouin Mansart de SagonneJules Hardouin-Mansartฌูลส์ อาร์ดวง มองซาร์ฌูลส์ อาร์ดวง-มองซาร์